TH23619A - ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต - Google Patents

ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต

Info

Publication number
TH23619A
TH23619A TH9301000852A TH9301000852A TH23619A TH 23619 A TH23619 A TH 23619A TH 9301000852 A TH9301000852 A TH 9301000852A TH 9301000852 A TH9301000852 A TH 9301000852A TH 23619 A TH23619 A TH 23619A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
metal
section
electron
tantalum
sheet
Prior art date
Application number
TH9301000852A
Other languages
English (en)
Other versions
TH19585B (th
TH23619EX (th
Inventor
เอ. ไฟดฟ์ นายเจมส์
แอนดรูว์ นัทสัน นายเดวิด
คูมาร์ นายพราบแฮท
ทัททรา นายไวเรน
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH23619A publication Critical patent/TH23619A/th
Publication of TH23619EX publication Critical patent/TH23619EX/th
Publication of TH19585B publication Critical patent/TH19585B/th

Links

Abstract

วัสดุที่ทำขั้วไฟฟ้าพวกแทนทาลัมที่ถูกผลิตขึ้นโดยมีความไม่เป็นระเบียบ ของความพรุนที่ต่ำ มีค่า ESL และ ESP ซึ่งทำงานที่ความถี่สูงได้ มีประสิทธิภาพใน ความจุที่สูงและการใช้แทนทาลัมที่น้อยลงต่อขั้วแอโนดแต่ละขั้ว วัสดุที่ทำขั้วแอโนดนี้จะ มีลักษณะพิเศษที่ซึ่งหน้าตัดขวางของมันจะเป็นแผ่นของโลหะแทนทาลัมที่ถูกแยกจากกัน โดยมีช่องว่างที่เกิดขึ้นระหว่างแผ่นที่จะมีความจุสูง (ประสิทธิภาพความจุ) แผ่น ดังกล่าวจะถูกเชื่อมต่อระหว่างกันทางไฟฟ้าซึ่งจะทำให้โครงสร้างของวัตถุนั้นมั่นคงขึ้น ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะทำให้สามารถควบคุมรูปลักษณ์ของวัสดุพวกแทนทาลัมในระหว่าง ขบวนการดำเนินการได้ วิธีการผลิตวัสดุดังกล่าวจะรวมถึงการอัดรีดส่วนที่เป็น ท่อนที่ถูกเติมเต็มไว้ (มัก จะมีรูปทรงทางเรขาขึ้นแบบเดียวกัน) ด้วยส่วนผสมของ แท่งโลหะแทนทาลัมและโลหะที่อัดรีดได้ เมื่อส่วนที่เป็นท่อนดังกล่าวถูกลดขนาดลงและ ถูกยึดเกาะแล้ว โลหะที่อัดรีดได้จะถูกแยกออกไปโดยการละลายด้วยกรดซึ่งตามข้อ ดีดังกล่าวข้างต้น วัตถุที่ได้จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในการใช้สำหรับงานที่มี ขนาดที่เล็กมากๆ

Claims (9)

