TH16868B - กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก - Google Patents

กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก

Info

Publication number
TH16868B
TH16868B TH1803001955U TH1803001955U TH16868B TH 16868 B TH16868 B TH 16868B TH 1803001955 U TH1803001955 U TH 1803001955U TH 1803001955 U TH1803001955 U TH 1803001955U TH 16868 B TH16868 B TH 16868B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
extract
phaya
yor
phaya yor
weight
Prior art date
Application number
TH1803001955U
Other languages
English (en)
Inventor
ดร.หม่อมหลวงธีรธวัช ศรีธวัช ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Original Assignee
นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย
นางสาวพลอยพรรณ จิตรแจ้ง
นางสาวขนิษฐา อนุสนธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย, นางสาวพลอยพรรณ จิตรแจ้ง, นางสาวขนิษฐา อนุสนธิ์ filed Critical นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย
Publication of TH16868B publication Critical patent/TH16868B/th

Links

Abstract

------19/03/2562------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เปิดเผยกรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ (The extraction process ofcomposition and bioactivity of Ciinacanthus nutans Lindau) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารสกัด (หรือความสะอาดของสารสกัดตามแผนยาไทยโบราณ) ที่ประกอบด้วยสารสำคัญลดปริมาณของสารให้สี (Colorant) ในสารสกัดเพื่อความสะดวกในการเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ในอนาคต กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ การสกัดผงใบพญายอด้วยเอทานอลการขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัด และการเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง รวมถึงการประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ การประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ ประกอบด้วย สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปากที่มีฤทธิ์สมานแผล มีลักษณะเป็นเจลพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง โพรพีลีน ไกลคอล กลีเซอรีน คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส แซนแธน กัม สารเติมแต่ง และนํ้าโดยสารเติมแต่งเลือกได้จาก สารให้ความหวาน สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ สารแต่งกลิ่น สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นคอภายในช่องปาก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้าเชื่อมนํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอกประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เปิดเผยกรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ (The extraction process of composition and bioactivity of Clinoconthus nutons Lindau) เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและความ บริสุทธิ์ของสารสกัด (หรือความสะอาดของสารสกัดตามแผนยาไทยโบราณ) ที่ประกอบด้วยสารสำคัญ ลดปริมาณของสารให้สี (Colorant) ในสารสกัดเพื่อความสะดวกในการเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ในอนาคต กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ มีขั้นตอนดังนี้ การสกัดผงใบพญายอด้วยเอทานอล การขจัดสารสีเขียวออกจากสารสกัด และการเตรียมสารสกัดใบพญายอแห้ง รวมถึงการประยุกต์ใช้สาร สกัดพญายอนี้ การประยุกต์ใช้สารสกัดพญายอนี้ ประกอบด้วย สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ใน ช่องปากที่มีฤทธิ์สมานแผล มีลักษณะเป็นเจลพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง โพรพี ลีน ไกลคอล กลีเซอรีนคาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส แซนแธน กัม สารเติมแต่ง และนํ้าโดยสารเติมแต่ง เลือกได้จาก สารให้ความหวาน สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ สารแต่งกลิ่น สารผสมสาร สกัดพญายอสำหรับพ่นคอภายในช่องปาก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้าเชื่อม นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับพ่นผิวภายนอก ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง กลีเซอรีน นํ้ามันหอมระเหย และนํ้ากลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------19/03/2562------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ที่ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง ร้อยละ 0.5 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก โพรพีลีน ไกลคอล ร้อยละ 5 ถึง 15 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก กลีเซอรีน ร้อยละ 15 ถึง 25 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส ร้อยละ 1 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก แซนแธน กัม ร้อยละ 1 ถึง 3 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก สารเติมแต่ง ร้อยละ 0.01 ถึง 3.15 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก น้ำ ร้อยละ 60 ถึง 77 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก
2. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใฃในซ่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สารเติมแต่งเลือกได้จาก ประกอบรวมด้วย โซเดียม แซคคาริน ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ ไซสิทอล ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ น้ำมันหอมระเหย ร้อยละ 0.5 ถึง 3 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเขื้อจุสินทรีย์ ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก
3. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใข้ในซ่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่ง ปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่ เหมาะสมกว่าคือร้อยละ 0.5 ถึง 1.5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก 4. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใขในซ่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 2 หรือ 3 ที่ซึ่ง น้ำมันหอมระเหย ได้แก่ น้ำมันหอมระเหยกลิ่นมะลิ 5. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใฃในซ่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง สารยับยั้ง การเจริญเติบโตของเชื้อจุสินทรืย์ ได้แก่ เมธิล พาราเบน ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ที่ประกอบด้วย สารสกัดใบพญายอแห้ง ร้อยละ 0.5 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก โพรพีลีน ไกลคอล ร้อยละ 5 ถึง 15 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก กลีเซอรีน ร้อยละ 15 ถึง 25 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก คาร์บ็อกซีเมธิลเซลลูโลส ร้อยละ 1 ถึง 5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก แซนแธน กัม ร้อยละ 1 ถึง 3 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก สารเติมแต่ง ร้อยละ 0.01 ถึง 3.15 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก น้ำ ร้อยละ 60 ถึง 77 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก 2. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สารเติมแต่งเลือกได้จาก ประกอบรวมด้วย โซเดียม แซคคารีน ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ ไซลิทอล ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ น้ำมันหอมระเหย ร้อยละ 0.5 ถึง 3 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก และ/หรือ สารยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ร้อยละ 0.01 ถึง 0.05 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก 3.สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่ง ปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่ เหมาะสมกว่าคือร้อยละ 0.5 ถึง 1.5 โดยน้ำหนัก/น้ำหนัก
4. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 2 หรือ 3 ที่ซึ่ง น้ำมันหอมระเหย ได้แก่ น้ำมันหอมระเหยกลิ่นมะลิ
5. สารผสมสารสกัดพญายอสำหรับใช้ในช่องปาก ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง สารยับยั้ง การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ได้แก่ เมธิล พาราเบน
TH1803001955U 2017-12-26 กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก TH16868B (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH16868B true TH16868B (th) 2020-10-22

