TH64005B - ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีนี้ - Google Patents

ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีนี้

Info

Publication number
TH64005B
TH64005B TH701004776A TH0701004776A TH64005B TH 64005 B TH64005 B TH 64005B TH 701004776 A TH701004776 A TH 701004776A TH 0701004776 A TH0701004776 A TH 0701004776A TH 64005 B TH64005 B TH 64005B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
pattern
soil water
machines
soil
tray
Prior art date
Application number
TH701004776A
Other languages
English (en)
Other versions
TH128009B (th
TH128009A (th
Inventor
แจ่มรัศมี นายเทิดวงศ์
พาบุตตะ นายวัฒนะกุล
เชื้อจิ๋ว นายวิทยา
หิมทอง นายอารักษ์
Original Assignee
นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล
นางสาววลัยกร รอสูงเนิน
นางสาววลัยกร รอสูงเนิน นายทศพล ธรรมวิริยานนท์ นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล
นายทศพล ธรรมวิริยานนท์
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล, นางสาววลัยกร รอสูงเนิน, นางสาววลัยกร รอสูงเนิน นายทศพล ธรรมวิริยานนท์ นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล, นายทศพล ธรรมวิริยานนท์ filed Critical นางสาวน้ำฝน โอวศิริกุล
Publication of TH128009B publication Critical patent/TH128009B/th
Publication of TH128009A publication Critical patent/TH128009A/th
Publication of TH64005B publication Critical patent/TH64005B/th

Links

Abstract

DC60 ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นที่มีการทำ ลวดลายเลียนลวดลายของหินธรรมชาติ โดยอาศัยชุดเครื่องมีประกอบด้วย วิถีทางการเตรียมน้ำดิน ภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อย หนึ่งภาชนะสำหรับบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่ง ชนิด กระก่อลวดลาย อย่างน้อยหนึ่งกระบะ อย่างน้อยหนึ่งวิถีทางในการที่จะเชื่อมต่อภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งอัน ดังกล่าวเข้ากับกระบะก่อลวดลายอย่างน้อยหนึ่งกระบะ และชุดอัดรีดขึ้นรูป โดยที่ชุดทำลวดลาย จ่ายน้ำดินใน ชนิด ปริมาณ สี ที่กำหนดตามลำดับที่กำหนด ลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็น ลวดลายที่ต้องการ น้ำดินที่ก่อลวดลายที่ต้องการแล้วถูกอัดขึ้นรูปโดยชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรอง เพื่อให้เกิดเป็นแผ่นกระเบื้องหรือแผ่นหินที่มีลวดลายทั่วตลอดความหนาของเนื้อผลิตภัณฑ์ ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นที่มีการทำ ลวดลายเลียนลวดลายของหินธรรมชาติ โดยอาศัยชึดเครื่องมีประกอบด้วย วิถีทางการเตรียมน้ำดิน ภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อย หนึ่งภาชนะสำหรับบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่ง ชนิด กระก่อลวดลาย อย่างน้อยหนึ่งกระบะ อย่างน้อยหนึ่งวิถีทางในการที่จะเชื่อมต่อภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งอัน ดังกล่าวเข้ากับกระบะลวดลายอย่างน้อยหนึ่งกระบะ และชุดอัดรีดขึ้นรูป โดยที่ชุดทำลวดลาย จ่ายน้ำดินใน ชนิด ปริมาณ สี ที่กำหนดตามลำดับที่กำหนด ลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็น ลวดลายที่ต้องการ น้ำดินที่ก่อลวดลายที่ต้องการแล้วถูกอัดขึ้นรูปโดยชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรอง เพื่อให้เกิดเป็นแผ่นกระเบื้องหรือแผ่นหินที่มีลวดลายทั่วตลอดความหนาของเนื้อผลิตภัณฑ์

