TH12734A3 - กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ - Google Patents
กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับInfo
- Publication number
- TH12734A3 TH12734A3 TH1503000275U TH1503000275U TH12734A3 TH 12734 A3 TH12734 A3 TH 12734A3 TH 1503000275 U TH1503000275 U TH 1503000275U TH 1503000275 U TH1503000275 U TH 1503000275U TH 12734 A3 TH12734 A3 TH 12734A3
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- chitosan
- solution
- stevia
- sweetener
- sweeteners
- Prior art date
Links
- 229920001661 Chitosan Polymers 0.000 title claims abstract 100
- 235000003599 food sweetener Nutrition 0.000 title claims abstract 69
- 239000003765 sweetening agent Substances 0.000 title claims abstract 68
- 238000000034 method Methods 0.000 title claims abstract 34
- 240000001132 Stevia rebaudiana Species 0.000 title 1
- 241000544066 Stevia Species 0.000 claims abstract 72
- LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N ethanol Chemical compound CCO LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 16
- 238000000605 extraction Methods 0.000 claims abstract 11
- 239000002904 solvent Substances 0.000 claims abstract 9
- 239000007788 liquid Substances 0.000 claims abstract 8
- 230000015572 biosynthetic process Effects 0.000 claims abstract 7
- 240000000218 Cannabis sativa Species 0.000 claims abstract 6
- 238000000926 separation method Methods 0.000 claims abstract 6
- 238000005755 formation reaction Methods 0.000 claims abstract 2
- QTBSBXVTEAMEQO-UHFFFAOYSA-N acetic acid Chemical compound CC(O)=O QTBSBXVTEAMEQO-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 36
- KDYFGRWQOYBRFD-UHFFFAOYSA-N Succinic acid Chemical compound OC(=O)CCC(O)=O KDYFGRWQOYBRFD-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 18
- PEDCQBHIVMGVHV-UHFFFAOYSA-N glycerine Chemical compound OCC(O)CO PEDCQBHIVMGVHV-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 15
- HEMHJVSKTPXQMS-UHFFFAOYSA-M sodium hydroxide Chemical compound [OH-].[Na+] HEMHJVSKTPXQMS-UHFFFAOYSA-M 0.000 claims 15
- 150000002148 esters Chemical class 0.000 claims 14
- 239000002250 absorbent Substances 0.000 claims 13
- 230000002745 absorbent Effects 0.000 claims 13
- 239000003463 adsorbent Substances 0.000 claims 12
- 239000012153 distilled water Substances 0.000 claims 9
- 239000001384 succinic acid Substances 0.000 claims 9
- 238000003795 desorption Methods 0.000 claims 8
- 238000002360 preparation method Methods 0.000 claims 8
- 238000003756 stirring Methods 0.000 claims 6
- 239000000126 substance Substances 0.000 claims 6
- 235000019482 Palm oil Nutrition 0.000 claims 5
- 239000002540 palm oil Substances 0.000 claims 5
- 238000003786 synthesis reaction Methods 0.000 claims 5
- 230000002194 synthesizing Effects 0.000 claims 5
- RBNPOMFGQQGHHO-UHFFFAOYSA-N Glyceric acid Chemical compound OCC(O)C(O)=O RBNPOMFGQQGHHO-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 4
- 239000000843 powder Substances 0.000 claims 4
- 241000209094 Oryza Species 0.000 claims 3
- 235000007164 Oryza sativa Nutrition 0.000 claims 3
- 230000001413 cellular Effects 0.000 claims 3
- 230000001112 coagulant Effects 0.000 claims 3
- 239000000701 coagulant Substances 0.000 claims 3
- 238000001914 filtration Methods 0.000 claims 3
- 235000009566 rice Nutrition 0.000 claims 3
- ULUAUXLGCMPNKK-UHFFFAOYSA-N (±)-Sulfobutanedioic acid Chemical compound OC(=O)CC(C(O)=O)S(O)(=O)=O ULUAUXLGCMPNKK-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims 2
- -1 1 norm Substances 0.000 claims 2
- 238000004062 sedimentation Methods 0.000 claims 2
- 239000002562 thickening agent Substances 0.000 claims 2
- 235000019774 Rice Bran oil Nutrition 0.000 claims 1
- 240000001717 Vaccinium macrocarpon Species 0.000 claims 1
- 235000012545 Vaccinium macrocarpon Nutrition 0.000 claims 1
- 235000002118 Vaccinium oxycoccus Nutrition 0.000 claims 1
- 239000002253 acid Substances 0.000 claims 1
- 235000004634 cranberry Nutrition 0.000 claims 1
- 239000008165 rice bran oil Substances 0.000 claims 1
- 238000010521 absorption reaction Methods 0.000 abstract 4
- 235000019658 bitter taste Nutrition 0.000 abstract 4
- 238000001704 evaporation Methods 0.000 abstract 4
- 235000009508 confectionery Nutrition 0.000 abstract 3
- 235000013305 food Nutrition 0.000 abstract 3
- 238000002791 soaking Methods 0.000 abstract 3
- 239000000693 micelle Substances 0.000 abstract 2
- 210000000172 Cytosol Anatomy 0.000 abstract 1
- 210000004027 cells Anatomy 0.000 abstract 1
Abstract
แก้ไข 25/10/2559 กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสาร ก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบ หญ้าหวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโก เมอร์ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความหวานด้วยการดูดซับด้วยไค โตซานดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความ หวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ ความหวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ๋งไม่มีรสชาติของ ความขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ -------------------------------------------------------- แก้ไข บทสรุป 25/9/2558 กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความหวานด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ --------------------------------------------------------------- แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 22/06/2559 กรรมวิธีการสักแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสะกิดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ ------------------------------------------------------------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุง 8/8/2559 กรรมวิธีการสักแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้
Claims (8)
1. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ (ก) การเตรียมไคโตซานดูดซับ โดยสังเคราะห์จากไคโตซานธรรมชาตินำมาดัดแปรหมู่ ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง ด้วยเทคนิคทางเคมี โดยใช้สารละลายกรดแอซิติกที่มีความเข้มข้นร้อยละ 2-4 โดยปริมาตร เติมไคโตซานธรรมชาติเพื่อละลายลงไปในปริมาณ เท่ากับ 1:100-120 (น้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อปริมาตรของสารละลายกรดแอซิติก) กวนผสมเป็นเวลา 16-24 ชั่วโมง ณ อุณหภูมิห้อง จากนั้นเติมสารละลายกรดซัลโฟซัคซินิคที่มีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร ลงไปเท่ากับ 100:2.5-3.5 (โดยปริมาตรสารละลายไคโตซานธรรมชาติต่อสารละลายกรดซัลโฟซัคซิ นิค) กวนผสมอย่างรุนแรงเป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง เติมดินสอพองเท่ากับ 100:2.5-3.5 (โดยน้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อดินสอพอง) ทีละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองและล้างด้วยน้ำ กลั่น จากนั้นนำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปรหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารสะลายสกัดใบหญ้าหวาน (Adsorption) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อนนำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ ไคโตซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซาน ดูดซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหวานมาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้วนำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 2. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งการเตรียมสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวาน โดยนำใบหญ้าหวานแห้งมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปร่อนผ่านตะแกรง ขนาด 1 มิลลิเมตร จากนั้นนำผงหญ้าหวานมาสกัดด้วยสารละลายของ สารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ที่มีความเข้มข้นร้อยละ0.5-3 โดยมวล ในอัตราส่วนผงหญ้า หวานต่อสารละลายข้างต้น เท่ากับ 1:50-75 (น้ำหนักต่อปริมาตร) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 (โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ทีซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอสิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซินิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนัก ไคโตซานต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดยน้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอสิโกเมอร์ คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ---------------------------- แก้ไข 25/09/58 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำ กลั่น จากนั้นนำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมงได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหนามาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 ต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อ ถือสิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ ของน้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสาร ทั้งสามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดย โมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม --------------------------------------------------------------------- 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหนามาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 ต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ---------------------------------------------------------------- แก้ไข 22/06/2559 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุง 8/8/2559 1.5-3.5 ( โดยปริมาตรสารละลายไคโตซานธรรมชาติต่อสารละลายกรดซัลโฟซัคซินิค ) กวนผสม อย่างรุนแรงเป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง เติมดินสอพองเท่ากับ 100:2.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปรหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหวานมาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตรงอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน
2. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไตโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งการเตรียมสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวาน โดยนำใบหญ้าหวานแห้งมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปร่อนผ่านตะแกรง ขนาด 1 มิลลิเมตร จากนั้นนำผงหญ้าหวานมาสกัดด้วยสารละลายของ สารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ที่มีความเข้นข้นร้อยละ0.5-3 โดยมวล ในอัตราส่วนผงหญ้า หวานต่อสารละลายข้างต้น เท่ากับ 1:50-75 (น้ำหนักต่อปริมาตร) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน
3. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 (โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติต่อดินสอพอง)
4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งการก่อเซลล์ชนิดพีจีเอสโอกิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์หรือเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซินิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล
5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้นข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร)
6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำโคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที
7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้นข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ คือ ร้อยละ 2 โดยมวล
8.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม
Publications (2)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH12734A3 true TH12734A3 (th) | 2017-06-09 |
TH12734C3 TH12734C3 (th) | 2017-06-09 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
AU2016201931B2 (en) | Method of making an enhanced natural sweetener | |
JP6423998B2 (ja) | 過冷却促進剤、及び、過冷却促進剤の製造方法 | |
TWI729232B (zh) | 來自葫蘆科水果的提取物及其製備方法 | |
CN106866397A (zh) | 一种低本高效的姜黄素提取方法 | |
CN111728984A (zh) | 一种脱脂美洲大蠊提取物的制备方法 | |
CN103980335B (zh) | 罗汉果甜甙v的制备方法 | |
CN104030937A (zh) | 一种快速制备高含量花椒不饱和酰胺类成分的方法 | |
CN115894732A (zh) | 一种基于双水相溶剂系统的枸杞多糖提取方法 | |
CN106360219A (zh) | 一种金银花饮料的制备方法 | |
JP6768970B2 (ja) | ルブソシドの調製方法 | |
TH12734A3 (th) | กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ | |
TH12734C3 (th) | กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ | |
CN105614309A (zh) | 一种枸杞膏的制造方法 | |
CN108997359B (zh) | 一种从甜菊糖生产废渣中提取叶绿素的方法 | |
CN112442136A (zh) | 一种银耳功能性成分的提取方法 | |
JP7536772B2 (ja) | ステビオール配糖体組成物およびステビア植物の乾燥葉からステビオール配糖体組成物を製造する方法 | |
KR100867605B1 (ko) | 라한과 추출물을 함유하는 녹차 조성물 | |
JPS597302B2 (ja) | 甘味料の製法 | |
JP2000239170A (ja) | 糖尿病治療剤 | |
TH9883A3 (th) | กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ | |
CN109020863A (zh) | 马槟榔中具有调节甜味作用的成分及其制备方法与应用 | |
TH9883C3 (th) | กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ | |
JP5608435B2 (ja) | 抗氷核活性剤及びその製造方法 | |
KR0138538B1 (ko) | 구기순 칵테일제의 제조방법 | |
JP5070361B1 (ja) | ハンダマのgaba抽出物の製造方法 |