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
ES2206195T3 (es) Productos farmaceuticos, suplementos alimentarios y composiciones cosmeticas que comprenden un acido graso y jengibre.
RU2016141135A (ru) Трансдермальный крем
RU2008129785A (ru) Придание вкуса эфирным маслам с помощью гидроколлоида
RS53689B1 (en) LIQUID FORMULATION OF DEFERIPRON WITH FAVORABLE TASTE
WO2017219835A1 (zh) 抗菌消炎漱口水
CN104856898A (zh) 一种含有蔓荆子成分的牙膏
Chandak et al. Current concepts about areca nut chewing
JP2008231031A (ja) デヒドロエピアンドロステロン産生促進剤およびその用途
TH16868B (th) กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก
KR102221423B1 (ko) 구취 억제 및 구강 위생 증진용 구강청결제 조성물
KR101782858B1 (ko) 약용식물 추출물을 함유하는 치약 조성물 및 그 제조방법
TH16867B (th) กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก
CN106581303A (zh) 一种防止反复性口腔溃疡的漱口水
WO2017219579A1 (zh) 长效抑菌型漱口水
CN115518023A (zh) 一种蜂胶牙膏
JP6631223B2 (ja) 口腔用抗菌剤及び口腔用組成物
WO2017206014A1 (zh) 含中药提取物的长效驱蚊液
JP2014210724A (ja) 口腔用組成物
KR20170090717A (ko) 구강청결제
TH16869B (th) กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากพญายอ และการนำสารสกัดมาผลิตสารผสมสำหรับใช้ในช่องปาก พ่นคอ หรือพ่นผิวภายนอก
TH13712C3 (th) เจลสำหรับใช้ในช่องปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเครื่องเทศ
TH13712A3 (th) เจลสำหรับใช้ในช่องปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดจากเครื่องเทศ
TH14928C3 (th) ส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ยับยั้งจุลินทรีย์ภายในช่องปากและลำคอชนิดฉีดพ่นที่มีส่วนผสมของสารสกัดพริก
TH14928A3 (th) ส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ยับยั้งจุลินทรีย์ภายในช่องปากและลำคอชนิดฉีดพ่นที่มีส่วนผสมของสารสกัดพริก
TH18556A3 (th) องค์ประกอบสำหรับใช้กับช่องปากที่มีส่วนผสมของสารสกัดพริก