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 5 ก.ค. 2560 1. กรรมวิธีในการก่อลวดลายในกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินที่มีความหนาตามกำหนดที่มี ลวดลายปรากฏทั่วตลอดความหนา ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ - การเตรียมน้ำดินอย่างน้อยสองสีที่ต่างกัน - พักน้ำดินที่ได้ในภาชนะบรรจุแยกออกจากกัน - ป้อนน้ำดินอย่างน้อยสองอย่างดังกล่าวนั้นไปยังชุดทำลวดลาย - เคลื่อนชุดทำลวดลายไปอยู่เหนือกระบะก่อลวดลายเพื่อจ่ายน้ำดินลงสู่กระบะก่อ ลวดลายดังลวดลายที่ต้องการ - นำกระบะก่อลวดลายเข้าสู่ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรองเพื่อขจัดน้ำส่วนเกินออกและเพื่อ ก่อเป็นกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินดิบที่มีลวดลายทั่วทั้งความหนา - นำกระเบื้องดิบไปอบแห้งและนำไปเผา ------------------------------------------------------------------------------- แก้ไข 08/06/2558 1. กรรมวิธีในการก่อลวดลายในกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินที่มีความหนาตามกำหนดที่มี ลวดลายปรากฏทั่วตลอดความหนา ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ - การเตรียมน้ำดินอย่างน้อยสองสีที่ต่างกัน - พักน้ำดินที่ได้ในภาชนะบรรจุแยกออกจากัน - ป้อนน้ำดินอย่างน้อยสองอย่างดังกล่าวนั้นไปยังชุดทำลวดลาย - เคลื่อนชุดทำลวดลายไปอยู่เหนือกระบะก่อลวดลายเพื่อจ่ายน้ำดินลงสู่กระบะก่อ ลวดลายดังลวดลายที่ต้องการ - นำกระบะก่อลวดลายเข้าสู่ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรองเพื่อขจัดน้ำส่วนเกินออกและเพื่อ ก่อเป็นกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินดิบที่มีลวดลายทั่วทั้งความหนา - นำกระเบื้องดิบไปอบแห้งและนำไปเผา 2. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบด้วยการเติมเม็ดสีเซรามิก หรือเฟลค เพื่อให้ได้สีที่ ต้องการ 3. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบด้วยการโดยที่สารเติมเพื่อที่จะลดความหนืดของน้ำ ดินหรือเพื่อปรังปรุงความแข็งแรงของกระเบื้องหรือแผ่นหิน 4. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินแต่ละอย่างประกอบด้วยวัสดุแห้งจาก 30-70 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก 5. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 3 โดยที่สารเติมแต่งตามขั้นตอนเลือกได้จาก สารป้องกันการก่อ ตัว (Deflocculant) สารกระจายตัว (Dispersant), สารก่อตัว (Floculant), สารลดฟอง (Defoaming agent), สารปรับแรงตึงผิว (Surfactant) 6. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 3 โดยที่สารเติมแต่งตามขั้นตอน ประกอบด้วยถึง 5% ของสาร ปรับแต่งหรือดัดแปลงคุณสมบัติของกระเบื้องหรือแผ่นหินเลือกได้จาก โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ (PVA), โพลีไวนิลอะซิเทต (PVAc), คาร์บอกซีเมททิลเซลลูโลส (CMC), เมทิลเซลลูโลส(Methylcellulose), เอททีลีนไวนิลอะซิเตท, (EVA), แป้ง (Starch, Modified Starch), เซลลูโลส ไฟเบอร์ (Cellulose fiber), เส้นใยอินทรีย์ (Organic fiber), เส้นใยอนินทรีย์ (Inorganic fiber) 7. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินถูกรักษาที่อุณหภูมิห้อง และ/หรือให้ความร้อนถึง 70 องศาเซลเซียส 8. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินที่ถูกจ่ายเพื่อก่อเป็นลวดลายที่ต้องการถูกจ่ายให้ เป็นไปตามค่าที่บันทึกไว้ล่วงหน้า 9. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ระหว่างการก่อลวดลายที่ต้องการชุดทำลวดลายเคลื่อน ไปข้างหน้า ถอยหลัง ไปข้างซ้าย ไปข้างขวา และเป็นวงกลม เพื่อจ่ายน้ำดินตามค่าที่บันทึกไว้ ล่วงหน้าโปรแกรมประยุกต์ ที่ความเร็วที่กำหนดไว้ล่วงหน้า 1 0. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินถูกปล่อยให้ผสมกับบางสว่นภายในชุดทำลวดลาย ก่อนที่จะถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็นลวดลายที่ต้องการ 1 1. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่น้ำดินถูกผสมเพิ่มเติมโดยการใช้ตัวการทำงานที่ ความเร็ว ที่กำหนดก่อนที่จะถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็นลวดลายที่ต้องการ 1 2. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินถูกจ่ายลงสู่ภาชนะรองรับลวดลายก่อนแล้วจึงจ่าย ลงสู่กระบะก่อลวดลาย 1 3. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่น้ำดินถูกจ่ายลงสู่ภาชนะรองรับลวดลายถูกจ่ายแยกกัน ในตอนที่แยกกันของภาชนะรองรับลวดลายตามความแตกต่างของชนิด สี สีผสม และ/หรือลวดลาย ตั้งต้น 1 4. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ระหว่างการกดอัดขึ้นรูปอุณหภูมิของน้ำดินถูกรักษาไว้ที่ อุณหภูมิห้อง และ/หรือให้ความร้อนถึง 70 องศาเซลเซียส 1 5. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ระหว่างการกดอัดขึ้นรูปมีวิถีทางที่จะรักษารูปร่างของ กระเบื้องหรือแผ่นหินในขณะกดอัดเพื่อรักษารูปร่างและลวดลายของแผ่นกระเบื้องและ/หรือแผ่น หินดิบ 1 6. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 15 โดยที่ก่อนการจ่ายน้ำดินลงสู่กระบะก่อลวดลาย ชิ้นแบบ อย่างอ่อนตัวได้ที่มีรูปร่างที่ต้องการถูกนำไปวางในตำแหน่งที่ต้องการภายในกระบะก่อลวดลาย เพื่อที่จะผลิตกระเบื้องหรือแผ่นหินดิบที่มีพื้นที่ว่างภายในสอดคล้องกับรูปร่างของชิ้นแบบในตำแหน่ง ที่กำหนด 1 7. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ชิ้นแบบถูกเลือกจากที่มีรูปร่าง สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า วงรี วงกลม หรือรูปร่างอิสระ 1 8. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยขั้นตอนปรับแต่งลวดลายในขณะที่ กำลังก่อลวดลาย และ/หรือหลังก่อลวดลายเสร็จสิ้นแล้ว โดยการใช้อุปกรณ์ตกแต่งลวดลายที่สามารถ ลาก จุ่ม คนกวน ผสม และ/หรือกวาด 1 9. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิก่อนหน้า โดยที่แผ่นกระเบื้องและ/หรือ แผ่นหินดิบที่มีลวดลายที่ต้องการถูกนำไปอบแห้งและเผาตามมาตรฐาน 2 0. ชุดเครื่องสำหรับการก่อลวดลายในแผ่นกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินที่มีความหนาที่ กำหนดที่มีลวดลายทั่วทั้งความหนา ตามกรรมวิธีของข้อถือสิทธิ 1 ถึง 19 ที่ประกอบด้วย: - วิถีทางการเตรียมน้ำดินอย่างน้อยสองอย่าง - ภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งภาชนะสำหรับบรรจุน้ำดินแต่ละชนิด - ชุดทำลวดลายอย่างน้อยหนึ่งชุด - กระบะก่อลวดลายอย่างน้อยหนึ่งกระบะ - วิถีทางอย่างน้อยหนึ่งวิธีสำหรับเชื่อมต่อภาชนะบรรจุอย่างน้อยหนึ่งถังดังกล่าวเข้า กับชุดทำลวดลายอย่างน้อยหนึ่งชุด และ - ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรอง โดยที่ ภาชนะบรรจุน้ำดินแต่ละภาชนะถูกเชื่อมต่อเข้ากับชุดทำลวดลายด้วยท่อลำเลียงน้ำดิน อย่างน้อยหนึ่งท่อ โดยที่ที่ปลายของท่อส่งน้ำดินดังกล่าวนั้น ที่ชุดทำลวดลายถูกติดตั้งไว้ด้วยวาล์ว สำหรับควบคุมการลำเลียงน้ำดินไปยังชุดทำลวดลาย วิถีทางในการเคลื่อนชุดทำลวดลายเมื่อเทียบ กับกระบะก่อลวดลายเพื่อที่จะลำเลียงน้ำดินไปยังกระบะก่อลวดลาย 