TH49458B - อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลัง - Google Patents

อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลัง

Info

Publication number
TH49458B
TH49458B TH1001000957A TH1001000957A TH49458B TH 49458 B TH49458 B TH 49458B TH 1001000957 A TH1001000957 A TH 1001000957A TH 1001000957 A TH1001000957 A TH 1001000957A TH 49458 B TH49458 B TH 49458B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
engine oil
cylinder
section
cooling
engine
Prior art date
Application number
TH1001000957A
Other languages
English (en)
Other versions
TH110240A (th
TH110240B (th
Inventor
อาเบะ นายคัตสึยะ
ทาคิกูชิ นายชิคาชิ
ฟูนายามา นายโยชิฮิโร
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH110240A publication Critical patent/TH110240A/th
Publication of TH110240B publication Critical patent/TH110240B/th
Publication of TH49458B publication Critical patent/TH49458B/th

Links

Abstract

DC60 (01/04/58) เพื่อจัดให้มีอุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังซึ่งสามารถยับยั้งการยื่นออกของอุปกรณ์ ระบายความร้อนน้ำมันเครื่องได้ อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังรวมถึงส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่องเย็น105 ที่มี ช่องทางผ่านน้ำมันเครื่อง 108 ซึ่งน้ำมันเครื่องที่ได้รับการจ่ายไปยังเครื่องยนต์ 20 ที่สร้างเป็นชุดกำลัง จะไหลผ่านช่องทางผ่านนั้น และส่วนระบายความร้อนเย็น (109) ซึ่งทำให้น้ำมันเครื่องที่ไหลผ่านช่อง ทางผ่านน้ำมันเครื่อง 108 เย็น และส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง 105 ซึ่งได้รับการก่อรูปเป็น รูปร่างแผ่นจะยื่นไปในทิศทางตามแนวแกนกระบอกสูบ L1 และได้รับการจัดตำแหน่งไว้บนด้านข้าง ของเสื้อสูบ 22A แก้ไข 1/04/58 เพื่อจัดให้มีอุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังซึ่งสามารถยับยั้งการยื่นออกของอุปกรณ์ ระบายความร้อนน้ำมันเครื่องได้ อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลังประกอบด้วยตัวทำให้น้ำมันเครื่องเย็น 105 ที่มีช่องทางผ่าน น้ำมันเครื่อง 108 ซึ่งน้ำมันเครื่องที่ได้รับการจ่ายไปยังเครื่องยนต์ 20 ที่สร้างเป็นชุดกำลัง จะไหลผ่านช่องทางผ่านนั้น และกลไกทำให้ตัวทำให้เย็นเย็น (109) ซึ่งทำให้น้ำมันเครื่องที่ไหลผ่านช่อง ทางผ่านน้ำมันเครื่อง 108 เย็น และตัวทำให้น้ำมันเครื่องเย็น 105 ซึ่งได้รับการก่อรูปเป็น รูปร่างแผ่นจะยื่นไปในทิศทางตามแนวแกนกระบอกสูง L1 และได้รับการจัดตำแหน่งไว้บนด้านข้าง ของเสื้อสูบ 22A ----------------------------------------------------------------------- เพื่อจัดให้มีอุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังซึ่งสามารถยับยั้งการยื่นออกของอุปกรณ์ ระบายความร้อนน้ำมันเครื่องได้ อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลังประกอบด้วยตัวทำให้น้ำมันเครื่องเย็น 105 ที่มีช่องทางผ่าน น้ำมันเครื่อง 108 ซึ่งน้ำมันเครื่องที่ได้รับการจ่ายไปยังเครื่องยนต์ 20 ที่สร้างเป็นชุดกำลัง จะไหลผ่านช่องทางผ่านนั้น และกลไกทำให้ตัวทำให้เย็นเย็น (109) ซึ่งทำให้น้ำมันเครื่องที่ไหลผ่านช่อง ทางผ่านน้ำมันเครื่อง 108 เย็น และตัวทำให้น้ำมันเครื่องเย็น 105 ซึ่งได้รับการก่อรูปเป็น รูปร่างแผ่นจะยื่นไปในทิศทางตามแนวแกนกระบอกสูง L1 และได้รับการจัดตำแหน่งไว้บนด้านข้าง ของเสื้อสูบ 22A

Claims (4)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 1/04/58 1. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังที่ถูกติคตั้งอยู่บนยานพาหนะและรวมถึง ห้องข้อเหวี่ยง (24) และส่วนกระบอกสูบ (22) โดยส่วนกระบอกสูบ (22) มีปลอกกระบอกสูบ (22s) ซึ่งบรรจุลูกสูบ (2IA) อย่างเลื่อนได้ไว้ภายใน และกลไกระบายความร้อนของกระบอกสูบ (22F) ซึ่ง ปิดครอบส่วนโดยรอบด้านนอกของปลอกกระบอกสูบ (22s) โดยมีลักษณะเฉพาะคือ ชุดกำลังเป็นเครื่องยนต์ระบายความร้อนค้วยอากาศ(20) ทีซึ่งกลไกระบายความร้อนของ กระบอกสูบ (22F) ประกอบขึ้นด้วย ครีบระบายความร้อนจำนวนหนึ่งอยู่ในนั้น และเครื่องยนต์ ระบายความร้อนด้วยอากาศ(20) รวมถึงส่วนกระบอกสูบ (22) ตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) ถูกจัดให้มี อยู่ทีปลายด้านหนึ่งของเพลาข้อเหวี่ยง, และอ่างน้ำมันเครื่อง (114) ถูกจัดให้อยู่ใต้เพลาข้อเหวี่ยง โดย ส่วนกระบอกสูบ (22) ได้รับการจัดเตรียมไว้ในแนวนอนและทิศทางไปทางด้านหน้าเมือเทียบกับ เพลาข้อเหวี่ยง (51) ซึ่งได้รับการรองรับอยู่บนห้องข้อเหวี่ยง (24) ตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) รองรับชุดส่งกำลังชนิดสายพานรูปตัววีและมีที่ว่างด้านในที่ซึ่ง อากาศระบายความร้อนได้รับการดูดเข้าไปภายในและปล่อยออกมาจากช่องนั้น ห้องข้อเหวี่ยง (24) และส่วนกระบอกสูบ (22) ได้รับการขันยึดเข้าด้วยกันให้เป็นชิ้นเดียวกัน โดยอาศัยสลักเกลียวยึคตรึง (42) สามตัวหรือมากกว่านั้น ซึ่งถูกจัดเตรียมไว้ทีช่วงเว้นห่างเท่าๆ กัน โดยประมาณและครีบระบายความร้อนจำนวนหนึ่งถูกจัดไว้อย่างน้อยที่สุดบนพื้นผิวทางด้านข้างตาม ความกว้างของยานพาหนะของปลอกกระบอกสูบ (22s) อุปกรณ์ระบายความร้อนนั้นรวมถึง ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) ที่มีช่องทางผ่าน น้ำมันเครื่อง (108) ที่ซึ่งน้ำมันเครื่องที่ถูกจ่ายให้กับเครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยอากาศ(20) จะ ไหลผ่าน และกลไกระบายความร้อนส่วนระบายความร้อน (106A,109) สำหรับการระบายความร้อน น้ำมันเครื่องที่ผ่านช่องทางผ่านน้ำมันเครื่อง (108) นั้น และยังรวมถึงชั้นประกอบปิดครอบ (6IA) บน