TH37782A3 - ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น - Google Patents

ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น

Info

Publication number
TH37782A3
TH37782A3 TH9901000181A TH9901000181A TH37782A3 TH 37782 A3 TH37782 A3 TH 37782A3 TH 9901000181 A TH9901000181 A TH 9901000181A TH 9901000181 A TH9901000181 A TH 9901000181A TH 37782 A3 TH37782 A3 TH 37782A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
load
elevator
distance
floor
building
Prior art date
Application number
TH9901000181A
Other languages
English (en)
Other versions
TH43595C3 (th
TH37782B (th
Inventor
คอสท์คา นายมิโรสลาฟ
สตาเรซ นายแรฟฟาเอล
ค็อค นายวอลเตอร์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH37782B publication Critical patent/TH37782B/th
Publication of TH37782A3 publication Critical patent/TH37782A3/th
Publication of TH43595C3 publication Critical patent/TH43595C3/th

Links

Abstract

DC60 (18/03/43) ลิฟต์แบบสองชั้น (7) ได้รับการติดตั้งไว้ให้มีอุปกรณ์ที่เป็นเครื่องจักรสำหรับขับเคลื่อนชั้นลิฟต์ (DA) ซึ่งโดยการอ้างอิงกับข่าวสารเกี่ยวกับตำแหน่งนั้น จะปรับแต่งระยะทางระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) แต่ละ ห้องในลักษณะที่ว่าห้องบรรทุก (5, 6) แต่ละห้องนั้น จะสามารถหยุดที่ชั้นของอาคาร (E1 ... E6) ที่สอด คล้องกันได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ซึ่งหมายถึงปราศจากการเหลื่อมระดับ ค่าต่างๆ ของตำแหน่งที่ได้รับการ วัดจะได้รับการจัดเก็บไว้ในหน่วยความจำ (RAM13, 14) และได้รับการแก้ไขตามระยะเวลาให้เป็นข้อมูล ปัจจุบันเพื่อให้ตรวจจับการเปลี่ยนแปลใดๆ ตัวอย่างเช่น การทรุดตัวของอาคาร โดยที่ยึดถือตามข้อมูลนี้ ระยะทางต่างๆ ของชั้นลิฟต์ที่จำเป็นจะได้รับการคำนวณซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับห้องบรรทุก (5, 6) ทั้ง หมดเพื่อหยุดโดยปราศจากการที่พวกมันจะทำให้เกิดการเหลื่อมระดับ ยิ่งไปกว่านั้น วิธีการและอุปกรณ์ สามารถได้รับการขยายออกไปอย่างสอดคล้องสำหรับลิฟต์แบบหลายชั้นและสำหรับการควบคุมชนิดใดๆ (การควบคุมโดยทั่วไป, การควบคุมการเรียกจุดปลายทาง ฯลฯ) ลิฟต์แบบสองชั้น (7) ได้รับการติดตั้งไว้ให้มีอุปกรณ์ที่เป็นเครื่องจักรสำหรับขับเคลื่อนชั้นลิฟต์ (DA) ซึ่งโดยการ อ้างอิงกับข่าวสารเกี่ยวกับตำแหนางนั้น จะปรับแต่งระยะทาง ระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) แต่ละห้องในลักษณะที่ว่าห้อง บรรทุก (5, 6) แต่ละห้องนั้น จะสามารถหยุดที่ชั้นของอาคาร (E1 ... E6) ที่สอดคล้องกันได้อย่างถูกต้องแม่นยำ ซึ่งหมาย ถึงปราศจากการเหลื่อมระดับ ค่าต่างๆของตำแหน่งที่ได้รับการ วัดจะได้รับการจัดเก็บไว้ในหน่วยความจำ (RAM13, 14) และได้ รับการแก้ไขตามระยะเวลาให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน เพื่อให้ตรวจ จับการเปลี่ยนแปลใดๆ ตัวอย่างเช่น การทรุดตัวของอาาร โดย ที่ยึดถือตามข้อมูลนี้ ระยะทางต่างๆ ของชั้นลิฟต์ที่จำเป็นจะได้รับการคำนวณซึ่งเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับห้องบรรทุก (5, 6) ทั้งหมดเพื่อหยุดโดยปราศจากการที่ พวกมันจะทำให้เกิดการเหลื่อมระดับ ยิ่งไปกว่านั้น วิธีการ และอุปกรณ์สามารถได้รับการขยายออกไปอย่างสอดคล้องสำหรับ ลิฟต์แบบหลายชั้นและสำหรับการควบคุมชนิดใดๆ (การควบคุมทั่ว ไป, การควบคุมการเรียกจุดปลายทาง ฯลฯ)