2 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ภาชนะบรรจุน้ำดินแต่ละภาชนะมีวิถีทาง ในการ ควบคุมแรงดันภายในภาชนะบรรจุน้ำดิน 2 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 21 โดยภาชนะบรรจุน้ำดินแต่ละภาชนะมีวิถีทางในการลดการ ตกตะกอนของน้ำดิน และส่งเสริมการไหลของน้ำดิน โดยที่วิถีทางดังกล่าวนั้นคือตัวกวนอย่างน้อย หนึ่งตัว 2 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่วิถีทางในการลดการตกตะกอนของน้ำดินและส่งเสริม การไหลของน้ำดิน คือโดยการจัดวางภาชนะบรรจุน้ำดินดังกล่าวนั้นบนฐานที่สามารถเคลื่อนไหวได้ 2 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ปลายของท่อลำเลียงที่ชุดทำลวดลายถูกติดตั้งไว้ด้วย ชิ้นหัวปลายท่อที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ ที่สามารถจ่ายน้ำดินอย่างควบคุมได้ลงสู่ชุดทำลวดลาย 2 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 24 โดยที่ชุดทำลวดลายถูกกำหนดให้สามารถรับท่อลำเลียงได้ หลายท่อ และชิ้นหัวปลายท่อที่แต่ละปลายท่อลำเลียงที่ชุดทำลวดลายดังกล่าวมีรูปร่างและลักษณะที่ ต่างๆกัน 2 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ภาชนะบรรจุถูกติดตั้งให้มีระบบให้ความร้อนและ วิถีทางในการควบคุมอุณหภูมิน้ำดินที่บรรจุอยู่ภายใน 2 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ชุดทำลวดลายสามารถที่จะหมุนได้รอบแกนทั้งใน แนวแกน x, y, z 2 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ชุดทำลวดลายดังกล่าวถูกติดตั้งให้มีวาล์วควบคุม ปริมาณของน้ำดินที่จะถูกจ่ายโดยผ่านหัวจ่ายที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ 2 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ชุดทำลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วยวิถีทางที่จะผสม น้ำดินที่บรรจุอยู่ภายในชุดทำลวดลาย 3 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ชุดทำลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วยภาชนะรองรับ ลวดลาย 3 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 30 โดยที่ภาชนะรองรับลวดลายประกอบด้วย: - ส่วนลำตัวสำหรับรับน้ำดินที่ถูกจ่ายมาจากชุดทำลวดลาย - แผ่นเปิด-ปิด ที่วางตัวอยู่ที่บริเวณก้นของภาชนะรองรับลวดลายดังกล่าว และ - สกรูเกลียวที่วางตัวอยู่ภายในภาชนะรองรับลวดลายดังกล่าว สกรูเกลียวดังกล่าวถูก กำหนดให้หมุนรอบแกนตัวมันเองเพื่อป้อนน้ำดินดังกล่าวไปหาแผ่นเปิด-ปิด เพื่อกระจาย น้ำดิน ดังกล่าวลงสู่กระบะก่อลวดลาย 3 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 31 โดยที่ส่วนลำตัวของภาชนะรองรับลวดลายถูกแบ่งออกเป็น ตอนๆ สำหรับบรรจุน้ำดินต่างชนิด สี สีผสมของหลายสี และ/หรือลวดลายตั้งต้น โดยใช้ผนังกั้นโซน 3 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 32 โดยที่ผนังกันโซนติดตั้งเข้าด้วยกันแบบถอดได้เข้ากับส่วน ลำตัวของภาชนะรองรับลวดลาย และที่ให้จำนวนและขนาดของตอนสามารถเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้โดย การเพิ่มหรือลดผนังกันโซน และ/หรือ โดยเพิ่มระยะทางระหว่างแต่ละผนังกั้นโซน 3 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 31 โดยที่ภาชนะรองรับลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วยฝาเปิด- ปิด และระบบนิวแมติกส์ความละเอียดสูงสร้างสภาพสุญญากาศภายในภาชนะรองรับลวดลาย ดังกล่าวและจ่ายน้ำดินอย่างควบคุมได้ลงสู่กระบะก่อลวดลาย 3 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่กระบะก่อลวดลายประกอบด้วยกรอบขอบที่ประกอบ เข้ากับแผ่นกรอง กระบะก่อลวดลายแต่ละกระบะมีรูปร่างสอดคล้องกับรูปร่างของกระเบื้องหรือแผ่น หินที่ต้องการ และเชื่อมต่อกันเป็นลักษณะห่วงสายพานเพื่อรองรับสภาพแวดล้อมการผลิตแบบ อัตโนมัติหรือกึ่งอัตโนมัติ 3 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่กระบะก่อลวดลายแต่ละกระบะในวงล้อสายพานถูก กำหนดให้บรรจุน้ำ ดิน ที่จ่ายจากชุดทำลวดลาย และกระบะทำลวดลายแต่ละกระบะสามารถถอด แยกออกจากห่วงสายพานเพื่อบำรุงรักษาหรือเปลี่ยนเมื่อสึกหรอ 3 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่กระบะก่อลวดลายประกอบด้วยกรอบขอบนอกหนึ่ง กรอบเท่านั้น 3 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 37 โดยที่กระบะก่อลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วยกรอบขอบวง ในที่สองอย่างน้อยหนึ่งอันภายในกรอบขอบนอกดังกล่าวเพื่อระบพื้นที่ว่างในตำแหน่งที่กำหนดไว้ ล่วงหน้าในกระบะ รูปร่างของพื้นที่ว่างเลือกได้จาก สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า วงรี วงกลม และ รูปร่างอิสระ 3 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่กรอบขอบทำมาจากวัสดุที่มีรูพรุน ที่สามารถเปลี่ยนรูป ได้ตัวเมื่อมีแรงกดอัด และสามารถคืนตัวสู่รูปร่างเดิมได้เมื่อแรงกดอัดถูกเอาออกไป 4 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 39 โดยที่อย่างน้อยหนึ่งกรอบขอบทำมาจากวัสดุที่เลือกได้จาก ยางธรรมชาติ (natural rubber),โพลิเมอร์ธรรมชาติ (natural polymer), ยางสังเคราะห์ (syntheric rubber), เทอร์โมพลาสติกอิลาสโทเมอร์ (thermoplastic elastomer), ยางซิลิโคน (silicon rubber), ยางบิวทาไดอีน (butadiene rubber), ยางอีโบไนต์ (ebonite rubber), ยางอีทีวี (elevated temperature vulcanized rubber) , ยางยูรีเทน (urethane rubber), ยางฟลูออรีน (fluorine rubber), และยางนีโอพรีน (neoprene rubber), 4 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่แผ่นกรองดังกล่าวเป็นวัสดุมีพรุน 4 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 41 โดยที่แผ่นกรองดังกล่าวทำมาจากวัสดุที่เลือกได้จาก เส้น ใยขนสัตว์ ไนลอน ตะแกรงเหล็ก โพลีโพรไพลีน โพลีเอสเตอร์ โพลีบิวทิลีน และโพลีอาไมด์ 4 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่ชุดอัดขึ้นรูปแบบกรองประกอบด้วยแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่าง ผิวหน้าเรียบของแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่างเป็นรูพรุน 4 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 43 โดยที่อย่างน้อยแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่างถูก จัดเตียมให้ทีท่อระบายเพื่อเก็บน้ำและอนุภาคส่วนเกินจากการกดอัดขึ้นรูป 4 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 44 โดยที่อย่างน้อยแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่างถูก จัดเตียมให้มีกรอบรักษารูปร่างรอบๆขอบของมัน 4 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 45 โดยที่วิถีทางในการปรับเปลี่ยนความสูงของกรอบรักษา รูปร่างมีการเตรียมไว้ให้ 4 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 45 โดยที่กรอบรักษารูปร่างที่แบบอัดตัวล่างในด้านขาเข้า และ ขาออกของกระบะก่อลวดลายสามารถที่จะเลื่อนขึ้นหรือลงเพื่อปล่อยให้กระบะลวดลายเคลื่อนเข้า มา หรือออกไปได้ 4 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 44 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรองประกอบเพิ่มเติมด้วยปั๊ม