1. วัสดุโลหะที่นำอิเล็คตรอนที่ถูกดัดแปลงเฉพาะเพื่อเป็นขั้วไฟฟ้าที่มีหน้าตัดเป็น แผ่นบางของโลหะที่นำอิเล็คตรอนดังกล่าวซึ่งมีความหนาที่ถูกควบคุมไว้ แผ่นดังกล่าวจะแยกออก จากกันและกันโดยช่องว่างที่มีขนาดตามที่กำหนดและควบคุมไว้ แผ่นดังกล่าวนี้ยังถูกเชื่อมโยงทาง ไฟฟ้าโดยตัวสัมผัสที่เป็นโลหะตรงจุดต่างๆ ของส่วนตัดกันของแผ่นโดยผ่านจุดเชื่อมต่อระหว่าง กันของโลหะที่นำอิเล็คตรอนของแผ่นตรงจุดที่เลือกไว้ที่อยู่ภายในหน้าตัดดังกล่าวและโครงสร้าง ดังกล่าวจะเป็นโครงสร้างที่มั่นคงและจะมีความพรุนที่เป็นระเบียบ 2. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งขนาดใหญ่สุดตามแนวขวางของวัสดุจะน้อยกว่า 0.05 นิ้ว 3. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งขนาดใหญ่สุดดังกล่าวจะน้อยกว่า 0.015 นิ้ว 4. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งวัสดุนั้นจะถูกปิดคลุมอยู่ในโลหะเสริมที่อัดรีดได้ ซึ่งจะเติมเต็มช่องว่างที่อยู่ระหว่างวัสดุโลหะที่นำอิเล็คตรอนดังกล่าว 5. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งวัสดุดังกล่าวจะถูกรวมเข้าเป็นแกนกลม 6. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งโลหะเสริมดังกล่าวจะเป็นทองแดง 7. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ที่ซึ่งโลหะนำอิเล็คตรอนดังกล่าวจะเป็นแทนทาลัม 8. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ยังประกอบด้วยด้วยชั้นผิวของออกไซด์ของโลหะที่นำ อิเล็คตรอนที่อยู่บนผิวหน้า โลหะที่นำอิเล็คตรอนที่อยู่นอกสุดในความหนาประมาณ 0.004 ไมโครเมตร ถึงประมาณ 0.85 ไมโครเมตร 9. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่งช่องว่างระหว่างแผ่นดังกล่าวจะถูกซึมแทรกไว้ด้วย สารอิเล็คโทรไลท์ 1 0. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งส่วนที่ถูกซึมแทรกดังกล่าวจะถูกปิดคลุมไว้ด้วยชั้น ผิวที่เรียงถัดต่อมา พวกตัวนำไฟฟ้าโลหะและโพลีเมอร์ 1 1. วัสดุตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซึ่งตัวนำไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นคาร์บอน โลหะ ดังกล่าวจะเป็นเงิน แทนทาลัม โคลัมเมียมหรืออัลลอยของโลหะดังกล่าวและพลาสติกจะเป็นพวกโพลี เอทธิลีนโพลีโปรพีลีน หรืออะไครลิค โพลีเมอร์ 1 2. วิธีการผลิตวัตถุพวกโลหะที่นำอิเล็คตรอนที่ดัดแปลงเฉพาะเพื่อใช้เป็นขั้วไฟฟ้า ที่ประกอบด้วยการเติมส่วนกระป๋องที่เป็นท่อนเข้าด้วยโลหะที่นำอิเล็คตรอนและโลหะเสริมที่ขึ้นรูปได้ โดยมีลวดลายตามที่จัดขึ้นไว้ของโลหะที่นำอิเลคตรอนที่อยู่ห่างจากกัน โดยมีช่องว่างที่เกิดจากการมี และการจัดให้มีส่วนโลหะเสริมที่ขึ้นรูปได้ และการลดขนาดของส่วนที่เป็นท่อนดังกล่าวลงให้มีขนาด ตามที่กำหนด การแยกโลหะที่ขึ้นรูปได้ออก และการสร้างชั้นที่เป็นออกไซด์ของโลหะที่นำอิเลคตรอน บนผิวหน้าโลหะที่นำอิเล็คตรอนที่อยู่นอกสุด 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งอย่างน้อยโลหะที่นำอิเล็คตรอนตัวหนึ่งหรือ โลหะที่ขึ้นรูปได้ตัวหนึ่งก่อนที่จะถูกนำเข้าไปจัดวางไว้ในส่วนที่เป็นท่อนดังกล่าวจะถูกทำให้อยู่ในรูป ของแท่ง แผ่น เกล็ด ผง หรือส่วนผสมของแบบดังกล่าว 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งอย่างน้อยโลหะที่นำอิเล็คตรอนตัวหนึ่ง หรือ โลหะเสริมที่ขึ้นรูปได้จะอยู่ในรูปของแท่งหรือแผ่นหรือส่วนผสมของแบบดังกล่าว 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งโครงสร้างดังกล่าวจะถูกเกาะยึดตรงจุดที่กำหนด ไว้ตามความยาวของมัน 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งส่วนที่เป็นท่อนที่เป็นกระป๋องนั้นจะเป็น ทองแดง 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งโลหะเสริมที่ขึ้นรูปได้จะเป็นทองแดง 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 จะรวมถึงการอบร้อนแก่ส่วนที่เป็นท่อนทุกครั้งจะ ทำให้ส่วนที่เป็นท่อนถูกลดลงในแนวหน้าตัดได้ถึง 75% 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งโลหะเสริมที่ขึ้นรูปได้ดังกล่าวจะถูกแยกออก โดยแรงดันไฟฟ้าที่ให้โดยวิธีอิเล็คโทรไลท์ และ/หรือการชะล้างด้วยกรด โดยมีหรือไม่มีการสั่น สะเทือนด้วยอัลตราโซนิค 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 19 ที่ซึ่งแรงดันไฟฟ้าที่ใช้จะเป็น 0.3 ถึง 0.4 โวลท์ 2
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่รวมถึงการเกาะยึดวัตถุดังกล่าวตรงช่วงความยาว ที่กำหนดและการแยกส่วนของโลหะเสริมดังกล่าวออกตามแนวความยาวของวัตถุดังกล่าวจากปลาย ที่ถูกยึดเกาะดังกล่าว 2
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งความยาวที่กำหนดดังกล่าวจะอยู่ระหว่าง ประมาณ 0.1 มิลลิเมตรและ 10มิลลิเมตร 2
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งชั้นผิวดังกล่าวจะถูกสร้างขึ้นโดยวิธีทางอิเล็ค โทรไลท์ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าระหว่างประมาณ 2 และ 500 โวลท์ 2
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งขนาดที่กำหนดประกอบด้วยความหนาที่น้อย กว่า 0.05 นิ้ว 2
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งขนาดที่กำหนดประกอบด้วยความหนาที่น้อย กว่า 0.015 นิ้ว 2
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งช่องว่างที่อยู่ระหว่างแผ่นดังกล่าวจะถูกซึม แทรกด้วยสารพวกอิเล็คโทรไลท์ 2
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ซึ่งส่วนที่ถูกซึมแทรกแล้วดังกล่าวจะถูกปิดคลุม ด้วยชั้นผิวที่เรียงถัดต่อมาพวกตัวนำไฟฟ้า และโลหะโพลีเมอร์ 2
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ที่ซึ่งตัวนำไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นคาร์บอน โลหะ ดังกล่าวจะเป็นพวกเงิน แทนทาลัม โคลัมเบียมหรืออัลลอยของโลหะดังกล่าวและพวกพลาสติก ดังกล่าวจะเป็นพวกโพลีเอทธิลีน โพลีโปรพิลีน หรืออะไครลิค โพลีเมอร์ 2
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งวัตถุที่ถูกลดขนาดลงแล้วจะถูกเกาะยึด และ ชิ้นส่วนที่เกาะยึดแล้วจะถูกจัดเรียงในส่วนที่เป็นท่อนที่เป็นกระป๋องเพื่อให้อัดแน่นเต็มอยู่ในกระป๋อง และกระบวนการลดขนาดลงที่ดำเนินการซ้ำหลายครั้งจะทำให้ได้วัตถุโลหะที่นำอิเล็คตรอนเป็นจำนวน มาก
TH9301000852A 1993-05-20 ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต TH19585B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH23619A true TH23619A (th) 1997-02-17
TH23619EX TH23619EX (th) 1997-02-17
TH19585B TH19585B (th) 2006-03-02

