TH5100B - วิธีผลิตอิบูโพรเฟน - Google Patents

วิธีผลิตอิบูโพรเฟน

Info

Publication number
TH5100B
TH5100B TH8801000201A TH8801000201A TH5100B TH 5100 B TH5100 B TH 5100B TH 8801000201 A TH8801000201 A TH 8801000201A TH 8801000201 A TH8801000201 A TH 8801000201A TH 5100 B TH5100 B TH 5100B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
hydrogen
ibpe
palladium
approximately
ions
Prior art date
Application number
TH8801000201A
Other languages
English (en)
Other versions
TH6762A (th
TH6762EX (th
Inventor
ยี ดาเวนพอร์ต นายเคนเน็ธ
แอล มอสส์ นายแกรี
ลี สมิธ นายแบรด
แอลัน เมอร์ฟี นายมาร์ค
อีแลงโก นายวาราดาราช
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH6762A publication Critical patent/TH6762A/th
Publication of TH6762EX publication Critical patent/TH6762EX/th
Publication of TH5100B publication Critical patent/TH5100B/th

Links

Abstract

ได้ให้วิธีเตรียมอิบูโพรเฟนโดยการคาร์บอนิเลท1-(4-ไอโซบิวทิลเฟนิล) เอธานอล(IBPE) ด้วยคาร์บอน มอนอกไซด์ในตัว กลางที่เป็นกรดผสมน้ำ , เช่นมีน้ำอย่างน้อย 10% เทียบกับ น้ำหนักของ IBPE ที่เติมในตอนต้นที่อุณหภูมิอย่างน้อย ประมาณ 10*ซ และความดันคาร์บอน มอนอกไซด์อย่างน้อยประมาณ 35 กก/ซม,และมีตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยสาร ประกอบ แพลเลเดียม ซึ่งแพลเลเดียมมีเวเลนซ์ ศูนย์ถึง 2 และ เกิดเป็นสารเชิงซ้อนกับ โมโนเดนเทท ฟอสฟีน ลิแกนด์ ที่เสถียรในกรดและผสมได้กับวัฏ ภาคอินทรีย์ของตัวกลางทำปฏิกิริยา, อย่างน้อยชนิดหนึ่ง อัตราส่วนโดยโมลของฟอสฟอรัส / แพลเลเดียมในสารประกอบแพลเลเ ดียมกับลิแกนด์ที่กล่าวนี้มีค่าอย่างน้อยประมาณ 21 เมื่อ อัตราส่วนโดยโมลของแพลเลเดียมต่อ IBPE มีค่าต่ำกว่าประมาณ 1:10,000) ไฮโดรเจน ไอออนที่ได้จากการแตกตัวจากกรดซึ่งไอ ออไนส์ได้เกือบสมบูรณ์ในสารละลายในน้ำชนิดเจือจางซึ่งมี อัตราส่วนโดย โมลของไฮโดรเจน ไอออนต่อIBPE ที่เติมลงในเขตทำปฏิกิริยามี ค่าอย่างน้อยประมาณ 0.15 และ 3) เฮไลด์ไอออนที่แตกตัวซึ่ง มีอัตราส่วนโดยโมลของเฮไลด์ไอออนต่อ IBPE ที่เติมลงในเขตทำ ปฏิกิริยามีค่าอย่างน้อยประมาณ 0.15 เป็นการได้เปรียบที่จะ ใช้ไฮโดรเจน เฮไลด์ เป็นสารที่ให้ไฮโดรเจนไอออน และเฮไลด์ ไอออน การคาร์บอนิเลทควรทำต่อเนื่องกับวิธีเตรียม IBPE จาก ไอโซบิวทิลเบนซีนซึ่งให้สารประกอบหลังนี้เกิดปฏิกิริยาฟรี เดล-คราฟท์กับแอเซทิเลทิงเอเจนท์ เพื่อให้ได้ 4- ไอโซ บิวทิลแอซิโทฟีโนน ซึ่งจะรีดิวส์ต่อไปด้วยไฮโดรเจน โดยมี ตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชั่นอยู่ด้วย หรือด้วยรีดิวซิง เอเจนท์ที่มีไฮโดรเจนที่จะใช้ในปฏิกิริยาได้จะได้ IBPE :

