TH20938A - กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนการตกผนึกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการปฎิบัติด้วยอย่างน้อย 1 ครั้งที่ที่ปลายทางจากแถบการดูดซับ - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนการตกผนึกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการปฎิบัติด้วยอย่างน้อย 1 ครั้งที่ที่ปลายทางจากแถบการดูดซับ

Info

Publication number
TH20938A
TH20938A TH9501003514A TH9501003514A TH20938A TH 20938 A TH20938 A TH 20938A TH 9501003514 A TH9501003514 A TH 9501003514A TH 9501003514 A TH9501003514 A TH 9501003514A TH 20938 A TH20938 A TH 20938A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
area
paraxylene
crystallization
liquid
solvent
Prior art date
Application number
TH9501003514A
Other languages
English (en)
Other versions
TH20938B (th
TH21473B (th
Inventor
โอติเอร์ เกอราร์ด
มิกิเทนโกะ ปอล
อาร์ แม็คเฟอร์สัน สจ๊วต
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH20938B publication Critical patent/TH20938B/th
Publication of TH20938A publication Critical patent/TH20938A/th
Publication of TH21473B publication Critical patent/TH21473B/th

Links

Abstract

ในกรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่มีความบริสุทธิ์สูงมากจากสิ่งบรรจุของ ไซลีน ไอโซเมอร์ต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วยตัวอย่างเช่น การดูดซับแบบที่เลือกได้ (8) ของส่วนหนึ่งที่ทำให้พาราไซลีนเพิ่มขึ้น การตกผลึกที่อุณหภูมิสูง (5a) อย่างน้อย 1 ครั้งให้แก่ส่วนนี้ และการเปลี่ยน เป็นไอโซเมอร์ (21) ของส่วนที่มีพาราไซลีนลดน้อยลงมาก, นำส่วนของเหลวต้นกำเนิด นี้ (3) วนกลับเข้าไปให้แก่แถบการดูดแบบที่เลือกได้ (8) โดยผ่านทางการปฎิบัติด้วยดิน (26) ที่เลือกได้ที่ตามโดยการกลั่น (28) ที่เลือกได้ของกระแสปล่อยออกที่ผ่านการปฎิบัติ แล้ว ส่วนของเหลวต้นกำเนิดนี้สามารถจุเข้าไปในหน่วยการกลั่น (23) ที่ขึ้นอยู่กับ การเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์นี้ก่อนให้ผ่านการปฎิบัติในเครื่องปฎิกิริยาด้วยดิน (26) การ ตกผลึกนี้สามารถประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงหลายขั้นซึ่งอุหภูมิในขั้นตอน เหล่านี้ขั้นตอนหนึ่งสามารถเป็นขั้นตอนที่มีอุณหภูมิสูงกว่า หรือต่ำกว่าอุณหภูมิของขั้นตอนอื่น ๆ การประยุกต์ใช้งานกับการเตรียมพาราไซลีนที่มีความบริสุทธิ์สูงมากสำหรับ การสังเคราะห์ของกรดเทเรฟธาลิก

Claims (6)

1. กรรมวิธีสำหรับการแยกและนำพาราไซลีนกลับคืนมาจากสิ่งที่บรรจุที่สามารถมี เมทาไซลีนอยู่ด้วย ซึ่งประกอบรวมด้วยการกระทำร่วมกันของการปฏิบัติงาน การดูดซับ และการ ปฏิบัติงานการตกผลึก และการนำอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสิ่งบรรจุ และ/หรือส่วนของเหลวต้นกำเนิด ที่ได้ผลจากการตกผลึกดังกล่าวนี้ไปกระทำการปฏิบัติงานการปฏิบัติด้วยดิน โดยที่ว่าอย่างน้อย ส่วนหนึ่งของโอเลฟินในสิ่งบรรจุถูกกำจัดออกไป 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์ (isomerization) ซึ่งให้ไอโซเมอเรทและการนำอย่างน้อยส่วนหนึ่งของไอโซเมอเรทนี้ ไปกระทำ การปฏิบัติด้วยดิน 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการนำอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ สิ่งบรรจุนี้ และอย่างน้อยส่วนหนึ่งของไอโซเมอเรทนี้ ไปกระทำการปฏิบัติงานการปฏิบัติด้วยดิน 4. กรรมวิธีสำหรับการแยกและนำพาราไซลีนที่มีอยู่ในสิ่งบรรจุที่มีอะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน ซึ่งกรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวมด้วย: (a) การสัมผัสสิ่งบรรจุที่มีเมทาไซลีนและพาราไซลีน กับตัวดูดซับอย่างน้อย 1 ชนิด ในบริเวณการดูดซับอย่างน้อย 1 บริเวณ โดยมีตัวทำละลายดีซอร์พชันชนิดที่เหมาะสมอยู่ด้วย อย่างน้อย 1 ชนิด ภายใต้สภาวะของการดูดซับในลักษณะที่ทำให้ได้ส่วนที่หนึ่งซึ่งมีตัวทะลำลาย, เมทาไซลีน และเอธิลเบนซีนที่เลือกได้ และ/หรือออร์โธไซลีน และส่วนที่สองที่มีพาราไซลีนที่ทำให้ เพิ่มขึ้นแล้วอย่างมีนัยสำคัญ และซึ่งมีตัวทำละลาย; (b) กลั่นส่วนที่หนึ่งเพื่อนำของผสมของเมทาไซลีนและเอธิลเบนซีนที่เลือกได้ และ/หรือ ออร์โธไซลีนกลับคืนมา; (c) เปลี่ยนของผสมที่กล่าวแล้วให้เป็นไอโซเมอร์อย่างน้อยบางส่วนภายใต้สภาวะที่ เหมาะสมในบริเวณการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์อย่างน้อย 1 บริเวณ, การนำไอโซเมอเรทกลับคืนมา และการนำไอโซเมอเรทวนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนให้แก่บริเวณการดูดซับ; (d) กลั่นส่วนที่สองที่กล่าวแล้ว เพื่อให้ได้พาราไซลีนที่ทำให้เพิ่มขึ้นแล้วอย่างมีนัยสำคัญ, (e) ตกผลึกพาราไซลีนที่ทำให้เพิ่มขึ้นแล้วอย่างมีนัยสำคัญเพื่อให้ได้ส่วนของเหลวต้นกำเนิดและผลึก พาราไซลีน และนำวนส่วนของเหลวต้นกำเนิดอย่างน้อยบางส่วนกลับเข้าไปให้แก่ขั้นการดูดซับนี้, ซึ่งกรรมวิธีนี้ยังประกอบรวมด้วยการวนรอบอย่างน้อยหนึ่งส่วนของสิ่งบรรจุ, ไอโซเมอเรท หรือส่วนของเหลวต้นกำเนิดในบริเวณการปฏิบัติด้วยวัสดุดินอย่างน้อยหนึ่งบริเวณ, การนำกระแส ปล่อยออกที่หนึ่งกลับคืนมา และการบรรจุกระแสปล่อยออกที่หนึ่งดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งส่วนเข้าไป ในบริเวณการดูดซับ 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งประกอบรวมด้วยใน (e) ปฏิบัติการตกผลึกที่ +10 ํซ. และ -25 ํซ เพื่อผลิตเป็นผลึกพาราไซลีน และ (f) ล้างผลึกที่กล่าวแล้วในบริเวณการล้างอย่างน้อย 1 บริเวณ ด้วยตัวทำละลายสำหรับการทำงาน 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งทำให้อย่างน้อยส่วนหนึ่งของสิ่งบรรจุ และส่วนหนึ่งของ ไอโซเมอเรทไหลเวียนในบริเวณการปฏิบัติด้วยดินอย่างน้อยหนึ่งบริเวณ 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งทำให้อย่างน้อยส่วนหนึ่งของสิ่งบรรจุ, ไอโซเมอเรท และส่วนของเหลวต้นกำเนิดนี้ไหลเวียนในบริเวณการปฏิบัติด้วยดินหนึ่งบริเวณหรือมากกว่านี้ 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งบริเวณการดูดซับเป็นแท่นเคลื่อนที่ที่กระตุ้นแล้ว 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยบรรจุส่วนของเหลวต้นกำเนิด อย่างน้อยส่วนหนึ่งเข้าไปในคอลัมป์กลั่นปลายทางจากบริเวณการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์, กลั่น ไอโซเมอเรทและส่วนของเหลวต้นกำเนิดได้ส่วนบนสุดที่มีสารประกอบชนิดเบา และส่วนที่เพิ่มเติม ที่มีของผสมของส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่กลั่นแล้วที่กล่าวแล้ว, และไอโซเมอร์เรทที่กลั่นแล้ว, ซึ่ง ส่วนหนึ่งที่เพิ่มเติมที่กล่าวแล้วถูกบรรจุเข้าไปในบริเวณการปฏิบัติด้วยดิน และนำกระแสปล่อยออก ที่สองกลับคืนมา 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยดึงส่วนล่างสุด ที่มีสารประกอบ ชนิดหนักออกไปจากคอลัมน์กลั่น 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการผสมส่วนของเหลวต้นกำเนิด ส่วนหนึ่งเข้ากับกระแสปล่อยออกที่หนึ่งของบริเวณการปฏิบัติด้วยดิน และกระแสปล่อยออกต่อมา 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสปล่อยออก ที่หนึ่ง จากบริเวณการปฏิบัติด้วยดินนี้ในคอลัมน์กลั่นอย่างน้อย 1 คอลัมน์ ซึ่งนำส่งส่วนล่างสุดที่มี สารประกอบชนิดหนัก และส่วนบนสุดและซึ่งส่วนบนสุดที่กล่าวแล้วถูกบรรจุเข้าไปในบริเวณ การดูดซับ 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งดินคืออะลูมิโนซิลิเคทธรรมชาติ ซึ่งถูกกระตุ้นให้ว่องไว แล้ว, อุณหภูมิคือจาก 100 ถึง 300 ํซ., ความดันคือจาก 3 ถึง 100 บาร์ และความเร็วสเปซต่อชั่วโมงคือ 1 ถึง 8 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการพ่นไล่ส่วนของเหลว ต้นกำเนิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งก่อนบรรจุเข้าไปในบริเวณการปฏิบัติด้วยดินนี้ 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการพ่นไล่ตัวทำละลายกำจัด การดูดที่ได้ผลจากขั้น (b) และ (d) อย่างน้อยบางส่วนก่อนถูกนำวนกลับเข้าไปและชดเชยตัวทำละลาย ที่พ่นไล่นี้ด้วยการเติมตัวทำละลายสดใหม่เข้าไปในสิ่งบรรจุหรือต้นทางจากบริเวณการดูดซับนี้ 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการปฏิบัติการตกผลึกของ พาราไซลีนของขั้น (d) ในขั้นตอนเดี่ยว, การนำสารแขวนลอยของผลึกในส่วนของเหลวต้นกำเนิด