TH33527B - วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรี - Google Patents

วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรี

Info

Publication number
TH33527B
TH33527B TH101000611A TH0101000611A TH33527B TH 33527 B TH33527 B TH 33527B TH 101000611 A TH101000611 A TH 101000611A TH 0101000611 A TH0101000611 A TH 0101000611A TH 33527 B TH33527 B TH 33527B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
solder
copper
bath
density
alloy
Prior art date
Application number
TH101000611A
Other languages
English (en)
Other versions
TH53105A (th
Inventor
โตโดโรกิ นายเคนอิจิโรว์
นิชิมูระ นายเท็ตสึโร
โคชิ นายมาซูโอะ
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH53105A publication Critical patent/TH53105A/th
Publication of TH33527B publication Critical patent/TH33527B/th

Links

Abstract

DC60 วิธีการนี้จะควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างสารบัดกรีชนิดจุ่ม ซึ่งบรรจุโลหะเจือ ที่เป็นสารบัดกรี หลอมละลาย ซึ่งอย่างน้อยที่สุดจะมีทองแดงเป็นสาร ผสมที่เป็นจำเป็นอย่างยิ่งของ โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ ในระหว่างขั้นตอนการบัดกรีด้วยการจุ่มแผงวงจรพิมพ์ พร้อมด้วยพื้นผิว ทองแดงบาง ๆ และ ชิ้นส่วนประกอบ ซึ่งมีตัวนำชนิดทองแดงติดอยู่กับชิ้นส่วนประกอบนั้น วิธีการนี้ จะรวมถึงขั้นตอนของการนำโลหะบัดกรีเพิ่มเติม ซึ่งไม่มีทองแดงเลยหรือมีปริมาณทองแดง ซึ่งมี ความหนาแน่นต่ำกว่าความหนาแน่นของสารบัดกรีที่หลอมละลายในอ่างสารบัดกรีนี้ก่อนที่จะจ่าย สารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ไปยังอ่างสารบัดกรีนี้ เพื่อที่จะควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างนี้ ให้มี ความหนาแน่นคงที่ตามที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้วหรือต่ำกว่านั้น ตัวอย่างเช่น โลหะเจือที่เป็นสาร บัดกรีหลอมละลายในอ่างนี้จะมีดีบุก ทองแดง และนิกเกิล เป็นสารผสมหลักของโลหะเจือที่เป็นสาร บัดกรีนี้ และสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้จะมีนิกเกิล และดีบุกที่ได้ดุล อย่างพอจะเลือกใช้ได้นั้น โลหะเจือ ที่เป็นสารบัดกรีหลอมละลายในอ่างนี้จะมีดีบุก ทองแดง และเงินเป็นส่วนประกอบหลักของโลหะเจือ ที่เป็นสารบัดกรีนี้ และสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้จะมีเงินและดีบุกที่ได้ดุล ความหนาแน่นของทองแดงของ สารบัดกรีหลอมละลายในอ่างนี้จะได้รับการควบคุมให้น้อยกว่า 0.85 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ที่ อุณหภูมิของสารบัดกรี ประมาณ 255 องศาเซลเซียส วิธีการนี้จะควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างสารบัดกรีชนิดจุ่มซึ่งบรรจุโลหะเจือที่ เป็นสารบัดกรี หลอมละลายซึ่งอย่างน้อยที่สุดจะมีทองแดงเป็นสาร ผสมที่เป็นจำเป็นอย่างยิ่งของ โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ ในระหว่างขั้นตอนการบัดกรีด้วยการจุ่มแผงวงจรพิมพ์ และชิ้นส่วน ประกอบซึ่งมีตัวนำชนิดทองแดงติดอยู่กับ ชิ้นส่วนประกอบนั้น วิธีการนี้จะรวมถึงขั้นตอนของการ นำ โลหะบัดกรีเพิ่มเติมซึ่งไม่มีทองแดงเลยหรือมีปริมาณ ทองแดงชึ่งมีความหนาแน่นต่ำกว่าความหนา แน่นของ สารบัดกรีที่หลอมละลายในอ่างสารบัดกรีนี้ก่อนที่จะ จ่ายสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ไปยังอ่างสาร บัดกรีนี้เพื่อที่จะ ควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างนี้ให้มีความ หนาแน่นคงตามที่ได้กำหนดไว้ ล่วงหน้าแล้วหรือต่ำกว่า นั้น ตัวอย่างเช่น โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีหลอมละลาย ในอ่างนี้จะมีดีบุก ทองแดงและนิกเกิลเป็นสารผสมหลัก ของโลหะเจือที่เเป็นสารบัดกรีนี้ และสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ จะมี นิกเกิลและดีบุกที่ได้ดุล อย่างพอจะเลือกใช้ได้นั้น โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีหลอมละลายในอ่างนี้ จะมีดีบุก ทองแดงและเงินเป็นองค์ประกอบหลักของโลหะเจือที่ เป็นสารบัดกรีนี้ และสารบัดกรี เพิ่มเติมนี้จะมีเงินและ ดีบุกที่ได้ดุล ความหนาแน่นของทองแดงของสารบัดกรี หลอมละลายในอ่าง นี้จะได้รับการควบคุมให้น้อยกว่า 0.85 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักที่อุณหภูมิของสารบัดกรี ประมาณ 255 องศาเซลเซียส