Claims (8)

1. วิธีเตรียมอิบูโพรเฟน ซึ่งประกอบด้วย การคาร์บอนิเลท1-(4-ไอโซบิวทิลเฟนิล) เอธานอล (IBPE) ด้วยคาร์บอน มอนอก ไซด์ในตัวกลางที่เป็นกรดผสมน้ำที่อุณหภูมิอย่างน้อยประมาณ 10*ซ และมีความดันของคาร์บอน มอนอกไซด์อย่างน้อยประมาณ -5 กก/ซม และโดยมี 1) ตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งมีส่วนใหญ่ประกอบ ด้วยสารประกอบของแพลเลเดียม ซึ่งแพลเลเดียมมีเวเลนซ์ ศูนย์ ถึง 2 และเกิดเป็นสารเชิงซ้อนกับโมโนเดนเทท ฟอสฟีนลิแกนด์ ที่เสถียร ในกรดและผสมได้กับวัฏภาคอินทรีย์ของตัวกลางทำปฏิกิริยา อย่างน้อยหนึ่งชนิด อัตราส่วนโดยโมลของฟอสฟอรัส/แพลเลเดียม ในสารประกอบแพลเลเดียมกับลิแกนด์ที่กล่าวนี้มีค่าอย่างน้อย ประมาณ 2:1 เมื่ออัตราส่วนโดยโมลของแพลเลเดียมต่อ IBPE คือ แพลเลเดียม =1 และ IBPE = 10,000 หรือมากกว่า 2) ไฮโดรเจน ไอออนที่ได้จากการแตกตัวจากกรดซึ่งไอออไนส์ได้เกือบสมบูรณ์ ในสารละลายในน้ำชนิดเจือจางซึ่งมีอัตราส่วนโดยโมลของ ไฮโดรเจน ไอออนต่อIBPE ที่เติมลงในเขตทำปฏิกิริยามีค่าอย่างน้อย ประมาณ 0.15 และ 3) เฮไลด์ไอออนที่แตกตัวซึ่งมีอัตราส่วน โดยโมลของเฮไลด์ไอออนต่อ IBPE ที่เติมลงในเขตทำปฏิกิริยามี ค่าอย่างน้อยประมาณ 0.15
2. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งลิแกนด์ที่กล่าวแล้วคือ ไทร (ออร์แกโน) ฟอสฟีน
3. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งลิแกนด์ที่กล่าวแล้วคือ ไทรเฟนิลฟอสฟีน
4. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาที่กล่าว แล้วคือ สารเชิงซ้อนแพลเลเดียม บิส (ไทรเฟนิลฟอสฟีน) ไคคลอ โร
5. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารที่ให้ไฮโดรเจน ไอออน และเฮไลด์ไอออนที่กล่าวแล้วคือ ไฮโดรเจน เฮไลด์
6. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไฮโดรเจน เฮไลด์ที่กล่าว แล้วคือ ไฮโดรเจน คลอไรด์ 7. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไฮโดรเจน เฮไลด์ที่กล่าว แล้วคือ ไฮโดรเจน โบรไมค์ 8. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตุวทำละลายอินทรีย์อยู่ ด้วยในระหว่างการคาร์บอนิเลทที่กล่าวแล้ว , ตัวทำละลายที่ กล่าวนี้ไม่ใช้ไฮโดรคาร์บอนตัวเดิม แพลเลเดียมที่กล่าวแล้ว ในรูปเวเลนซ์ ศูนย์, ลงไปในระบบนั้น 9. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่งตัวทำละลายอินทรีย์ที่ กล่าวแล้วคือ คีโทน 1 0. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไฮโดรเจน เฮไลด์ที่กล่าว แล้วคือ ไฮโดรเจน 1 1. วิธีเตรียมอิบูโพรเฟน ซึ่งประกอบด้วยการให้ไอโซบิวทิล เบนซีนทำปฏิกิริยากับแอเซทิเลทิง เอเจนท์ โดยมีตัวเร่ง ปฏิกิริยาฟรีเคล - คราฟท์อยู่ด้วยจะได้4-ไอโซบิวทิลแอซิ โทฟีโนน( IBAP) , รีดิวส์ IBAP ที่กล่าวนี้ด้วยไฮโดรเจนโดย มีตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชั่นอยู่ด้วย , หรือด้วยรีดิว ซิง เอเจนท์ ที่มีไฮโดรเจนซึ่งใช้ทำปฏิกิริยาได้จะได้ 1-(4-ไอโซบิวทิลเฟนิล) เอธานอล(IBPE) , คาร์บอนิเลท IBPEที่กล่าวแล้ว ด้วยคาร์บอน มอนไซด์ ในตัวกลางที่เป็นกรดผสมน้ำที่ อุณหภูมิอย่างน้อยประมาร 10*ซ และมีความดันของคาร์บอน มอ นอกไซด์อย่างน้อยประมาณ 35 กก/ซม. และโดยมี 1) ตัวเร่ง ปฏิกิริยาซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยสารประกอบของแพลเลเดียม มีเวเลนซ์ ศูนย์ถึง 2 และเกิดเป็นสารเชิงซ้อนกับโมโนเดนเทท ฟอสฟีน ลิแกนด์ ที่เสถียรในกรดและผสมได้กับวัฏภาคอินทรีย์ ของตัวกลางทำปฏิกิริยา,อย่างน้อยชนิดหนึ่งอัตราส่วนโดยโมล ของ ฟอสฟอรัส/แพลเลเดียม ในสารประกอบแพลเลเดียมกับลิแกนด์ที่กล่าวนี้มีค่าอย่างน้อย ประมาณ 2:1เมื่ออัตราส่วนโดยโมลของแพลเลเดียมต่อ IBPE คือ แพลเลเดียม =1 และ IBPE = 10,000 หรือมากกว่า 2) ไฮโดรเจน ไอออนที่ได้จากการแตกตัวจากกรดซึ่งไอออไนส์ได้เกือบสมบูรณ์ ในสารละลายในน้ำชนิดเจือจางซึ่งมีอัตราส่วนโดยโมลของ ไฮโดรเจน ไอออนต่อIBPE ที่เติมลงในเขตทำปฏิกิริยามีค่า อย่างน้อยประมาณ 0.15 และ 3) เฮไลด์ไอออนที่แตกตัวซึ่งมี อัตราส่วนโดยโมลของเฮ ไลด์ไอออนต่อ IBPE ที่เติมลงในเขตทำปฏิกิริยามีค่าอย่าง น้อยประมาณ 0.15 1 2. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ11 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาที่ กล่าวแล้วคือ สารเชิงซ้อนแฟลเลเดียม บิส (ไทรเฟนิล ฟอสฟีน) ไดคลอไร 1 3. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ11 ซึ่งสารที่ให้ไฮโดรเจน ไอออน และเฮไลด์ไอออน ที่กล่าวแล้วคือ ไฮโดรเจน เฮไลด์ 1 4. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งสารให้ไออออนที่กล่าว แล้วคือ ไฮโดรเจน คลอไรด์ 1 5. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งสารให้ไออออนที่กล่าว แล้วคือ ไฮโดรเจน โบรไมด์ 1 6.วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งมีตัวทำละลายอินทรีย์ อยู่ด้วยในระหว่างการคาร์บอนิเลทที่กล่าวแล้ว , ตัวทำละลาย ที่กล่าวนี้ไม่ใช้ไฮโดรคาร์บอนถ้าแพลเลเดียมดังกล่าวที่ เติมลงไปในระบบนั้นมีเวเลนซ์เป็นศูนย์ 1
7. วิธีของข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งตัวทำละลายอินทรีย์ที่ กล่าวแล้วคือ คีโทน 1
8. วิธีเตรียมอิบูโพรเฟน ซึ่งประกอบด้วยการคาร์บอ นิเลท1-(4-ไอโซบิวทิลเฟนิล) เอธานอล(IBPE) ด้วยคาร์บอน มอ นอกไซด์ในตัวกลางที่เป็นกรดผสมน้ำ, ที่อุณหภูมิอย่างน้อย ประมาณ 10*ซ และความดันคาร์บอน มอนอกไซด์อย่างน้อยประมาณ 35 กก/ซม,และมีตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งส่วนใหญ่คือสารเชิงซ้อน แพลเลเดียมบิส (ไทรเฟนิล ฟอสฟีน) ไดคลอโร,ไฮโดรเจน และคลอ ไรด์ ไอออนที่ได้จากการแตกตัวจากไฮโดรเจน คลอไรด์ ไอออนที่ กล่าวแล้ว ในทางที่อัตราส่วนโดยโมลของ แต่ละตัวของไฮโดรเจนและคลอไรด์ ไอออนต่อ IBPE ที่เติมลงไปมีค่าอย่างน้อยประมาณ 0.2 และตัว ทำละลายอินทรีย์ ในปริมาณที่ทำให้อัตราส่วนโดยน้ำหนักของ ตัวทำละลายต่อ IBPE มีค่าอย่างน้อยประมาณ 1.5
TH8801000201A 1988-03-18 วิธีผลิตอิบูโพรเฟน TH5100B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH6762A TH6762A (th) 1989-11-01
TH6762EX TH6762EX (th) 1989-11-01
TH5100B true TH5100B (th) 1996-01-30