กลับคืนมา, การแยกผลึกออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดในบริเวณการแยกหนึ่ง, การล้างผลึกที่ได้ ด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้าง, การนำส่วนของเหลวสำหรับการล้างกลับคืนมา, การนำส่วน ของเหลวสำหรับการล้างอย่างน้อยส่วนหนึ่งวนกลับเข้าไป และการหลอมเหลวผลึกพาราไซลีน อย่างสมบูรณ์ เพื่อทำให้ได้กระแสของเหลวของพาราไซลีนหลอมเหลว 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งการแยกและการล้างถูกทำในคอลัมน์การล้างแบบ กระแสทวนอย่างน้อย 1 คอลัมน์ ซึ่งบรรจุกระแสของเหลวของราพาไซลีนหลอมเหลวอย่างน้อย ส่วนหนึ่งเข้าไปเป็นตัวทำละลายสำหรับการล้างในคอลัมน์นี้ และส่วนของเหลวต้นกำเนิด และส่วน ของเหลวสำหรับการล้างนี้เป็นส่วนของเหลวชนิดเดียวกัน และถูกนำวนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วน ที่ให้แก่บริเวณการดูดซับนี้ และในส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งการแยกและการล้างนี้ถูกทำในเครื่องหมุนเหวี่ยง อย่างน้อย 1 เครื่อง หรือเครื่องกรองแบบหมุนอย่างน้อย 1 เครื่อง ซึ่งกรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบ รวมต่อไปด้วยการบรรจุส่วนของพาราไซลีนหลอมเหลวอย่างน้อยส่วนหนึ่งเข้าไปเป็นตัวทำละลาย สำหรับการล้าง และนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดและส่วนของเหลวสำหรับการล้างนี้วนกลับเข้าไปให้ แก่บริเวณการดูดซับ และในส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลาย ดีซอร์พชันการดูด, กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสของเหลวของพารา ไซลีน เพื่อนำตัวทำละลายสำหรับการล้างกลับคืนมาในส่วนบนสุด, นำตัวทำละลายที่กล่าวแล้ววน กลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนในบริเวณการล้างของผลึกนี้ และนำของเหลวของพาราไซลีนในส่วน ล่างสุดกลับ คืนมา (i) การกลั่นส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ประกอบรวมด้วย ตัวทำละลายสำหรับ การล้างนี้ และวนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการดูดซับ และบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก เมื่อบริเวณการล้างนี้เป็นคอลัมน์การล้างแบบกระแสทาวน หรือ (ii) นำส่วนของเหลวต้นกำเนิดนี้วน กลับเข้าไปให้แก่บริเวณการดูดซับ และบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก และส่วนของเหลว สำหรับการล้างเข้าไปในบริเวณการกลั่นตามขั้น (b) เมื่อบริเวณการล้างนี้เป็นเครื่องหมุนเหวี่ยง หรือ เครื่องกรองแบบหมุน 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลายอื่นที่ไม่ ใช่กระแสของเหลวของพาราไซลีนหลอมเหลวและตัวทำละลายดีซอร์พชัน, ซึ่งประกอบรวมด้วย การกลั่นกระแสของเหลวของพาราไซลีนหลอมเหลว เพื่อนำตัวทำละลายสำหรับการล้างกลับคืนมา ที่ด้านบนสุด และซึ่งตัวทำละลายที่กล่าวแล้วถูกนำวนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนในบริเวณการล้าง ของผลึก และการนำพาราไซลีนของเหลวที่มีความบริสุทธิ์สูงมากกลับคืนมาที่ด้านล่างสุด และ (i) การกลั่นและการนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ประกอบรวมด้วย ส่วนของเหลวสำหรับการล้างนี้ วนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการดูดซับและบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึกนี้ และซึ่งตัว ทำละลายที่กล่าวแล้วถูกนำวนกลับไปในบริเวณการล้าง เมื่อบริเวณการล้างนี้เป็นบริเวณการล้างแบบ กระแสทวนหรือ (ii) การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดนี้วนกลับเข้าไปสู่บริเวณการดูดซับและบางส่วน ที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก, การกลั่นและการนำส่วนของเหลวสำหรับการล้างวนกลับเข้าไป ให้แก่บริเวณการดูดซับ และบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึก และซึ่งนำตัวทำลายวน กลับเข้าไปให้แก่บริเวณการล้างเมื่อบริเวณการล้างนี้ เป็นเครื่องหมุนเหวี่ยงหรือเครื่องกรอบแบบหมุน 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติการตกผลึกครั้งที่หนึ่ง ของพาราไซลีนของขั้น (d) ในบริเวณการตกผลึกที่หนึ่งที่อุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึก พาราไซลีนครั้งที่หนึ่งในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งกลับคืนมา, การแยกผลึกของครั้งที่หนึ่งออก จากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งในบริเวณการแยกที่หนึ่ง, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่ง อย่างน้อยส่วนหนึ่งวนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการดูดซับ, การหลอมเหลวผลึกของครั้งที่หนึ่งที่แยก ออกมาให้สมบูรณ์ และการตกผลึกในบริเวณการตกผลึกที่สองที่อุณหภูมิ T2 ที่สูงกว่า T1, การนำสาร แขวนลอยของผลึกพาราไซลีนครั้งที่สองในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองกลับคืนมา, การแยกผลึก ของครั้งที่สองออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองในบริเวณการแยกที่สอง, การล้างผลึกของครั้งที่ สองด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้างในบริเวณการแยกที่สอง, การนำส่วนของเหลวสำหรับการล้าง กลับคืนมา, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองอย่างน้อยส่วนหนึ่ง และส่วนของเหลวสำหรับการ ล้างอย่างน้อยส่วนหนึ่งวนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และในส่วนที่เลือกได้ให้แก่ บริเวณการตกผลึกที่สอง และหลอมเหลวผลึกพาราไซลีนครั้งที่สองให้สมบูรณ์ เพื่อให้ได้กระแส ของเหลวของพาราไซลีนหลอมเหลว 2 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้ คือส่วนหนึ่งของกระแส ของเหลวของพาราไซลีนหลอมเหลว และส่วนของเหลวสำหรับการล้าง และส่วนของเหลวต้นกำเนิด ที่สองนี้เป็นส่วนของเหลวชนิดหนึ่ง หรือส่วนของเหลวชนิดเดียวกันที่ถูกนำวนกลับเข้าไปให้แก่ บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึกที่สอง 2 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้ เป็นตัวทำละลายกำจัด การดูด กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลว เพื่อ นำตัวทำละลายสำหรับการล้างกลับคืนมาในส่วนบนสุด ซึ่งตัวทำละลายที่กล่าวแล้วถูกนำวนกลับเข้า ไปในอย่างน้อยบางส่วนในบริเวณการแยกที่สอง และนำพาราไซลีนของเหลวที่มีความบริสุทธิ์สูงมาก ในส่วนล่างสุดกลับคืนมา และ (i) การกลั่นส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองที่มีส่วนของเหลวสำหรับ การล้างอยู่ด้วยนี้ก่อนนำวนกลับเข้าไปเมื่อบริเวณการแยกที่สองเป็นคอลัมน์การล้างแบบกระแสทวน หรือ (ii) การกลั่นส่วนของเหลวสำหรับการล้างนี้ก่อนนำวนกลับเข้าไปให้แก่หน่วยการตกผลึกที่หนึ่ง และ/หรือ ให้แก่หน่วยตกผลึกที่สองเมื่อบริเวณการแยกที่สองนี้เป็นเครื่องหมุนเหวี่ยง หรือเครื่อง กรองแบบหมุน 2 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลายอื่น ที่ไม่ใช่กระแสของพาราไซลีนหลอมเหลว และตัวทำละลายดีซอร์พชัน กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบ รวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลวที่มาจากสารแขวนลอยของผลึกของครั้งที่ สอง, การนำตัวทำละลายสำหรับการล้างกลับคืนมาในส่วนบนสุด ซึ่งตัวทำละลายที่กล่าวแล้วถูกนำ วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนในบริเวณการแยกที่สอง และการนำพาราไซลีนของเหลวที่มีความ บริสุทธิ์สูงมากในส่วนล่างสุดกลับคืนมา และ (i) การกลั่นส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ประกอบรวมด้วย ส่วนของเหลวสำหรับการล้างนี้ และการนำกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่งและบางส่วน ที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึกที่สอง เมื่อมีบริเวณการแยกที่สองนี้เป็นคอลัมน์แบบกระแสทวน หรือ (ii) การนำส่วนของเหลวนี้วนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่งและบางส่วนที่เลือกได้ ให้แก่บริเวณการตกผลึกที่สอง, และการกลั่นส่วนของเหลวสำหรับการล้างนี้ และการนำมันวนกลับ เข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และบางส่วนที่เลือกได้ให้แก่บริเวณการตกผลึกที่สอง เมื่อ บริเวณการแยกที่สองนี้เป็นเครื่องหมุนเหวี่ยงหรือเครื่องกรองแบบหมุน 2 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่ง (e) ประกอบรวมด้วยการปฏิบัติการตกผลึกครั้งที่หนึ่ง ของพาราไซลีนของขั้น (d) ในบริเวณการตกผลึกที่หนึ่งที่อุณหภูมิ T 1, การนำสารแขวนลอยของผลึก พาราไซลีนครั้งที่หนึ่งในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งกลับคืนมา, การแยกผลึกของครั้งที่หนึ่งออก จากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งในบริเวณการแยกที่หนึ่ง ซึ่งการล้างผลึกของครั้งที่หนึ่ง แบบที่ เลือกได้ด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้างในบริเวณการแยกที่หนึ่ง, การตกผลึกส่วนของเหลวต้นกำเนิด ที่หนึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งในบริเวณการตกผลึกที่สองที่อุณหภูมิ T2, ที่ต่ำกว่าอุณหภูมิ T1, การนำสาร แขวนลอยของผลึกพาราไซลีนครั้งที่สองในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองกลับคืนมา, การแยกผลึก ของครั้งที่สองออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองในบริเวณการแยกที่สอง, การล้างผลึกของครั้งที่ สองด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้างในบริเวณการแยกที่สอง, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สอง กลับคืนมา และซึ่งนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่กล่าวแล้ววนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนที่ให้แก่ บริเวณการดูดซับ, การผสมผลึกพาราไซลีนของครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สองเข้าด้วยกัน, การหลอมเหลว ผลึกที่กล่าวแล้วนี้ให้สมบูรณ์ และการนำกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลวนี้กลับคืนมา 2 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 25 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการดึงกระแสของพาราไซลีน หลอมเหลวอย่างน้อยส่วนหนึ่งออกไป และใช้ส่วนที่กล่าวแล้วเป็นตัวทำละลายสำหรับการล้างใน บริเวณการแยกที่หนึ่งและในบริเวณการแยกที่สอง 2 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 25 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลาย ดีซอร์พชัน กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลว, การนำส่วนบนสุดที่มีตัวทำละลายสำหรับการล้างอยู่ด้วยนี้ วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนที่ให้แก่ บริเวณการแยกที่หนึ่งและที่สอง และการนำส่วนล่างสุดที่มีพาราไซลีนของเหลวที่มีความบริสุทธิ์สูง มากกลับคืนมา 2 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่ง (e) ประกอบรวมด้วยการปฏิบัติการตกผลึกครั้งที่หนึ่ง ของพาราไซลีนของขั้น (d) และของผลึกหลอมเหลวที่นำวนกลับเข้าไปที่เลือกได้ซึ่งมาจากการ ตกผลึกที่สองในบริเวณการตกผลึกที่หนึ่งที่อุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึกพาราไซลีน ในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งกลับคืนมา , การแยกผลึกออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งใน บริเวณการแยกที่หนึ่ง, การล้างผลึกที่กล่าวแล้ว, การนำกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลวกลับคืนมา, การตกผลึกส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งในบริเวณการตกผลึกที่สองที่อุณหภูมิ T2 ที่ต่ำกว่าอุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึกพาราไซลีนของครั้งที่สอง ในส่วนของเหลว ต้นกำเนิดที่สองกลับคืนมา, การแยกผลึกของครั้งที่สองออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สอง ในบริเวณการแยกที่สอง, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สอง (87) กลับคืนมา และซึ่งการนำส่วน ของเหลวต้นกำเนิดที่สองที่กล่าวแล้ว วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนที่ให้แก่บริเวณการดูดซับนี้, การหลอมเหลวผลึกของครั้งที่สองที่เลือกได้ และการนำผลึกหลอมเหลวที่เลือกได้นี้ วนกลับเข้าไปให้ แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และการตกผลึกผลึกหลอมเหลวดังกล่าวนี้ใหม่พร้อมกับพาราไซลีน ของขั้น (d) ที่อุณหภูมิ T1 2 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่ง (e) ประกอบรวมด้วยการปฏิบัติการตกผลึกครั้งที่หนึ่ง ของพาราไซลีนของขั้นตอน (d) และของผลึกหลอมเหลวที่นำวนกลับเข้าไปที่แบบที่เลือกได้ ซึ่งมาจาก การตกผลึกที่สองในบริเวณการตกผลึกที่หนึ่งที่อุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึกพารา ไซลีนในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งกลับคืนมา , การแยกผลึกออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ หนึ่งในบริเวณการแยกที่หนึ่ง, การล้างผลึกที่กล่าวแล้ว, การหลอมเหลวผลึกเหล่านี้ และการนำกระแส ของพาราไซลีนหลอมเหลวกลับคืนมา, การตกผลึกส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่ง ในบริเวณการตกผลึกที่สองที่อุณหภูมิ T2 ที่ต่ำกว่าอุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึกพารา ไซลีนครั้งที่สองในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองกลับคืนมา, การแยกผลึกของครั้งที่สองออกจาก ส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองในบริเวณการแยกที่สอง, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองกลับคืน มา ซึ่งนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองที่กล่าวแล้ว วงกลับเข้าไปอีกอย่างส่วนที่ให้แก่ บริเวณการดูดซับ, การหลอมเหลวผลึกของครั้งที่สองบางส่วน, การนำสเลอร์รี่ของผลึกที่หลอมเหลว บางส่วน วนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และการตกผลึกสเลอร์รี่ที่กล่าวแล้วใหม่ พร้อมกับพาราไซลีนของขั้น (d) ที่อุณหภูมิ T1 3 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 28 ซึ่งใช้กระแสของพาราไซลีนหลอมเหลวที่มาจากบริเวณ การแยกที่หนึ่ง อย่างน้อยส่วนหนึ่งเป็นตัวทำละลายสำหรับการล้าง 3 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 28 ซึ่งมีตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลาย ดีซอร์พชันการดูด และซึ่งกลั่นกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลวที่มาจากบริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบรวมต่อไปด้วยการนำซึ่งเป็นตัวทำละลายสำหรับการล้างกลับคืนมาใน ส่วนบนสุดที่ตัวทำละลายที่กล่าวแล้วนำวนกลับเข้าไปอย่างน้อยในบริเวณการแยกที่หนึ่งและการนำ พาราไซลีน ของเหลวในส่วนล่างสุดกลับคืนมา 3 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่ง (e) ประกอบรวมด้วยการปฏิบัติการตกผลึกครั้งที่หนึ่ง ของพาราไซลีนของขั้น (d) ในบริเวณการตกผลึกที่หนึ่งที่อุณหภูมิ T1, การนำสารแขวนลอยของผลึก พาราไซลีนครั้งที่หนึ่งในส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งกลับคืนมา, การแยกผลึกของครั้งที่หนึ่งออก จากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่หนึ่งในบริเวณการแยกที่หนึ่ง, การตกผลึกส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ หนึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งในบริเวณการตกผลึกที่สองที่อุณหภูมิ T2 ที่ต่ำกว่า T1, การแยกผลึกของครั้งที่ สองออกจากส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองในบริเวณการแยกที่สอง, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิด ที่สองกลับคืนมา, การนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่สองดังกล่าว วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนที่ให้ แก่บริเวณการดูดซับ, การนำผลึกของครั้งที่หนึ่งและผลึกของครั้งที่สองกลับคืนมา และการล้างใน บริเวณการแยก และการล้างแบบกระแสทวนอย่างน้อย 1 บริเวณ ด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้าง ซึ่งการนำของเหลวสำหรับการล้างที่นำกลับคืนมา วนกลับเข้าไปอย่างน้อยในส่วนที่ให้แก่บริเวณ การตกผลึกที่หนึ่ง, การนำผลึกพาราไซลีนกลับคืนมา, การหลอมเหลวผลึกที่กล่าวแล้วอย่างสมบูรณ์ ในบริเวณการหลอมเหลว และรวบรวมกระแสของพาราไซลีนหลอมเหลว 3 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งดึงกระแสส่วนหนึ่งของพาราไซลีนหลอมเหลวออกไป และใช้เป็นตัวทำละลายสำหรับการล้าง 3 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งตัวทำละลายสำหรับการล้างนี้เป็นตัวทำละลาย ดีซอร์พชัน, กรรมวิธีที่กล่าวแล้วซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสของพาราไซลีน หลอมเหลว, การนำตัวทำละลายสำหรับการล้างที่รวบรวม วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนใน บริเวรการล้างนี้, การกลั่นส่วนของเหลวสำหรับการล้าง และการนำมันวนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณ การตกผลึกที่หนึ่ง และการนำตัวทำละลายสำหรับการล้างอย่างน้อยบางส่วนวนกลับเข้าไปในบริเวณ การล้างนี้ 3 