ด้านข้างของของเพลาข้อเหวี่ยง (51) โดยชิ้นประกอบปิดครอบ (6IA)ประกอบขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของ ตัวเรือนชุคส่งกำลัง (6IA) ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) จะยื่นออก, ที่ตำแหน่งหนึ่งเหนืออ่างน้ำมันเครือง (114) และถูกจัดวางอยู่ข้างหน้าและเหนือตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) จากส่วนรูปขั้น (x) ระหว่างส่วน กระบอกสูบ (22) และชั้นประกอบปิดครอบ (6IA) ในทิศทางตามแนวแกนกระบอกสูบ (L1)พร้อม ด้วยช่องว่างซึ่งถูกกำหนดขอบเขตอยู่ในทิศทางตามความกว้างของยานพาหนะเมือเทียบกับพื้นผิว โดยรอบด้านนอก (HL) ของครีบระบายความร้อนในด้านนอกตามความกว้างของยานพาหนะและ ได้รับการก่อรูปอย่างเป็นชิ้นเดียวกับชิ้นประกอบปิดครอบ (6IA) ของตัวเรือนชุคส่งกำลัง (6IA) เพื่อให้ซ้อนเหลื่อมกับส่วนกระบอกสูบ (22) ในมุมมองด้านข้าง ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) รวมถึงครีบระบายความร้อน ในฐานะทีเป็นกลไก ระบายความร้อน (109, 106A) ซึ่งถูกก่อรูปขึ้นบนพื้นผิวค้านข้างบนค้านข้างส่วนกระบอกสูบ (22) และบนพื้นผิวด้านข้างที่ตรงกันข้ามกับส่วนกระบอกสูบ (22) ด้วย 2. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ประกอบรวมด้วยปั๊ม น้ำมันเครื่อง (120) ที่ดูดน้ำมันเครื่องในอ่างน้ำมันเครื่อง (114) และจ่ายน้ำมันเครื่องไปยังส่วนต่าง ๆ ที่ รวมถึงส่วนหล่อลื่นของเพลาข้อเหวี่ยง (45) และ ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) ได้รับการจัดไว้ระหว่างปั๊มน้ำมันเครื่อง (120) และ ส่วนหล่อลื่นของเพลาข้อเหวี่ยง (45) ที่ได้รับการจัดตำแหน่งไว้ที่ปลายทางของปั๊มน้ำมันเครื่อง (120) 3. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ประกอบรวมด้วย ช่องทางน้ำมันเครื่องการหล่อลื่นของฝาสูบ (136A) ที่แยกสายจากช่องทางผ่านระหว่างปั๊ม น้ำมันเครื่อง (120) และส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) โดยผ่านทางรูเปิด (137A) และจ่าย น้ำมันเครื่องไปยังฝาสูบ (22B) ที่ได้ติดตั้งไว้บนกระบอกสูบ (22) 4. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือ 3 ที่ประกอบรวม ด้วยตัวฉีดสู่ลูกสูบ (138) ซึ่งแยกสายจากช่องทางผ่านระหว่างปั๊มน้ำมันเครือง (120) และส่วนระบาย ความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) โดยผ่านทางรูเปิด (137A) และฉีดลำกระแสน้ำมันเครื่องสู่ลูกสูบ (2IA) ซึ่งสามารถเลื่อนได้ในกระบอกสูบ (22) ----------------------------------------------------------------
1. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังที่ถูกติคตั้งอยู่บนยานพาหนะและรวมถึง ห้องข้อเหวี่ยง (24) และส่วนกระบอกสูบ (22) โดยส่วนกระบอกสูบ (22) มีปลอกกระบอกสูบ (22s) ซึ่งบรรจุลูกสูบ (2IA) อย่างเลื่อนได้ไว้ภายใน และกลไกระบายความร้อนของกระบอกสูบ (22F) ซึ่ง ปิดครอบส่วนโดยรอบด้านนอกของปลอกกระบอกสูบ (22s) โดยมีลักษณะเฉพาะคือ ชุดกำลังเป็นเครื่องยนต์ระบายความร้อนค้วยอากาศ(20) ทีซึ่งกลไกระบายความร้อนของ กระบอกสูบ (22F) ประกอบขึ้นด้วย ครีบระบายความร้อนจำนวนหนึ่งอยู่ในนั้น และเครื่องยนต์ ระบายความร้อนด้วยอากาศ(20) รวมถึงส่วนกระบอกสูบ (22) ตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) ถูกจัดให้มี อยู่ทีปลายด้านหนึ่งของเพลาข้อเหวี่ยง, และอ่างน้ำมันเครื่อง (114) ถูกจัดให้อยู่ใต้เพลาข้อเหวี่ยง โดย ส่วนกระบอกสูบ (22) ได้รับการจัดเตรียมไว้ในแนวนอนและทิศทางไปทางด้านหน้าเมือเทียบกับ เพลาข้อเหวี่ยง (51) ซึ่งได้รับการรองรับอยู่บนห้องข้อเหวี่ยง (24) ตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) รองรับชุดส่งกำลังชนิดสายพานรูปตัววีและมีที่ว่างด้านในที่ซึ่ง อากาศระบายความร้อนได้รับการดูดเข้าไปภายในและปล่อยออกมาจากช่องนั้น ห้องข้อเหวี่ยง (24) และส่วนกระบอกสูบ (22) ได้รับการขันยึดเข้าด้วยกันให้เป็นชิ้นเดียวกัน โดยอาศัยสลักเกลียวยึคตรึง (42) สามตัวหรือมากกว่านั้น ซึ่งถูกจัดเตรียมไว้ทีช่วงเว้นห่างเท่าๆ กัน โดยประมาณและครีบระบายความร้อนจำนวนหนึ่งถูกจัดไว้อย่างน้อยที่สุดบนพื้นผิวทางด้านข้างตาม ความกว้างของยานพาหนะของปลอกกระบอกสูบ (22s) อุปกรณ์ระบายความร้อนนั้นรวมถึง ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) ที่มีช่องทางผ่าน น้ำมันเครื่อง (108) ที่ซึ่งน้ำมันเครื่องที่ถูกจ่ายให้กับเครื่องยนต์ระบายความร้อนด้วยอากาศ(20) จะ ไหลผ่าน และกลไกระบายความร้อนส่วนระบายความร้อน (106A,109) สำหรับการระบายความร้อน น้ำมันเครื่องที่ผ่านช่องทางผ่านน้ำมันเครื่อง (108) นั้น และยังรวมถึงชั้นประกอบปิดครอบ (6IA) บน ด้านข้างของของเพลาข้อเหวี่ยง (51) โดยชิ้นประกอบปิดครอบ (6IA)ประกอบขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของ ตัวเรือนชุคส่งกำลัง (6IA) ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) จะยื่นออก, ที่ตำแหน่งหนึ่งเหนืออ่างน้ำมันเครือง (114) และถูกจัดวางอยู่ข้างหน้าและเหนือตัวเรือนชุดส่งกำลัง (6IA) จากส่วนรูปขั้น (x) ระหว่างส่วน กระบอกสูบ (22) และชั้นประกอบปิดครอบ (6IA) ในทิศทางตามแนวแกนกระบอกสูบ (L1)พร้อม ด้วยช่องว่างซึ่งถูกกำหนดขอบเขตอยู่ในทิศทางตามความกว้างของยานพาหนะเมือเทียบกับพื้นผิว โดยรอบด้านนอก (HL) ของครีบระบายความร้อนในด้านนอกตามความกว้างของยานพาหนะและ ได้รับการก่อรูปอย่างเป็นชิ้นเดียวกับชิ้นประกอบปิดครอบ (6IA) ของตัวเรือนชุคส่งกำลัง (6IA) เพื่อให้ซ้อนเหลื่อมกับส่วนกระบอกสูบ (22) ในมุมมองด้านข้าง ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) รวมถึงครีบระบายความร้อน ในฐานะทีเป็นกลไก ระบายความร้อน (109, 106A) ซึ่งถูกก่อรูปขึ้นบนพื้นผิวค้านข้างบนค้านข้างส่วนกระบอกสูบ (22) และบนพื้นผิวด้านข้างที่ตรงกันข้ามกับส่วนกระบอกสูบ (22) ด้วย
2. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ประกอบรวมด้วยปั๊ม น้ำมันเครื่อง (120) ที่ดูดน้ำมันเครื่องในอ่างน้ำมันเครื่อง (114) และจ่ายน้ำมันเครื่องไปยังส่วนต่าง ๆ ที่ รวมถึงส่วนหล่อลื่นของเพลาข้อเหวี่ยง (45) และ ส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) ได้รับการจัดไว้ระหว่างปั๊มน้ำมันเครื่อง (120) และ ส่วนหล่อลื่นของเพลาข้อเหวี่ยง (45) ที่ได้รับการจัดตำแหน่งไว้ที่ปลายทางของปั๊มน้ำมันเครื่อง (120)
3. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ประกอบรวมด้วย ช่องทางน้ำมันเครื่องการหล่อลื่นของฝาสูบ (136A) ที่แยกสายจากช่องทางผ่านระหว่างปั๊ม น้ำมันเครื่อง (120) และส่วนระบายความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) โดยผ่านทางรูเปิด (137A) และจ่าย น้ำมันเครื่องไปยังฝาสูบ (22B) ที่ได้ติดตั้งไว้บนกระบอกสูบ (22)
4. อุปกรณ์ระบายความร้อนของชุดกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือ 3 ที่ประกอบรวม ด้วยตัวฉีดสู่ลูกสูบ (138) ซึ่งแยกสายจากช่องทางผ่านระหว่างปั๊มน้ำมันเครือง (120) และส่วนระบาย ความร้อนน้ำมันเครื่อง (105) โดยผ่านทางรูเปิด (137A) และฉีดลำกระแสน้ำมันเครื่องสู่ลูกสูบ (2IA) ซึ่งสามารถเลื่อนได้ในกระบอกสูบ (22)
TH1001000957A 2010-06-28 อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลัง TH49458B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH110240A TH110240A (th) 2011-08-30
TH110240B TH110240B (th) 2011-08-30
TH49458B true TH49458B (th) 2016-05-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US20230121017A1 (en) Engine
US11572813B2 (en) Engine
JP6476796B2 (ja) 多気筒エンジンの冷却用オイル通路構造
WO2018213216A1 (en) Engine
WO2019123936A1 (ja) エンジン
TH49458B (th) อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลัง
TH110240A (th) อุปกรณ์ทำให้เย็นของชุดกำลัง
US20120240892A1 (en) Efficient oil treatment for radial engine
JP6790896B2 (ja) 内燃機関の潤滑構造
JP6781112B2 (ja) 立形直列多気筒エンジン
US11549460B2 (en) Water cooled engine
EP2942499B1 (en) Oil channel for engine
JP2018204579A (ja) エンジンの冷却用オイル通路構造
CN207297189U (zh) 曲轴箱及曲轴箱端盖
JP6781219B2 (ja) 立形直列多気筒エンジン
JP6764449B2 (ja) 水冷エンジン
JP6885892B2 (ja) 立形直列多気筒エンジン
KR20140006473U (ko) 실린더 블록 및 이를 포함한 디젤 엔진용 냉각수 및 오일 순환 시스템
US20220251986A1 (en) Blow-by gas recirculation device
CN109026321B (zh) 发动机的冷却用油通路构造
JP2020070759A (ja) 過給機付きエンジン
JP2017155697A (ja) エンジンの油温低減機構
CN104343572A (zh) 引擎的冷却通道配置
TH61664B (th) เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในระบายความร้อนด้วยน้ำสำหรับยานพาหนะ
CN106194380A (zh) 内燃机机油冷却系统及其内燃机