TH16869B - กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก - Google Patents
กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอกInfo
- Publication number
- TH16869B TH16869B TH1703002581U TH1703002581U TH16869B TH 16869 B TH16869 B TH 16869B TH 1703002581 U TH1703002581 U TH 1703002581U TH 1703002581 U TH1703002581 U TH 1703002581U TH 16869 B TH16869 B TH 16869B
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- phaya
- extract
- yor
- volume
- ethanol
- Prior art date
Links
- 239000000284 extract Substances 0.000 title claims abstract 95
- 239000000126 substance Substances 0.000 title claims abstract 26
- 239000000203 mixture Substances 0.000 title claims abstract 21
- 238000000034 method Methods 0.000 title claims abstract 13
- 239000007921 spray Substances 0.000 title claims abstract 7
- 210000003800 Pharynx Anatomy 0.000 title claims abstract 5
- LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N ethanol Chemical compound CCO LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 56
- 238000000605 extraction Methods 0.000 claims abstract 20
- XLYOFNOQVPJJNP-UHFFFAOYSA-N water Substances O XLYOFNOQVPJJNP-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 18
- 239000000843 powder Substances 0.000 claims abstract 14
- 238000002360 preparation method Methods 0.000 claims abstract 10
- PEDCQBHIVMGVHV-UHFFFAOYSA-N glycerine Chemical compound OCC(O)CO PEDCQBHIVMGVHV-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 9
- 235000011187 glycerol Nutrition 0.000 claims abstract 9
- 239000000341 volatile oil Substances 0.000 claims abstract 7
- 239000000654 additive Substances 0.000 claims abstract 6
- 239000012153 distilled water Substances 0.000 claims abstract 6
- DNIAPMSPPWPWGF-UHFFFAOYSA-N propylene glycol Chemical compound CC(O)CO DNIAPMSPPWPWGF-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 6
- 229920002134 Carboxymethyl cellulose Polymers 0.000 claims abstract 3
- 230000000996 additive Effects 0.000 claims abstract 3
- 239000001768 carboxy methyl cellulose Substances 0.000 claims abstract 3
- 235000010948 carboxy methyl cellulose Nutrition 0.000 claims abstract 3
- 239000008112 carboxymethyl-cellulose Substances 0.000 claims abstract 3
- 238000005507 spraying Methods 0.000 claims abstract 3
- 235000020357 syrup Nutrition 0.000 claims abstract 3
- 239000006188 syrup Substances 0.000 claims abstract 3
- 239000000230 xanthan gum Substances 0.000 claims abstract 3
- 235000010493 xanthan gum Nutrition 0.000 claims abstract 3
- 229920001285 xanthan gum Polymers 0.000 claims abstract 3
- 229940082509 xanthan gum Drugs 0.000 claims abstract 3
- OKKJLVBELUTLKV-UHFFFAOYSA-N methanol Chemical compound OC OKKJLVBELUTLKV-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 36
- VLKZOEOYAKHREP-UHFFFAOYSA-N hexane Chemical compound CCCCCC VLKZOEOYAKHREP-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 12
- 239000002904 solvent Substances 0.000 claims 9
- 239000008079 hexane Substances 0.000 claims 6
- 239000007788 liquid Substances 0.000 claims 6
- 238000004821 distillation Methods 0.000 claims 5
- 238000004108 freeze drying Methods 0.000 claims 5
- 239000007791 liquid phase Substances 0.000 claims 4
- 239000002274 desiccant Substances 0.000 claims 3
- IDGUHHHQCWSQLU-UHFFFAOYSA-N ethanol;hydrate Chemical compound O.CCO IDGUHHHQCWSQLU-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 3
- 238000001704 evaporation Methods 0.000 claims 3
- 230000003203 everyday Effects 0.000 claims 3
- 230000014759 maintenance of location Effects 0.000 claims 3
- 239000000401 methanolic extract Substances 0.000 claims 3