Claims (1)

1. วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรีซึ่งบรรจุโลหะเจือที่เป็น สารบัดกรีหลอมละลาย ซึ่งอย่างน้อยที่สุดมีทองแดงเป็นสารผสมที่เป็นจำเป็น อย่างยิ่งของโลหะเจือนี้ ในระหว่างขั้นตอนการบัดกรีด้วย การจุ่มแผงวงจรพิมพ์ซึ่งมีโลหะเจือทองแดงดีบุกติดอยู่ บนแผงวงจร พิมพ์นั้น วิธีการซึ่งประกอบรวมด้วยขั้น ตอนการนำสารบัดกรีเพิ่มเติมที่ไม่มีทองแดงเลยหรือมี ปริมาณทองแดงซึ่งมีความหนาแน่นต่ำกว่าความหนา แน่นของสารบัดกรีที่หลอมละลายซึ่งบรรจุอยู่ ในอ่างนี้ ก่อนจะจ่ายสารบัดกรีเพิ่มเติมไปยังอ่างนี้เพื่อควบคุม ความหนาแน่นของทองแดงในอ่างนี้ให้ มีความหนาแน่น คงที่ตามที่กำหนดไว้ล่วงหน้าให้ต่ำกว่านั้น 2. วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรีตาม ข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง โลหะเจือจางที่เป็นสารบัดกรีที่ หลอมละลายในอ่างนี้จะประกอบรวมด้วยดีบุก ทองแดง และ นิกเกิลเป็น สารผสมหลักของโลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ และ ที่ซึ่งสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้จะประกอบรวมด้วยดีบุก และนิดเกิลเป็น สารผสมหลักของสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ 3. วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรีตาม ข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง โลหะเจือจางที่เป็นสารบัดกรีที่ หลอมละลายในอ่างนี้จะประกอบรวมด้วยดีบุก ทองแดง และ นิกเกิลเป็น สารผสมหลักของสารบัดกรีนี้ และที่ซึ่งสารบัดกรี เพิ่มเติมนี้จะประกอบด้วยดีบุก ทองแดงและ นิกเกิลเป็นองค์ ประกอบหลักของสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ 4. วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรีตาม ข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีที่ หลอมละลายในอ่างนี้จะประกอบรวมด้วยดีบุก ทองแดง และ เงินเป็น องค์ประกอบหลักของโลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ และ ที่สารบัดกรีเพิ่มเติมนี้จะประกอบด้วยดีบุก และเงินเป็นสารผสม หลักของสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ 5. วิธีการควบคุมสำหรับความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสาร บัดกรีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งโลหะเจือที่เป็นสารบัดกรี หลอมละลายในอ่างนี้จะประกอบด้วยดีบุก ทองแดงและเงิน เป็น สารผสมหลักของโลหะเจือสารบัดกรีนี้ และสารบัดกรีเพิ่ม เติมประกอบด้วยดีบุก ทองแดง และเงินเป็นสารผสมหลักของสารบัดกรีเพิ่ม เติมนี้ 6. วิธีการควบคุมสำหรับความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสาร บัดกรีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งจะ ป้อนสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้เมื่อระดับของสารบัดกรีที่หลอมละลาย ในอ่างนี้ตกลงต่ำ กว่าระดับที่กำหนดไว้ล่วงหน้า 7. วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสาร บัดกรีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งจะ ป้อนสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ไปยังอ่างสารบัดกรีที่หลอมละลายใน แต่ละครั้งที่ แผงวงจรพิมพ์จำนวนมากซึ่งกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้วได้ รับการดำเนินกระบวนการผ่านอ่างนี้ 8. วิธีการควบคุมสำหรับความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสาร บัดกรีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง จะควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างสารบัดกรีที่หลอมละลายนี้ ให้ น้อยกว่า 0.85 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักพร้อมด้วยโลหะเจือ ที่เป็นสารบัดกีที่หลอมละลายนี้ที่อุณหภูมิ 255 องศา เซลเซียสโดยประมาณ 9. เครื่องอิเล็กอนิกส์และเครื่องไฟฟ้าซึ่งได้รับการรวมเข้า ด้วยกันของจุดต่อสารบัดกรีที่ได้รับ การผลิตในอ่างสารบัดกรี แบบจุ่มโดยอาศัยวิธีการควบคุมทองแดงตามข้อถือสิทธิ ข้อ 1 ถึง 8 ข้อใด ข้อหนึ่ง 1 0. สารบัดกรีเพิ่มเติมซึ่งได้รับการนำเข้าสู่อ่างสารบัดกรีที่หลอมละลายซึ่งบรรจุโลหะเจือที่เป็น สารบัดกรีที่หลอมละลายซึ่งประกอบรวมด้วยดีบุก ทองแดงและนิเกิลเป็นองค์ประกอบหลักของ โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ สารบัดกรีเพิ่มเติมซึ่งประกอบรวมด้วยดีบุกและนิเกิลเป็นองค์ประกอบ หลักของสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้ 1
1. สารบัดกรีเพิ่มเติมซึ่งได้รับการนำเข้าสู่อ่างสารบัดกรีที่หลอมละลายซึ่งบรรจุโลหะเจือที่เป็น สารบัดกรีที่หลอมละลายซึ่งประกอบรวมด้วยดีบุก ทองแดงและเงิน เป็นองค์ประกอบหลักของ โลหะเจือที่เป็นสารบัดกรีนี้ สารบัดกรีเพิ่มเติมซึ่งประกอบรวมด้วยดีบุกและเงินเป็นองค์ประกอบ หลักของสารบัดกรีเพิ่มเติมนี้
TH101000611A 2001-02-22 วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรี TH33527B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH53105A TH53105A (th) 2002-09-19
TH33527B true TH33527B (th) 2012-08-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP2007203373A (ja) 無鉛はんだ合金
CA2368384A1 (en) A control method for copper density in a solder dipping bath
JP2003198117A (ja) はんだ付け方法および接合構造体
KR100671394B1 (ko) Pb프리 땜납 합금을 이용한 리플로우 납땜 방법 및 혼재실장 방법 및 혼재 실장 구조체
DE60107670D1 (de) Bleifreie lötlegierung und deren verwendung in elektronischen bauelementen
KR20060050102A (ko) 신뢰도가 증가된 무연 땜납 페이스트
TH53105A (th) วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรี
TH33527B (th) วิธีการควบคุมความหนาแน่นของทองแดงในอ่างจุ่มสารบัดกรี
JPS6130439B2 (th)
JP7007623B1 (ja) はんだ合金及びはんだ継手
JP2547048B2 (ja) クリームはんだ
JP2003193289A (ja) 電解メッキ皮膜の熱処理方法
JP2003198118A (ja) 非鉛系接合部材の形成方法及び回路基板
SU1433707A1 (ru) Паста дл пайки навесных элементов радиоэлектронной аппаратуры
JP2001358459A (ja) 電子機器およびその接続に用いるはんだ
JP2004063509A (ja) ハンダ付け方法
JP2002270633A (ja) 電子機器
St. John Solderable Polymer Thick Film Conductors for Surface Mount Technology
JPH05129771A (ja) プリント配線基板用予備はんだ
JPH0227609A (ja) プリント基板ジャンパースルー用ハンダジャンパー線及びこの線を用いたプリント基板の電気的導通方法
JPH0240227B2 (th)
JPH02104493A (ja) 接続用はんだ
JPH04343293A (ja) プリント配線板への部品のはんだ付け方法
JPH0393289A (ja) プリント配線板
JPH0551760A (ja) 錫合金メツキのホイスカーの発生防止方法