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Legzdins et al. The protonation of ruthenium-and rhodium-bridged carboxylates and their use as homogeneous hydrogenation catalysts for unsaturated substances
JP5390389B2 (ja) ギ酸からの水素生成
Henry Palladium catalyzed oxidation of hydrocarbons
Darensbourg et al. Water-soluble organometallic compounds. 2. Catalytic hydrogenation of aldehydes and olefins by new water-soluble 1, 3, 5-triaza-7-phosphaadamantane complexes of ruthenium and rhodium
CA2017425A1 (en) Method for producing ibuprofen
ES461070A1 (es) Procedimiento para la telomerizacion de dienos.
KR890014436A (ko) 이부프로펜의 제조방법
TW200633970A (en) Process for the preparation of a dicarboxylic acid
James et al. Five-and six-coordinate ruthenium (II) porphyrin tetiaryphosphine complexes, and their reactions with dioxygen via inner-and outer-sphere mechanisms
Roundhill Organotransition-Metal Chemistry and Homogeneous Catalysis in Aqueous Solution
Kawataka et al. Synthesis and thermolysis behavior of monoethylpalladium complexes, EtPd (X)(PMe3) 2 (X= electronegative ligands)
Dobson et al. Carboxylato complexes of the platinum group metals
Partenheimer Heats of reaction of chelated olefin and other ligands with dichlorobis (benzonitrile) palladium (II)
Hou et al. Lanthanoid complexes with hexamethylphosphoramide (HMPA) ligand. Preparation and crystal structure of ytterbium complexes of HMPA,(Yb (H2O) 5 (HMPA) 2) Cl3H2OHMPA and YbCl3 (HMPA) 3.
TH5100B (th) วิธีผลิตอิบูโพรเฟน
TH6762A (th) วิธีผลิตอิบูโพรเฟน
Dengel et al. Halodioxoruthenate (VI) complexes as catalysts for the oxidation of alcohols
Housecroft Silver
Yoshino et al. Formation constants of zinc (II) complexes with Semi-Xylenol Orange
KR890015990A (ko) 아릴알킬 할로겐화물을 카르보닐화시키는 방법
Pignolet et al. Carbonyl adducts of bis (1, 4-bis (diphenylphosphino) butane) rhodium (I) cation. Crystal and molecular structure of [Rh2 (Ph2P (CH2) 4PPh2) 3 (CO) 4](PF6) 2
TH6762EX (th) วิธีผลิตอิบูโพรเฟน
TH11705B (th) วิธีผลิตอิบูโพรเฟน
JPS5867645A (ja) アルキリデンジエステルの製法
TH10135A (th) วิธีผลิตอิบูโพรเฟน