TH12734C3 - กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ - Google Patents

กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ

Info

Publication number
TH12734C3
TH12734C3 TH1503000275U TH1503000275U TH12734C3 TH 12734 C3 TH12734 C3 TH 12734C3 TH 1503000275 U TH1503000275 U TH 1503000275U TH 1503000275 U TH1503000275 U TH 1503000275U TH 12734 C3 TH12734 C3 TH 12734C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
chitosan
solution
sweetener
stevia
adsorption
Prior art date
Application number
TH1503000275U
Other languages
English (en)
Other versions
TH12734A3 (th
Inventor
ดร.จิรดา สิงขรรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH12734A3 publication Critical patent/TH12734A3/th
Publication of TH12734C3 publication Critical patent/TH12734C3/th

Links

Abstract

แก้ไข 25/10/2559 กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสาร ก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบ หญ้าหวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโก เมอร์ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความหวานด้วยการดูดซับด้วยไค โตซานดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความ หวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ ความหวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ๋งไม่มีรสชาติของ ความขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ -------------------------------------------------------- แก้ไข บทสรุป 25/9/2558 กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความหวานด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ --------------------------------------------------------------- แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 22/06/2559 กรรมวิธีการสักแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสะกิดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้ ------------------------------------------------------------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุง 8/8/2559 กรรมวิธีการสักแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการสกัดด้วยสารก่อ ไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ตามด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามการประดิษฐ์นี้ เป็นการนำใบหญ้า หวานมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปสกัดด้วยสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ ร้อยละ 2 โดยมวล จากนั้นนำไปตกตะกอนและแยกสารให้ความด้วยการดูดซับด้วยไคโตซาน ดูดซับ โดยแช่ทิ้งไว้ในสภาวะที่เหมาะสม แล้วนำไคโตซานดูดซับไปคายซับสารให้ความหวาน ด้วยการเติมสารละลายเอทานอลลงไป ก่อนนำไประเหยเอาตัวทำละลายออก จะได้สารให้ความ หวานจากสารสกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสคล้ายน้ำมัน ซึ่งไม่มีรสชาติของความ ขมเลย สามารถนำไปใช้เป็นสารให้ความหวานในอาหารได้