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการนำส่วนของเหลวต้นกำเนิด ที่หนึ่งส่วนหนึ่งวนกลับเข้าไปให้แก่บริเวณการตกผลึกที่หนึ่ง และส่วนของเหลวที่สองส่วนหนึ่งให้ แก่บริเวณการตกผลึกที่สอง 3 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งบริเวณการแยกที่ซึ่งปฏิบัติการล้างผลึกนี้ ประกอบรวม ด้วยคอลัมน์การล้างแบบกระแสทวนอย่างน้อย 1 คอลัมน์ 3 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งบริเวณการแยกที่ซึ่งปฏิบัติการล้างผลึกนี้ ประกอบรวม ด้วยเครื่องหมุนเหวี่ยงอย่างน้อย 1 เครื่อง หรือเครื่องกรองแบบหมุนอย่างน้อย 1 เครื่อง 3 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งตัวทำละลายดีซอร์พชันที่กล่าวแล้วเป็นทอลูอีน กรรมวิธีที่กล่าวแล้วประกอบรวมต่อไปด้วยการทำให้ส่วนหนึ่งของสิ่งบรรจุนี้ไหลเวียนในคอลัมน์ การกลั่น เพื่อดึงทอลูอีนออกไปจากคอลัมน์นี้อย่างน้อยบางส่วน และบรรจุทอลูอีนที่กล่าวแล้วเป็น ส่วนเพิ่มเติมของตัวทำละลายดีซอร์พชัน 3 9. กรรมวิธีสำหรับแยกและนำพาราไซลีนกลับคืนมาจากสิ่งบรรจุที่มีพาราไซลีนและ เมทาไซลีนแบบที่เลือกได้อยู่ด้วย, ซึ่งกรรมวิธีนี้ประกอบรวมด้วยการปฏิบัติงานการดูดซับ และการ ปฏิบัติงานการตกผลึกรวมกัน, ซึ่งทำส่วนของเหลวต้นกำเนิดอย่างน้อยส่วนหนึ่ง ที่มาจากปฏิบัติงาน การตกผลึกนี้ให้บริสุทธิ์โดยการกลั่น ก่อนถูกนำวนกลับเข้าไปให้แก่ปฏบัติงานการดูดซับ 4 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 39 ซึ่งนอกเหนือจากการปฏิบัติงานการดูดซับและการตกผลึก แล้วยังประกอบรวมด้วยการปฏิบัติงานการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์รวมกันอยู่ด้วย ซึ่งไอโซเมอเรทนี้ อย่างน้อยส่วนหนึ่งและส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่กล่าวแล้วอย่างน้อยส่วนหนึ่งผ่านปฏิบัติงานการทำ ให้บริสุทธิ์พร้อมกันโดยการกลั่น 4
1. กรรมวิธีสำหรับแยกและนำพาราไซลีนที่มีอยู่ในสิ่งบรรจุของไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบ รวมด้วย C8-แอโรแมทิคไฮโดรคาร์บอนกลับคืนมา ซึ่งกรรมวิธีนี้ประกอบรวมด้วยขั้นต่าง ๆ ดังนี้: a) สัมผัสสิ่งบรรจุที่กล่าวแล้วที่มีเมทาไซลีน, พาราไซลีน และเอธิลเบนซีนที่เลือกได้ และ/หรือออร์โธไซลีนกับตัวดูดซับ โดยมีตัวทำละลายกำจัดการดูดซับอยู่ด้วยในบริเวณการดูดซับ อย่างน้อย 1 บริเวณ ภายใต้สภาวะของการดูดซับในลักษณะที่ทำให้ได้ส่วนที่หนึ่งที่มีตัวทำละลาย, เมทาไซลีนและเอธิลเบนซีนที่เลือกได้ และ/หรือออร์โธไซลีนอยู่ด้วย และส่วนที่สองซึ่งมีตัวทำละลาย และพาราไซลีนที่ทำให้เพิ่มขึ้นแล้ว โดยส่วนใหญ่เป็นสำคัญอยู่ด้วย; b) กลั่นส่วนที่หนึ่งนี้เพื่อแยกตัวทำละลายออก และของผสมของเมทาไซลีนและเอธิล เบนซีนที่เลือกได้ และ/หรือออร์โธไซลีนออก; c) เปลี่ยนของผสมของเมทาไซลีนและเอธิลเบนซีนที่เลือกได้ที่กล่าวแล้วให้เป็นไอโซเมอร์ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมในบริเวณการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์, การนำไอโซเมอเรทกลับคืนมา และซึ่ง นำไอโซเมอเรทที่กล่าวแล้ววนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนที่ให้แก่ขั้น (a); d) กลั่นส่วนที่สองนี้ และนำตัวทำละลายและพาราไซลีนที่ทำให้เพิ่มขึ้นโดยส่วนใหญ่ กลับคืนมา; e) ปฏิบัติการตกผลึกของพาราไซลีนของขั้น (d) ในบริเวณการตกผลึกอย่างน้อย 1 บริเวณ ที่อุณหภูมิสูง, การแยกส่วนของเหลวต้นกำเนิดและผลึกพาราไซลีนที่อิ่มตัวด้วยส่วนของเหลวต้น กำเนิด และการนำส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่กล่าวแล้ว วนกลับเข้าไปอย่างน้อยบางส่วนให้แก่ขั้น (a) และ; (f) ล้างผลึกพาราไซลีนนี้ด้วยตัวทำละลายสำหรับการล้างในบริเวณการล้างอย่างน้อย 1 บริเวณ และการนำผลึกพาราไซลีนกลับคืนมา ซึ่งบรรจุส่วนของเหลวต้นกำเนิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งเข้าไปในคอลัมน์การกลั่น , ได้ส่วนหนึ่ง ที่มีส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่ทำให้บริสุทธิ์แล้วที่มีตัวทำละลายน้อยลง และซึ่งนำเข้าไปในบริเวณ การดูดซับ 4