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR100290995B1 (ko) 압출커패시터전극및그의제조방법
KR0165998B1 (ko) 2개의 고체 전해층을 갖는 고체 전해 캐패시터 및 그 제조 방법
RU94046124A (ru) Материал для вентильного металла и способ его получения
EP1045410A3 (en) Electrode for electrolytic capacitor and process of producing the same
JPH0666229B2 (ja) 電気二重層コンデンサ
CN1258786C (zh) 电解电容器的阳极、电解电容器和制造阳极的方法
DE3326193A1 (de) Elektrode fuer ein organisches element und verfahren zu deren herstellung
JP2003086459A (ja) 固体電解コンデンサ
DE2349615C3 (de) Galvanische Festelektrolytzelle P.R. Mallory & Co, Ine, Indiana¬
CN1134852C (zh) 锂聚合物电池
JPH08250380A (ja) 分極性電極およびその製造方法
TH23619A (th) ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต
TH19585B (th) ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต
CN107710474B (zh) 改进的高容量充电电池
US20060166094A1 (en) Electrode and electrochemical device using the same
DE1671494B1 (de) Verfahren zur herstellung einer doppelseitig arbeitenden gas diffusionselektrode
JPH04286108A (ja) 電気二重層コンデンサ
CN1473339A (zh) 电极和带有该电极的电容器
WO2020120099A1 (de) Elektrodenstapel für eine galvanische zelle
JPH0763045B2 (ja) コンデンサ
CN2703316Y (zh) 高能钽混合电容器
JPH06104141A (ja) 電気二重層キャパシタ
DE10005123A1 (de) Stromkollektorelektrode und Verfahren zu ihrer Herstellung
TH23619EX (th) ขั้วตัวเก็บประจุที่ถูกรีดขึ้นและวิธีการผลิต
JP3316896B2 (ja) コンデンサ