Claims (8)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 25/10/2559
1. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ (ก) การเตรียมไคโตซานดูดซับ โดยสังเคราะห์จากไคโตซานธรรมชาตินำมาดัดแปรหมู่ ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง ด้วยเทคนิคทางเคมี โดยใช้สารละลายกรดแอซิติกที่มีความเข้มข้นร้อยละ 2-4 โดยปริมาตร เติมไคโตซานธรรมชาติเพื่อละลายลงไปในปริมาณ เท่ากับ 1:100-120 (น้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อปริมาตรของสารละลายกรดแอซิติก) กวนผสมเป็นเวลา 16-24 ชั่วโมง ณ อุณหภูมิห้อง จากนั้นเติมสารละลายกรดซัลโฟซัคซินิคที่มีความเข้มข้นร้อยละ 70 โดยปริมาตร ลงไปเท่ากับ 100:2.5-3.5 (โดยปริมาตรสารละลายไคโตซานธรรมชาติต่อสารละลายกรดซัลโฟซัคซิ นิค) กวนผสมอย่างรุนแรงเป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง เติมดินสอพองเท่ากับ 100:2.5-3.5 (โดยน้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อดินสอพอง) ทีละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองและล้างด้วยน้ำ กลั่น จากนั้นนำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปรหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารสะลายสกัดใบหญ้าหวาน (Adsorption) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อนนำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ ไคโตซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซาน ดูดซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหวานมาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้วนำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 2. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งการเตรียมสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวาน โดยนำใบหญ้าหวานแห้งมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปร่อนผ่านตะแกรง ขนาด 1 มิลลิเมตร จากนั้นนำผงหญ้าหวานมาสกัดด้วยสารละลายของ สารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ที่มีความเข้มข้นร้อยละ0.5-3 โดยมวล ในอัตราส่วนผงหญ้า หวานต่อสารละลายข้างต้น เท่ากับ 1:50-75 (น้ำหนักต่อปริมาตร) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 (โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการสกัดแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ทีซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอสิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซินิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนัก ไคโตซานต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดยน้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอสิโกเมอร์ คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ---------------------------- แก้ไข 25/09/58 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนัก ไคโตซานธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำ กลั่น จากนั้นนำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมงได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหนามาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 ต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อ ถือสิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ ของน้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสาร ทั้งสามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดย โมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม --------------------------------------------------------------------- 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหนามาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 ต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ---------------------------------------------------------------- แก้ไข 22/06/2559 1.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตองอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน 1.-75 ( น้ำหนักต่อปริมาตร ) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป้นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน 3.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 ( โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติดินสอพอง) 4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์มหรือเอสเตอร์ของน้ำมันรำข้าว กลีเซอรอล และกรดซัคซินิค หรืออนุพันธ์ของสารทั้ง สามชนิด ในอัตราส่วนของเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซนิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล 5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้มข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร) 6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำไคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที 7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้มข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์คือ ร้อยละ 2 โดยมวล 8. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม ------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุง 8/8/2559 1.5-3.5 ( โดยปริมาตรสารละลายไคโตซานธรรมชาติต่อสารละลายกรดซัลโฟซัคซินิค ) กวนผสม อย่างรุนแรงเป็นเวลา 18-24 ชั่วโมง เติมดินสอพองเท่ากับ 100:2.5-3.5 ( โดยน้ำหนักไคโตซาน ธรรมชาติต่อดินสอพอง ) ที่ละนิด กวนผสมต่ออีก 18-24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมไฮ ดรอกไซด์ 1 นอร์มอล ทีละหยดจนสารละลายตกตะกอน นำไปกรองแล้วล้างด้วยน้ำกลั่น จากนั้น นำสารละลายไคโตซานดัดแปรที่ได้ไปอบที่อุณหภูมิ 55-65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-36 ชั่วโมง ได้ไคโตซานที่ดัดแปรหมู่ฟังก์ชันบนพื้นผิวที่แห้ง (ข) การดูดซับสารให้ความหวานจากสารละลายสกัดใบหญ้าหวาน ( Adsorption ) โดยใส่ไค โตซานดูดซับผสมกับสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวานลงไปในภาชนะ ปิดฝาขวดให้สนิท ก่อน นำไปเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 240-300 นาที จากนั้นนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วล้างไคโตซานดูดซับด้วยน้ำกลั่น จะได้ไคโต ซานดูดซับที่ดูดซับสารให้ความหวานในปริมาณสูง (ค) การคายซับสารให้ความหวานจากไคโตซานดูดซับ (Desorption) โดยนำไคโตซานดูด ซับที่ผ่านการดูดซับสารให้ความหวานมาเติมสารละลายเอทานอลลงไป ปิดฝาขวดให้สนิท แล้ว นำไปผ่านเครื่องเขย่า โดยใช้ความเร็วรอบ 110-140 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลา 25-40 นาที ก่อนนำไปกรองผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ แล้วนำสารละลายที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออก ด้วยเครื่องระเหยสารแบบหมุน ที่อุณหภูมิ 35-45 องศาเซลเซียส จะได้สารให้ความหวานจากสาร สกัดใบหญ้าหวาน ที่มีลักษณะเป็นของเหลวใสไม่มีสีจนถึงสีเขียวตรงอ่อนหนืดคล้ายน้ำมัน
2. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไตโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งการเตรียมสารละลายสกัดจากใบหญ้าหวาน โดยนำใบหญ้าหวานแห้งมาบดให้ละเอียด แล้วนำไปร่อนผ่านตะแกรง ขนาด 1 มิลลิเมตร จากนั้นนำผงหญ้าหวานมาสกัดด้วยสารละลายของ สารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ที่มีความเข้นข้นร้อยละ0.5-3 โดยมวล ในอัตราส่วนผงหญ้า หวานต่อสารละลายข้างต้น เท่ากับ 1:50-75 (น้ำหนักต่อปริมาตร) แล้วนำไปให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 65-80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 90-120 นาที จากนั้นนำไปกรองก่อนตกตะกอนและกรองอีกครั้ง ผ่านเครื่องกรองสุญญากาศ จะได้สารละลายสกัดใบหญ้าหวาน
3. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ที่ซึ่งปริมาณของดินสอพองที่ดีที่สุดเท่ากับ 100:2.5 (โดยน้ำหนักไคโต ซานธรรมชาติต่อดินสอพอง)
4. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งการก่อเซลล์ชนิดพีจีเอสโอกิโกเมอร์ เตรียมได้โดยการสังเคราะห์จากเอสเตอร์ของ น้ำมันปาล์หรือเอสเตอร์ต่อกลีเซอรอลต่อกรดซัคซินิคที่ดีที่สุด คือ 0.01:1:1.5 โดยโมล
5. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ซึ่งในขั้นตอน (ก) ความเข้นข้นของสารละลายกรดแอซิติก และอัตราส่วนน้ำหนักไคโตซาน ต่อปริมาตรสารละลายกรดแอซิติกที่ดีที่สุด คือ ร้อยละ 2 โดยปริมาตร และอัตราส่วน 1:100 (โดย น้ำหนักต่อปริมาตร)
6. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ข) ระยะเวลาที่ดีที่สุดในการนำโคโตซานดูดซับผสมสารละลายสกัดจากใบ หญ้าหวานเข้าเครื่องเขย่า คือ 270 นาที
7. กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 2 ที่ซึ่งความเข้นข้นที่ดีที่สุดของสารละลายของสารก่อไมเซลล์ชนิดพีจีเอสโอลิโกเมอร์ คือ ร้อยละ 2 โดยมวล
8.กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่งในขั้นตอน (ก) ปริมาณไคโตซานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการเตรียมไคโตซานดูดซับ คือ 20 กรัม
TH1503000275U 2015-03-06 กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ TH12734C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH12734A3 TH12734A3 (th) 2017-06-09
TH12734C3 true TH12734C3 (th) 2017-06-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN102285953B (zh) 以hp2mgl大孔树脂分离纯化蓝莓花色苷的方法
JP6423998B2 (ja) 過冷却促進剤、及び、過冷却促進剤の製造方法
AU2016201931B2 (en) Method of making an enhanced natural sweetener
WO2018077140A1 (en) Extracts from fruits of the cucurbitaceae family, and methods of preparing thereof
CN111728984A (zh) 一种脱脂美洲大蠊提取物的制备方法
CN106866397A (zh) 一种低本高效的姜黄素提取方法
US9445617B2 (en) Process for extraction and debitterizing sweet compounds from stevia plants
CN103980335B (zh) 罗汉果甜甙v的制备方法
CN104030937A (zh) 一种快速制备高含量花椒不饱和酰胺类成分的方法
TH12734C3 (th) กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ
TH12734A3 (th) กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยไคโตซานดูดซับ
CN112442136A (zh) 一种银耳功能性成分的提取方法
JP2005117910A (ja) カシス抽出物の製法
JPS597302B2 (ja) 甘味料の製法
CN107670643B (zh) 一种d-(-)-3-磷酸甘油酸酯键合硅胶油脂吸附剂
CN110585339A (zh) 一种白芨多个有效成分的分离制备方法
JP2000239170A (ja) 糖尿病治療剤
JP6527744B2 (ja) ニンジン抽出物の製造方法
TH9883A3 (th) กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ
TH9883C3 (th) กรรมวิธีการแยกสารให้ความหวานจากใบหญ้าหวานด้วยเทคนิคการดูดซับ
BR112019006204B1 (pt) Método produzir uma composição adoçante de luo han guo, e, método para produzir um extrato seco por pulverização
CN105832801A (zh) 一种玛卡烯、玛卡酰胺的提取分离方法
JP5070361B1 (ja) ハンダマのgaba抽出物の製造方法
JP5608435B2 (ja) 抗氷核活性剤及びその製造方法
KR0138538B1 (ko) 구기순 칵테일제의 제조방법