- 239000011148 porous material Substances 0.000 claims 3
- 238000003756 stirring Methods 0.000 claims 3
- 238000003379 elimination reaction Methods 0.000 claims 2
- 241000143437 Aciculosporium take Species 0.000 claims 1
- 241000208317 Petroselinum Species 0.000 claims 1
- CVHZOJJKTDOEJC-UHFFFAOYSA-N Saccharin Chemical compound C1=CC=C2C(=O)NS(=O)(=O)C2=C1 CVHZOJJKTDOEJC-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 1
- HEBKCHPVOIAQTA-SCDXWVJYSA-N Xylitol Chemical compound OC[C@H](O)[C@@H](O)[C@H](O)CO HEBKCHPVOIAQTA-SCDXWVJYSA-N 0.000 claims 1
- 229960002675 Xylitol Drugs 0.000 claims 1
- 238000001035 drying Methods 0.000 claims 1
- 239000003966 growth inhibitor Substances 0.000 claims 1
- 230000000813 microbial Effects 0.000 claims 1
- 235000011197 perejil Nutrition 0.000 claims 1
- 238000000926 separation method Methods 0.000 claims 1
- 239000000811 xylitol Substances 0.000 claims 1
- 235000010447 xylitol Nutrition 0.000 claims 1
- 239000003086 colorant Substances 0.000 abstract 5
- 230000003749 cleanliness Effects 0.000 abstract 3
- 239000003814 drug Substances 0.000 abstract 3
- 230000000694 effects Effects 0.000 abstract 3
- 210000000214 Mouth Anatomy 0.000 abstract 2
- 235000003599 food sweetener Nutrition 0.000 abstract 2
- 239000003112 inhibitor Substances 0.000 abstract 2
- 230000002401 inhibitory effect Effects 0.000 abstract 2
- 244000005700 microbiome Species 0.000 abstract 2
- 235000013772 propylene glycol Nutrition 0.000 abstract 2
- 239000003765 sweetening agent Substances 0.000 abstract 2
- 241000123852 Clinacanthus nutans Species 0.000 abstract 1
- 210000003491 Skin Anatomy 0.000 abstract 1
Abstract
------19/03/2562------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เปิดเผยกรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ (The extraction process ofcomposition and bioactivity of Ciinacanthus nutans Lindau) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารสกัด (หรือความสะอาดของสารสกัดตามแผนยาไทยโบราณ) ที่ประกอบด้วยสารสำคัญลดปริมาณของสารให้สี (Colorant) ในสารสกัดเพื่อความสะดวกในการเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ในอนาคต กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ การสกัดผงใบพญายอด้วยเอทานอลการขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัด และการเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง รวมถึงการประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ การประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ ประกอบด้วย สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปากที่มีฤทธิ์สมานแผล มีลักษณะเป็นเจลพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง โพรพีลีน ไกลคอล กลีเซอรีน คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส แซนแธน กัม สารเติมแต่ง และนํ้า โดยสารเติมแต่งเลือกได้จาก สารให้ความหวาน สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ สารแต่งกลิ่น สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นคอภายในช่องปาก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน น้ำเชื่อมนํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอกประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ------------ ------30/08/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เปิดเผยกรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ (The extraction process of composition and bioactivity of Clinacanthus nutans Lindau) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและความ บริสุทธิ์ของสารสกัด (หรือความสะอาดของสารสกัดตามแผนยาไทยโบราณ) ที่ประกอบด้วยสารสำคัญ ลดปริมาณของสารให้สี (Colorant) ในสารสกัดเพื่อความสะดวกในการเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ในอนาคต กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ การสกัดผงใบพญายอด้วยเอทานอล การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัด และการเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง รวมถึงการประยุกต์ใช้สาร สกัดพญายอนี้ การประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ ประกอบด้วย สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ใน ช่องปากที่มีฤทธิ์สมานแผล มีลักษณะเป็นเจลพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง โพรพี ลีน ไกลคอล กลีเซอรีน คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส แซนแธน กัม สารเติมแต่ง และน้ำ โดยสารเติมแต่ง เลือกได้จาก สารให้ความหวาน สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ สารแต่งกลิ่น สารผสมสาร สกัดพญายอสำหรับพ่นคอภายในช่องปาก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้าเชื่อม นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ------------ หน้าที่ 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เปิดเผยกรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ (The extraction process of composition and bioactivity of Ciinocanthus nutans Lindau) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและความ บริสุทธิ์ของสารสกัด (หรือความสะอาดของสาสกัดตามแผนยาไทยโบราณ) ที่ประกอบด้วยสารสำคัญ ลด ปริมาณของสารให้สี (Colorant) ในสารสกัดเพื่อความสะดวกในการเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ไนอนาคต กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ การสกัดผงใบพญายอด้วยเอทานอล การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัด และการเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง รวมถึงการประยุกต์ใช้สาร สกัดพญายอนี้ การประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ ประกอบด้วย สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ใน ช่องปากที่มีฤทธิ์สมานแผล มีลักษณะเป็นเจลพร้อมใช้งาน สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นคอ ภายในช่องปาก สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอก
Claims (9)
1. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ ก. การสกัดใบพญายอด้วยเอทานอล โดยนำใบพญายอที่ผ่านการอบแห้งจนมีความชื้นร้อยละ 2 ถึง 10 นำมาปั่นเป็นผงละเอียดด้วยเครื่องปั่น จนได้ผงใบพญายอบดละเอียดขนาด 60 ถึง 1000 ไมโครเมตร ข. นำผงใบพญายอแห้งสกัดด้วยสารละลายเอทานอล-น้ำ มีเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 70 ถึง 95 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ในอัตราส่วนโดยน้ำหนักผงใบพญายอแห้งต่อปริมาตรเอทานอลเป็น 2 ถึง 4 ต่อ 10 ในภาชนะสกัดสาร แช่ไว้เป็นเวลา 2 ถึง 7 วัน ในสภาวะการสกัดที่ไม่มีแสง ณ อุณหภูมิห้อง ทำการกวนให้เข้ากันทุกวัน ค. นำสารผสมที่ได้ตามข้อ ข. มากรองแยกส่วนสารละลายสารสกัด ออกจากกากผงใบพญายอ โดยผ่านกระดาษกรองที่มีขนาดของรูพรุนที่ 2.5 ถึง 25 ไมโครเมตร ง. นำสารสกัดไประเหยเอทานอลออกโดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดันสุญญากาศ จนเหลือ ของเหลวที่มีปริมาตรร้อยละ 5 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ข. จ. การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัดใบพญายอ ด้วยวิธีการสกัดด้วยวัฏภาคของเหลว โดยนำ สารสกัดจากใบพญายอที่ระเหยเอทานอลออกแล้ว มาละลายด้วยตัวทำละลายเมทานอล จนมี ความเข้มข้นของเมทานอลร้อยละ 40 ถึง 60 โดยปริมาตรต่อปริมาตร จากนั้นเติมสารสกัดลงใน กรวยแยก ฉ. เติมตัวทำละลายเฮกเซนลงไปในสารละลายในข้อ จ. ในปริมาตรเท่ากับสารละลายสารสกัดใน เมทานอล เขย่าให้เข้ากัน 5 ถึง 10 นาที เพื่อให้เฮกเซนชะสารสีเขียวออกจากชั้นเมทานอล ตั้ง ทิ้งไว้ 10 ถึง 15 นาที เพื่อให้สารละลายแยกชั้นออกจากกัน เก็บสารละลายในชั้นของเมทานอล ซึ่งสารสกัดละลายอยู่ ช. นำชั้นตัวทำละลายเมทานอล มาระเหยเมทานอลออก โดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดัน สุญญากาศ จนเหลือของเหลวร้อยละ 40 ถึง 60 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ จ. ซึ่งจะได้ สารละลายสารสกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ซ. นำสารละลายสารสกัดในข้อ ช. มาทำละลายด้วยเอทานอล มาผสมให้เข้ากัน จนได้ใน สารละลายที่มีความเข้มข้นของเอทานอลอยู่ร้อยละ 70 ถึง 90 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ฌ. นำสารละลายสารสกัดที่ได้ในข้อ ซ. มาระเหยเอทานอลออกภายใต้ความดันสุญญากาศ จนได้ สารสกัดที่มีปริมาตรร้อยละ 10 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ซ. ซึ่งจะได้สารละลายสาร หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า สกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ซึ่งขั้นตอนที่ ซ. ถึง ฌ. สามารถทำได้มากกว่าหนึ่งครั้ง ได้ สารสกัดใบพญายอและน้ำ ญ. การเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง โดยนำสารละลายของสารสกัดใบพญายอ จากขั้นตอน ฌ. ไประเหยน้ำออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ได้ผลิตภัณฑ์สารสกัดใบพญายอแห้ง
2. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ประกอบด้วยเพิ่มเติมด้วยขั้นตอน ก. การยืดระยะเวลาเก็บรักษา การคงที่ของสารสกัด โดยการทำให้แข็งและละลาย นำสารสกัดใบ พญายอแห้งมาละลายนั้า นำไประเหยน้ำออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแซ่เยือกแข็ง จนได้ สารสกัดแห้ง ข. นำตัวอย่างสารสกัดใบพญายอแห้งไดไปอบฆ่าเชื้อ จากนั้นนำมาเก็บรักษาในตู้ดูดความชื้นที่ อุณหภูมิห้อง ------------ ------30/08/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ ก. การสกัดใบพญายอด้วยเอทานอล โดยนำใบพญายอที่ผ่านการอบแห้งจนมีความชื้นประมาณ ร้อยละ 2 ถึง 10 นำมาปั่นเป็นผงละเอียดด้วยเครื่องปั่น จนได้ผงใบพญายอบดละเอียดขนาด ประมาณ 60 ถึง 1000 ไมโครเมตร ข. นำผงใบพญายอแห้งสกัดด้วยสารละลายเอทานอล-น้ำ มีเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 70 ถึง 95 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ในอัตราส่วนโดยน้ำหนักผงใบพญายอแห้งต่อปริมาตรเอทานอลเป็น 2 ถึง 4 ต่อ 10 ในภาชนะสกัดสาร แช่ไว้เป็นเวลา 2 ถึง 7 วัน ในสภาวะการสกัดที่ไม่มีแสง ณ อุณหภูมิห้อง ทำการกวนให้เข้ากันทุกวัน ค. นำสารผสมที่ได้ตามข้อ ข. มากรองแยกส่วนสารละลายสารสกัด ออกจากกากผงใบพญายอ โดยผ่านกระดาษกรองที่มีขนาดของรูพรุนที่ 2.5 ถึง 25 ไมโครเมตร ง. นำสารสกัดไประเหยเอทานอลออกโดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดันสุญญากาศ จนเหลือ ของเหลวที่มีปริมาตรร้อยละ 5 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ข. จ. การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัดใบพญายอ ด้วยวิธีการสกัดด้วยวัฏภาคของเหลว โดยนำ สารสกัดจากใบพญายอที่ระเหยเอทานอลออกแล้ว มาละลายด้วยตัวทำละลายเมทานอล จนมี ความเข้มข้นของเมทานอลร้อยละ 40 ถึง 60 โดยปริมาตรต่อปริมาตร จากนั้นเติมสารสกัดลงใน กรวยแยก ฉ. เติมตัวทำละลายเฮกเซนลงไปในสารละลายในข้อ จ. ในปริมาตรเท่ากับสารละลายสารสกัดใน เมทานอล เขย่าให้เข้ากัน 5 ถึง 10 นาที เพื่อให้เฮกเซนชะสารสีเขียวออกจากชั้นเมทานอล ตั้ง ทิ้งไว้ 10 ถึง 15 นาที เพื่อให้สารละลายแยกชั้นออกจากกัน เก็บสารละลายในชั้นของเมทานอล ซึ่งสารสกัดละลายอยู่ ช. นำชั้นตัวทำละลายเมทานอล มาระเหยเมทานอลออก โดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดัน สุญญากาศ จนเหลือของเหลวร้อยละ 40 ถึง 60 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ จ. ซึ่งจะได้ สารละลายสารสกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ซ. นำสารละลายสารสกัดในข้อ ช. มาทำละลายด้วยเอทานอล มาผสมให้เข้ากัน จนได้ใน สารละลายที่มีความเข้มข้นของเอทานอลอยู่ร้อยละ 70 ถึง 90 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ฌ. นำสารละลายสารสกัดที่ได้ในข้อ ซ. มาระเหยเอทานอลออกภายใต้ความดันสุญญากาศ จนได้ สารสกัดที่มีปริมาตรร้อยละ 10 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ซ. ซึ่งจะได้สารละลายสาร หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า สกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ซึ่งขั้นตอนที่ ซ. ถึง ฌ. สามารถทำได้มากกว่าหนึ่งครั้ง ได้ สารสกัดใบพญายอและน้ำ ญ. การเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง โดยนำสารละลายของสารสกัดใบพญายอ จากขั้นตอน ฌ. ไประเหยน้ำออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ได้ผลิตภัณฑ์สารสกัดใบพญายอแห้ง
2. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ประกอบด้วยเพิ่มเติมด้วยขั้นตอน ก. การยืดระยะเวลาเก็บรักษา การคงที่ของสารสกัด โดยการทำให้แข็งและละลาย นำสารสกัดใบ พญายอแห้งมาละลายน้ำ นำไประเหยน้ำออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง จนได้ สารสกัดแห้ง ข. นำตัวอย่างสารสกัดใบพญายอแห้งได้ไปอบฆ่าเชื้อ จากนั้นนำมาเก็บรักษาในตู้ดูดความชื้นที่ อุณหภูมิห้อง ------------ หน้าที่ 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ ก. การสกัดใบพญายอด้วยเอทานอล ข. การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัดใบพญายอ ด้วยวิธีการสกัดด้วยวัฏภาคของเหลว ค. การเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง
2. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง การสกัดใบพญายอด้วยเอทานอล มี ขั้นตอนดังนี้ ก. นำใบพญายอที่ผ่านการอบแห้งจนมีความชื้นประมาณร้อยละ 2 ถึง 10 นำมาปั่นเป็นผงละเอียด ด้วยเครื่องปั่น จนได้ผงใบพญายอบดละเอียดขนาดประมาณ 60 ถึง 1000 ไมโครเมตร ข. นำผงใบพญายอแห้งสกัดด้วยสารละลายเอทานอล-น้ำ มีเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 70 ถึง 95 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ในอัตราส่วนโดยน้ำหนักผงใบพญายอแห้งต่อปริมาตรเอทานอลเป็น 2 ถึง 4 ต่อ 10 ในภาชนะสกัดสาร แช่ไว้เป็นเวลา 2 ถึง 7 วัน ในสภาวะการสกัดที่ไม่มีแสง ณ อุณหภูมิห้อง ทำการกวนให้เข้ากันทุกวัน ค. นำสารผสมที่ได้ตามข้อ ข. มากรองแยกส่วนสารละลายสารสกัด ออกจากกากผงใบพญายอ โดย ผ่านกระดาษกรองที่มีขนาดของรูพรุนที่ 2.5 ถึง 25 ไมโครเมตร ง. นำสารสกัดไประเหยเอทานอลออกโดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดันสุญญากาศ จนเหลือ ของเหลวที่มีปริมาตรร้อยละ 5 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ข.
3. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง การขจัดสารสีเขียวออกจาก สารสกัดใบพญายอ ด้วยวิธีการสกัดด้วยวัฏภาคของเหลว มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำสารสกัดจากใบพญายอที่ระเหยเอทานอลออกแล้ว มาละลายด้วยตัวทำละลายเมทานอล จน มีความเข้มข้นของเมทานอลร้อยละ 40 ถึง 60 โดยปริมาตรต่อปริมาตร จากนั้นเติมสารสกัดลง ในกรวยแยก ข. เติมตัวทำละลายเฮกเซนลงไปในสารละลายในข้อ ก. ในปริมาตรเท่ากับสารละลายสารสกัดใน เมทานอล เขย่าให้เข้ากัน 5 ถึง 10 นาที เพื่อให้เฮกเซนชะสารสีเขียวออกจากขั้นเมทานอล ตั้ง ทิ้งไว้ 10 ถึง 15 นาที เพื่อให้สารละลายแยกขั้นออกจากกัน เก็บสารละลายในขั้นของเมทานอล ซึ่งสารสกัดละลายอยู่ หน้าที่ 2 ของจำนวน 3 หน้า ค. นำชั้นตัวทำละลายเมทานอล มาระเหยเมทานอลออก โดยใช้การกลั่นระเหยภายใต้ความดัน สุญญากาศ จนเหลือของเหลวร้อยละ 40 ถึง 60 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ก. ซึ่งจะได้ สารละลายสารสกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ง. นำสารละลายสารสกัดในข้อ ค. มาทำละลายด้วยเอทานอล มาผสมให้เข้ากัน จนได้ใน สารละลายที่มีความเข้มข้นของเอทานอลอยู่ร้อยละ 70 ถึง 90 โดยปริมาตรต่อปริมาตร จ. นำสารละลายสารสกัดที่ได้ในข้อ ง. มาระเหยเอทานอลออกภายใต้ความดันสุญญากาศ จนได้ สารสกัดที่มีปริมาตรร้อยละ 10 ถึง 30 จากปริมาตรเริ่มต้นในข้อ ง. ซึ่งจะได้สารละลายสาร สกัดจากใบพญายอที่ละลายอยู่ในน้ำ ซึ่งขั้นตอนที่ ง. ถึง จ. สามารถทำได้มากกว่าหนึ่งครั้ง ได้ สารสกัดใบพญายอและน้ำ 4.กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง การเตรียมสาร สกัดใบพญายอแห้ง โดยนำสารละลายของสารสกัดใบพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่
3. จ. ไประเหยน้ำ ออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ได้ผลิตภัณฑ์สารสกัดใบพญายอแห้ง
5. กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ ตามข้อถือสิทธิที่ 4 ที่ซึ่ง ประกอบด้วยเพิ่มเติมด้วยขั้นตอน ก. การยืดระยะเวลาเก็บรักษา การคงที่ของสารสกัด โดยการทำให้แข็งและละลาย นำสารสกัดใบ พญายอแห้งมาละลายน้ำ นำไประเหยน้ำออกจนแห้ง ด้วยการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง จนได้ สารสกัดแห้ง ข. นำตัวอย่างสารสกัดใบพญายอแห้งได้ไปอบฆ่าเชื้อ จากนั้นนำมาเก็บรักษาในตู้ดูดความชื้นที่ อุณหภูมิห้อง
6. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ที่ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง ร้อยละ 0.5 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก โพรพีลีน ไกลคอล ร้อยละ 5 ถึง 15 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก กลีเซอรีน ร้อยละ 15 ถึง 25 โดยนำหนัก/น้ำหนัก คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส ร้อยละ 1 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก แซนแธน กัม ร้อยละ 1 ถึง 3 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก สารเติมแต่ง ร้อยละ 0.01 ถึง 1.7 โดยนั้าหนัก/น้ำหนัก น้ำ ร้อยละ 60 ถึง 77 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก หน้าที่ 3 ของจำนวน 3 หน้า
7. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช่ในช่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 6 สารเติมแต่งเลือกได้จาก หรือ ประกอบรวมด้วย โซเดียม แซคคารีน ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ ไซลิทอล ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ น้ำมันหอมระเหย ร้อยละ 0.5 ถึง 1.5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก
8. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นคอภายในช่องปาก ที่ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง ปริมาณ 0.5 ถึง 4 กรัม กลีเซอรีน ปริมาณ 10 ถึง 30 มิลลิลิตร น้ำเชื่อม ปริมาณ 10 ถึง 50 ไมโครลิตร น้ำมันหอมระเหย ปริมาณ 0.5 ถึง 2 มิลลิลิตร น้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ เติมจนมีปริมาตรครบ 100 มิลลิลิตร
9. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอก ที่ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง ปริมาณ 0.5 ถึง 4 กรัม กลีเซอรีน ปริมาณ 10 ถึง 30 มิลลิลิตร น้ำมันหอมระเหย ปริมาณ 0.5 - 2 มิลลิลิตร น้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ เติมจนมีปริมาตรครบ 100 มิลลิลิตร
Publications (1)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH16869B true TH16869B (th) | 2020-10-22 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
CN104140889B (zh) | 一种玫瑰净油的制备方法 | |
ES2769627T3 (es) | Extracción sólida/líquida | |
JP5602346B2 (ja) | ユーカリ抽出物の調製方法 | |
CN104585859A (zh) | 一种电子烟烟液的制备方法 | |
KR20090034401A (ko) | 유칼립투스 추출물, 그 제조 방법 및 치료적 용도 | |
CN105288688A (zh) | 一种含有植物精油提取物的车用芳香剂 | |
CN111184785A (zh) | 从玫瑰花中提取黄酮类物质的方法 | |
TH16869B (th) | กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก | |
CN108997513A (zh) | 改性环糊精及其应用 | |
JP6821210B1 (ja) | のどスプレー剤 | |
JP4268905B2 (ja) | フラバノン化合物の製造方法 | |
JP6527220B1 (ja) | ヤナギタデ抽出物及びその製造方法 | |
CN106659744A (zh) | 基质金属蛋白酶(mmp)抑制性提取物及其使用方法 | |
TH16867B (th) | กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก | |
Rahman et al. | Anti-Inflammatory and Analgesic Activities of Ethanolic Extract of Glochidion Thomsonii (BARK) | |
CN103750540B (zh) | 一种消炎抗菌型烟草口腔喷剂及其制备方法 | |
TH16868B (th) | กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก | |
EP3130655A1 (en) | Process for isolation of odoriferous agents | |
JP2012512813A (ja) | 炮製処理された甘菊及び陳皮の抽出物を含有する抗酸化用化粧料組成物 | |
JP4397743B2 (ja) | 抗酸化剤 | |
EP1253927B1 (fr) | Procede de preparation d'extraits vegetaux, extraits ainsi obtenus et leurs utilisations | |
JPS62228230A (ja) | 抗菌作用の増強されたかりんエキスを配合した菓子類 | |
TH22732U (th) | กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดสารฟินอลิกที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงจากกล้วยไม้ลูกผสม | |
RU2289418C2 (ru) | Средство для лечения и профилактики гельминтозов желудочно-кишечного тракта овец | |
TH17887A3 (th) | ผลิตภัณฑ์บรรเทาอาการปวดจากสารสกัดลูกใต้ใบและกรรมวิธีการผลิต |