Claims (9)

1. วิธีการสำหรับลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น (7) ซึ่ง เดินทางในช่องทางขึ้นลง (1) ของลิฟต์ และได้รับการขับ เคลื่อนโดยเครื่องจักรสำหรับชักขึ้นลง (2) โดยทางเชือกแขวน (3) ซึ่งได้รับการจัดเรียงไว้ในที่นั้นในสายโยงห้องบรรทุก (4) โดยที่ห้องบรรทุก 5, 6 อย่างน้อยสองห้องได้รับการกำหนด ลักษณะเฉพาะที่ว่า ระยะทางในแนวตั้งระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) สามารถถูกปรับ แต่งได้ เพื่อที่ว่าจะเป็นระยะทางระหว่างชั้นของอาคารถึง ชั้นของอาคารที่แปรผันได้ในอาคารก็ตาม ตำแหน่งต่างๆของ บรรดาห้องบรรทุกจะได้รับการปรับแต่งเพื่อให้ได้ระดับกับ ช่องจอดต่างๆ แต่ละช่องบนชั้นต่างๆ ที่อยู่ติดกันของอาคาร
2. วิธีการที่สอดคล้องกับข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนด ลักษณะเฉพาะที่ว่า ตามเกณฑ์ของผังอาคารนั้น ระยะชั้นลิฟท์โดยเฉลี่ย (MDD) ซึ่งได้รับการกำหนดเป็นค่าเฉลี่ยของระยะทางระหว่างชั้นของ อาคารถึงชั้นของอาคารที่มีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุด ระหว่างชั้นของอาคารจำนวนสองชั้นที่อยู่ติดกัน ได้รับการ คำนวณและจัดเก็บในหน่วยความจำ (RAM14)
3. วิธีการที่สอดคล้องกับข้อ 1 หรือ 2 ซึ่งได้รับการกำหนด ลักษณะเฉพาะที่ว่าสำหรับการหยุดแต่ละครั้งที่ซึ่งห้อง บรรทุก (5, 6) ทั้งสองห้องซึ่งแต่ละห้องให้บริการชั้น หนึ่งๆ ของอาคารนั้น ค่าของความแตกต่างที่สัมพันธ์กับระยะ ของชั้นลิฟต์โดยเฉลี่ย (DMDD) จะได้รับการคำนวณและจัดเก็บ ในหน่วยความจำ (RAM14)
4. วิธีการที่สอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 1 ถึง 3 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะเฉพาะที่ว่า ตามเกณฑ์ของค่าอ้างอิงซึ่งได้รับการคำนวณจากความแตกต่าง ระหว่าง DMDD (ความแตกต่างที่สัมพันธ์กับระยะของชั้นลิฟต์ โดยเฉลี่ย) และ IDMDD (ความแตกต่างจริงที่สัมพันธ์กับระยะ ของชั้นลิฟต์โดยเฉลี่ย) ค่าอ้างอิงสำหรับการปรับแก้ระยะของ ชั้นลิฟต์ได้รับการคำนวณซึ่งเป็นปริมาณที่ซึ่งระยะทาง ระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) จะต้องได้รับการปรับแต่ง
5. อุปกรณ์สำหรับลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น (7) ซึ่ง เดินทางในช่องทางขึ้นลงของลิฟต์และได้รับการขับเคลื่อนโดย สิ่งที่ได้แก่ เครื่องจักรสำหรับชักขึ้นลง (2) โดยทางเชือก แขวน (3) ซึ่งได้รับการจัดเรียงไว้ในที่นั้นในสายโยงห้อง บรรทุก (4) โดยที่ห้องบรรทุก 5, 6 อย่างน้อยสองห้องได้รับ การกำหนดลักษณะที่ว่า เครื่องจักรสำหรับการขับเคลื่อนระยะของชั้นลิฟต์ (DA)อย่างน้อยหนึ่งเครื่องสำหรับปรับแต่งระยะทางระหว่างห้อง บรรทุก (5, 6) ทั้งสองห้อง ได้รับการยึดเข้ากับสายโยงห้อง บรรทุก (4)
6. อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับข้อ 5 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะ เฉพาะว่า ห้องบรรทุก (5, 6) จำนวนหนึ่งห้องหรือมากกว่านี้สามารถ เคลื่อนที่ได้โดยสัมพันธ์กับสายโยงห้องบรรทุก (4) และห้อง บรรทุก (5, 6) จำนวนที่ไม่มากกว่าหนึ่งห้องได้รับการยึด เข้ากับสายโยงห้องบรรทุก (4) ในลักษณะที่ไม่สามารถเคลื่อน ที่ได้
7. อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับข้อ 5, 6 ซึ่งได้รับการกำหนด ลักษณะเฉพาะว่า เครื่องจักรสำหรับขับเคลื่อนระยะของชั้นลิฟต์ (DA) จะขับ เคลื่อนสิ่งที่ได้แก่ เพลาหมุน (62) ซึ่งจะเปลี่ยนระยะทาง ระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) ในลักษณะสมมาตรกันที่จุดกึ่งหก ลาางของลิฟต์แบบสองชั้น (7)
8. อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 5 ถึง 7 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะเฉพาะว่า สิ่งที่ได้รับการยึดเข้ากับสายโยงห้องบรรทุก (4) คือ อุปกรณ์อย่างหนึ่งสำหรับพิจารณากำหนดตำแหน่งสัมพัทธ์ของ ห้องบรรทุก (5, 6) หรือระหว่างห้องบรรทุก (5, 6) ในรูปของ สิ่งที่ได้แก่ อิมพัลส์ ทาโคไดนาโม (60) และทรานซ์ดิวเซอร์ ที่สอดคล้องกันนั้น
9. อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 5 ถึง 8 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะเฉพาะว่า หน่วยความจำ (RAM13) บรรจุไว้ด้วยค่าบรรดาค่าความแตกต่าง ที่ได้รับการคำนวณซึ่งสัมพันธ์กับระยะของชั้นลิฟต์โดย เฉลี่ย (DMDD) ของบรรดาระยะทางระหว่างชั้นของอาคารถึงชั้น ของอาคารของชั้นต่างๆที่อยู่ติดกันของอาคาร 1
0. อุปกรณ์ที่สอดคล้องกับข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 5 ถึง 9 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะเฉพาะว่า หน่วยความจำ (RAM14) จะบรรจุค่าต่างๆ อย่างเช่น ระยะของ ชั้นลิฟต์โดยเฉลี่ย (MDD), ค่าความแตกต่างจริงที่สัมพันธ์ กับระยะของชั้นลิฟต์โดยเฉลี่ย (IDMDD) และค่าอ้างอิงสำหรับ การปรับแก้ระยะของชั้นลิฟต์ (SDDS) (ข้อถือสิทธิ 10 ข้อ, 2 หน้า, 3 รูป)
TH9901000181A 1999-01-25 ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น TH43595C3 (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH37782B TH37782B (th) 2000-03-20
TH37782A3 true TH37782A3 (th) 2000-03-20
TH43595C3 TH43595C3 (th) 2015-04-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN1093498C (zh) 双层或多层电梯
FI118382B (fi) Hissijärjestelmä
JP5554397B2 (ja) エレベーターの制御装置
US20100065381A1 (en) Sway mitigation in an elevator system
RU95105424A (ru) Аппаратура и способ управления дверями лифта
CN110467074B (zh) 电梯系统中的无线通信
JP6599025B2 (ja) エレベータ制御装置およびエレベータ制御方法
JP2006321642A (ja) エレベーターのかご内荷重検出装置
CN111252638A (zh) 用于监测电梯系统的装置和方法
TH37782A3 (th) ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น
TH43595C3 (th) ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น
WO2018042568A1 (ja) エレベータ装置およびエレベータ装置の制御方法
TH37782B (th) ลิฟต์แบบสองชั้นหรือแบบหลายชั้น
JP2016204125A (ja) 両かごエレベーター
CN1485261A (zh) 双曳引设备驱动电梯系统的位置检测装置
JP2000086103A (ja) エレベータかごのバランスポイント調整方法
JP2002003118A (ja) エレベータ装置
FI84105B (fi) Foerfarande och anordning foer att bilda belastningsdata i en hiss.
US7299896B1 (en) Elevator system having drive motor located adjacent to hoistway door
US11472664B2 (en) Elevator system to direct passenger to tenant in building whether passenger is inside or outside building
KR102265012B1 (ko) 가변속도 엘리베이터의 강제 감속 제어장치 및 방법
JP2605990B2 (ja) エレベータの制御装置
CN104276471A (zh) 电梯的驱动控制装置
EP0841279A1 (en) Deceleration time for an elevator car
JPH0387473A (ja) エレベータスライド式駐車装置