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 41 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการบรรจุส่วนของเหลวต้น กำเนิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งเข้าไปในคอลัมน์การกลั่นปลายทางจากบริเวณการเปลี่ยนเป็นไอโซเมอร์, การกลั่นไอโซเมอเรทและส่วนของเหลวต้นกำเนิด, ได้ส่วนบนสุดที่มีสารประกอบเบา และส่วนหนึ่ง ที่มีของผสมของส่วนของเหลวต้นกำเนิดที่กลั่นแล้วที่กล่าวแล้ว และไอโซเมอเรทที่กลั่นแล้ว และ นำส่วนที่กล่าวแล้ววนกลับเข้าไปในบริเวณการดูดซับ 4
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งตัวทำละลายดีซอร์พชันนี้เป็นทอลูอีน หรือ พาราไดเอธิลเบนซีน 4
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการผสมส่วนของเหลวต้นกำเนิด ส่วนหนึ่งเข้ากับกระแสปล่อยออกที่หนึ่งหรือที่สองของบริเวณปฏิบัติด้วยดิน และกระแสปล่อยออก ที่สาม 4
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วยการกลั่นกระแสปล่อยออก ที่หนึ่ง, ที่สอง หรือที่สาม ออกจากบริเวณปฏิบัติด้วยดินในคอลัมน์การกลั่นอย่างน้อย 1 คอลัมน์ ซึ่ง นำส่งส่วนล่างสุดที่มีสารประกอบหนักและส่วนบนสุด และการบรรจุส่วนบนสุดที่กล่าวแล้วเข้าไป ในบริเวณการดูดซับ 4
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 42 ซึ่งตัวทำละลายดีซอร์พชันเป็นทอลูอีน หรือ พาราไดเอธิลเบนซีน
TH9501003514A 1995-12-27 กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนการตกผนึกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการปฎิบัติด้วยอย่างน้อย 1 ครั้งที่ที่ปลายทางจากแถบการดูดซับ TH21473B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH20938B TH20938B (th) 1996-10-08
TH20938A true TH20938A (th) 1996-10-08
TH21473B TH21473B (th) 2007-03-01

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR100412313B1 (ko) 1이상단계의고온결정화및결정의부분용융에의한파라크실렌의제조방법
JP3955998B2 (ja) 高温での少なくとも2つの結晶化段階を含むパラキシレンの分離方法
TW200454B (th)
KR101453147B1 (ko) 파렉스 유닛 공급물
MXPA97004055A (en) Paraxylene separation procedure comprising at least two stages of avert temperat crystallization
JP2011530600A (ja) 溶融結晶化分離及び精製方法
JP3774851B2 (ja) 高温での少なくとも1つの結晶化段階と吸着帯域の上流に位置する少なくとも1つの白土処理工程とを備えるパラキシレンの分離方法
TH20938A (th) กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนการตกผนึกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการปฎิบัติด้วยอย่างน้อย 1 ครั้งที่ที่ปลายทางจากแถบการดูดซับ
TH21473B (th) กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยตัวอย่างเช่นขั้นตอนการตกผนึกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนที่อุณหภูมิสูงและการปฎิบัติด้วยอย่างน้อย 1 ครั้งที่ที่ปลายทางจากแถบการดูดซับ
MXPA97003673A (en) Procedure for the separation of paraxylene, which includes at least one stage of crystallization at high temperature and at least one treatment with clay located current up of the area of adsorc
US3544646A (en) Hydrocarbon separation via crystallization methods
JPS5853923B2 (ja) ニゲンダツチヤクザイソセイオヨビ ニゲンオンドニヨルブンリホウホウ
KR20070089147A (ko) 디메틸나프탈렌 이성체의 분리 방법
Hotier et al. Apparatus for the separation of p-xylene in C8 aromatics hydrocarbons with a simulated moving bed adsorption and a crystallisation
JPH0733689A (ja) メタキシレンの分離方法
JPH0776531A (ja) メタキシレンの分離法
JPS6289636A (ja) パラキシレンとエチルベンゼンの分離回収方法
JPS5965028A (ja) メチルナフタリン類の精製方法
TH43272B (th) กรรมวิธีสำหรับการผลิตพาราไซลีนที่ประกอบรวมด้วยการตกผลึกที่อุณหภูมิ-สูงด้วยอย่างน้อยหนึ่งขั้นตอน และการหลอมเหลวของผนึกบางส่วน
MXPA97005380A (en) Procedure for the production of paraxylene comprising a crystallization at high temperature at least one stage and a partial fusion of christ
TH20937A (th) กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยขั้นตอนการผนึกที่อุณหภูมิสูงอย่างน้อย 2 ครั้งที่
TH20482B (th) กรรมวิธีสำหรับการแยกพาราไซลีนที่ประกอบด้วยขั้นตอนการผนึกที่อุณหภูมิสูงอย่างน้อย 2 ครั้งที่
TH25926A (th) กรรมวิธีสำหรับการผลิตพาราไซลีนที่ประกอบรวมด้วยการตกผลึกที่อุณหภูมิ-สูงด้วยอย่างน้อยหนึ่งขั้นตอน และการหลอมเหลวของผนึกบางส่วน