สุญญากาศ เพื่อจำกัดน้ำส่วนเกินและอนุภาคที่กักเก็บอยู่ที่ท่อระบายของแบบอัดตัวบนและแบบอัด ตัวล่างออก 4 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 44 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรองประกอบเพิ่มเติมด้วย แหล่งกำเนิดลมเพื่อเป่าไล่น้ำส่วนเกินไปยังท่อระบาย 5 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 44 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปแบบกรองประกอบเพิ่มเติมด้วยหน่วย ให้ความร้อน และวิถีทางที่จะควบคุณอุณหภูมิของน้ำดินในระหว่างการอัดรีดเพื่อให้ง่ายต่อการรีดน้ำ ส่วนเกิน ออก 5 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยหน่วยวัดน้ำหนักที่ควบคุมด้วน เซนเซอร์ สำหรับควบคุมปริมาณน้ำดินที่ถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลาย โดยที่การทำงายของเซนเซอร์ จะเป็นผลให้ชุดทำลวดลายหยุดจ่าย 5 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 20 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยสถานีทำความสะอาด โดยที่ หลังจากเสร็จสิ้นการอัดขึ้นรูป และกระเบื้องหรือแผ่นหินดิบได้ถูกเคลื่อนย้ายออกไปแล้ว กระบะก่อ ลวดลายยังคงเดินหน้าต่อไปยังสถานีทำความสะอาดเพื่อทำความสะอาดก่อนที่จะวนเข้าสู่ระบบการ ผลิตใหม่ --------------------------------- 1. ชุดเครื่องสำหรับการก่อลวดลายในแผ่นกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินจาก น้ำดิน ประกอบด้วย; วิถีทางการเตรียมน้ำดิน ภาชนะบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งถังสำหรับบรรจุน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งชนิด กระบะก่อลวดลายอย่างน้อยหนึ่งกระบะ วิถีทางอย่างน้อยหนึ่งวิธีสำหรับเชื่อมต่อภาชนะบรรจุอย่างน้อยหนึ่งถังดังกล่าวเข้า กับชุดทำลวดลายอย่างน้อยหนึ่งชุด ที่กำหนดให้สามารถลำเลียงน้ำดินดังกล่าวไปยังชุดทำ ลวดลาย ดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งชุด ชุดอัดรีดขึ้นรูปหนึ่งชุดที่กำหนดให้สามารถลดนน้ำดินดังกล่าวให้เป็นสภาวะของแข็งได้ และ ชุดทำลวดลายที่คั่นระหว่างภาชนะบรรจุน้ำดิน และกระบะก่อลวดลายดังกล่าว 2. ชุดเครื่องดังข้อที่สิทธิที่ 1 โดยที่ภาชนะบรรจุน้ำดินแต่ละถังมีวิถีทางในการลด การตกตะกอน ของน้ำดินดังกล่าว และมีวิถีทางการควบคุมแรงดันภายในภาชนะบรรจุน้ำดิน ดังกล่าว 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่วิถีทางในการลดการตกตะกอนของน้ำดิน ดังกล่าวประกอบด้วยตัวกวนอย่างน้อย หนึ่งตัว 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่วิถีทางในการลดการตกตะกอนของน้ำดิน ดังกล่าว คือ ฐาน ที่สามารถเคลื่อนไหวได้ที่กำหนดให้สามารถกวนคนของที่บรรจุภายในภาชนะบรรจุน้ำ ดิน ดังกล่าว 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่วิถีทางในการเชื่อมต่อประกอบด้วยอย่าง น้อยท่อลำเลียงหนึ่งท่อ ท่อลำเลียงอย่างน้อยหนึ่งท่อดังกล่าวมีปลายเปิดที่หนึ่ง และปลายเปิดที่สอง โดยที่ปลายเปิดที่หนึ่งดังกล่าวเชื่อมต่อกับภาชนะบรรจุดังกล่าว และปลายเปิดที่สองเชื่อมต่อกับชุด ทำลวดลาย 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ชุดทำลวดลายถูกกำหนดให้สามารถรับท่อ ลำเลียงได้หลายท่อ ชุดทำลวดลายดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยหัวที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ที่ปลาย ท่อของแต่ละท่อลำเลียง 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ชุดทำลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วยวิถีทาง ในการผสมนำดินที่บรรจุภายในชุดทำลวดลายดังกล่าว 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่วิถีทางในการผสมน้ำดินคือตัวกวนอย่าง น้อยหนึ่งตัว 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ภาชนะบรรจุถูกติดตั้งให้มีระบบให้ความ ร้อนและวิถีทางในการควบคุมอุณหภูมิของน้ำดินที่บรรจุอยู่ภายใน 1 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ชุดทำลวดลายสามารถที่จะหมุนได้รอบ แกนทั้งในแนวแกน x,y,z 1 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ชุดทำลวดลายดังกล่าวถูกติดตั้งให้มีวาล์ว ควบคุมปริมาณของน้ำดินที่จะถูกจ่ายโดยผ่านหัวจ่ายที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ 1 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ชุดทำลวดลายดังกล่าวประกอบเพิ่มเติม ด้วยภาชนะรองรับลวดลาย 1 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 12 โดยที่ภาชนะรองรับลวดลายประกอบด้วย; ส่วนลำตัวสำหรับรับน้ำดินที่ถูกจ่ายมาจากชุดทำลวดลาย แผ่นเปิด-ปิด ที่วางตัวอยู่ที่บริเวฯก้นของภาชนะรองรับลวดลายดังกล่าว และ สกรูเกลียวที่วางตัวอยู่ภายในภาชนะรองรับลวดลายดังกล่าว สกรูเกลียวดังกล่าวถูก กำหนดให้หมุนรอบแกนตัวมันเองเพื่อป้อนน้ำดินดังกล่าวไปหาแผ่นเปิด-ปิด เพื่อกระจานน้ำดิน ดังกล่าวลงสู่กระบะก่อลวดลาย 1 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่ส่วนลำตัวของภาชนะรองรับลวดลายถูก แบ่งเพิ่มเติมออกเป็นตอน ๆ สำหรับบรรจุน้ำดินต่างชนิด สี สีผามของหลายสี และ/หรือลวดลายย่อย โดยใช้ผนังกั้นโซน 1 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่ผนังกั้นโซนติดตั้งเข้าด้วยกันแบบถอดได้ เข้ากับส่วนลำตัวของภาชนะรองรับลวดลาย ภาชนะรองรับลวดลายถูกกำหนดในลักษณะที่ให้จำนวน และขนาดของตอนสามารถเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้โดยการกำหนดผนังกั้นโซน 1 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่ภาชนะรองรับลวดลายประกอบเพิ่มเติม ด้วยฝาเปิด-ปิด และระบบนิวแมติกส์ถูกกำหนดเพื่อปรับเปลี่ยนความดันภายในภาชนะรองรับ ลวดลายดังกล่าวในลักษณะที่น้ำดินที่บรรจุภายในภาชนะรองรับลวดลายดังกล่าวถูกจ่ายโดย ควบคุมได้ลงสู่กระบะ ก่อลวดลาย 1 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่กระบะก่อลวดลายปรระกอบด้วยกรอบขอบ ที่ประกอบเข้ากับแผ่นกรอง กระบะก่อลวดลายแต่ละกระบะมีรูปร่างสอดคล้องกับรูปร่างของกระเบื้อง หรือแผ่นหินที่ต้องการ และเชื่อมต่อกันเป็นลักษณะห่วงสายพาน 1 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่กระบะก่อลวดลายแต่ละกระบะถูก กำหนดให้บรรจุน้ำ ดิน ที่จ่ายจากชุดทำลวดลาย และกระบะก่อลวดลายแต่ละอันสามารถถอดแยก ออกจากห่วงสายพาน 1 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่กระบะก่อลวดลายประกอบด้วยกรอบ ขอบนอกอย่างน้อยหนึ่งกรอบ 2 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่กระบะก่อลวดลายประกอบเพิ่มเติมด้วย กรอบขอบวงในที่สองอย่างน้อยหนึ่งอันภายในกรอบขอบนอกดังกล่าวเพื่อระบุพื้นที่ว่างในตำแหน่งที่ กำหนดไว้ล่วงหน้าในกระบะ รูปร่างของพื้นที่ว่างเลือกได้จาก สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า วงรี วงกลม และรูปร่างอิสระ 2 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่กรอบขอบอย่างน้อยหนึ่งขอบทำมาจาก วัสดุที่มีรูพรุน และ/หรือวัสดุที่ไม่มีรูพรุน ที่สามารถยุบตัวเมื่อมีแรงกดอัด และสามารถคืนตัวสู่รูปร่างเดิมได้ เมื่อแรงกดอัดถูกเอาออกไป 2 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 21 โดยที่อย่างน้อยหนึ่งกรอบขอบทำมาจากวัสดุที่ เลือกได้จาก ยางธรรมชาติ (natural rubber), โพลิเมอร์ธรรมชาติ (natural polymer), ยางสังเคราะห์ (systhetic rubber), เมอร์โมพลาสติกอิลาสโทเมอร์ (thermoplatic elastomer), ยางซิลิโคน (silicon rubber) , ยางบิวทาไดอีน (butadiene rubber), ยางอีโบไนต์ (ebonite rubber) ,ยางอีทีวี (elevated temperature vulcanized rubber), ยางยูรีเทน (urethane rubber) , ยางฟลูออรีน (fluorine rubber) , และยางนีโอพรีน (neoprene rubber) หรือโลหะ ที่มีการออกแบบให้เกิดการยืดหดได้ในขณะได้รับ แรงอัด 2 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่แผ่นกรองดังกล่าวเป็นวัสดุมีรูพรุน 2 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 17 โดยที่แผ่นกรองดังกล่าวทำมาจากวัสุที่เลือก ได้จาก เส้นใยขนสัตว์ ไนลอน ตะแกรงเหล็ก โพลีโพรไพลีน โพลีเอสเตอร์ โพลีบิวทีลีน และโพลีอาไมด์ 2 5. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ชุดอัดขึ้นรูปประกอบด้วยแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่าง ผิวหน้าเรียบของแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัวล่างเป็นรูพรุน 2 6. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปประกอบเพิ่มเติมด้วยท่อ ระบายสำกรับกักเก็บน้ำส่วนเกิน และอนุภาคที่ลอดผ่านจากการอัดรีดน้ำดิน 2 7. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่อย่างน้อยแบบอัดตัวบน และแบบอัดตัว ล่างหนึ่งอันมีกรอบรักษารูปร่างรอบ ๆ ขอบของมัน 2 8. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 27 โดยที่วิถีทางในการปรับเปลี่ยนความสูงของ กรอบรักษารูปร่างมีการเตรียมไว้ให้ 2 9. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 27 โดยที่กรอบรักษารูปร่างที่แบบอัดตัวล่างในด้าน ขาเข้า และขาออกของกระบะก่อลวดลายสามารถที่จะเลื่อนขึ้นหรือลงเพื่อปล่อยให้กระบะก่อ ลวดลายเคลื่อนเข้ามา หรือออกไปได้ 3 0. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปประกอบเพิ่มเติมด้วยปั๊ม สุญญากาศ เพื่อกำจัดน้ำส่วนเกินและอนุภาคที่กักเก็บอยู่ที่ท่อระบายของแบบอัดตัวบนและแบบอัด ตัวล่าง ออก 3 1. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปประกอบเพิ่มเติมด้วย แหล่งกำเนิดลมเพื่อเป่าลมไล่น้ำส่วนเกินไปยังท่อระบาย 3 2. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่ชุดอัดรีดขึ้นรูปประกอบเพิ่มเติมด้วย หน่วยให้ความร้อน และวิถีทางที่จะควบคุมอุณหภูมิของน้ำดินในระหว่างการอัดรีดเพื่อให้ง่ายต่อการ รีดน้ำส่วนเกิน ออก 3 3. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยหน่วยวัดน้ำหนักที่ ควบคุมด้วยเซนเซอร์ สำหรับควบคุมปริมาณน้ำดินที่ถูกจ่ายลงสู้กระบะก่อลวดลาย โดยที่การทำงาน ของเซนเซอร์จะเป็น ผลให้ชุดทำลวดลายหยุดจ่าย 3 4. ชุดเครื่องดังข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยสถานีทำความสะอาด โดย ที่หลังจากเสร็จสิ้นการอัดขึ้นรูป และกระเบื้องหรือแผ่นหินดิบได้ถูกเคลื่อนย้ายออกไปแล้ว กระบะก่อ ลวดลายยังคงเดินหน้าต่อไปยังสถานีทำความสะอาดเพื่อทำความสะอาดก่อนที่จะวนเข้าสู่ระบบการ ผลิตใหม่ 3 5. กรรมวิธีในการก่อลวดลายในกระเบื้องเซรามิกหรือแผ่นหินโดยที่ลวดลาย ปรากฏทั่วตลอดความหนา ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ การเตรียมน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งอย่าง โดยที่วัตถุดิบสำหรับการผลิตกระเบื้องหรือ เซรามิกหรือ แผ่นหินถูกบดในหม้อบกแบบเปียกเพื่อให้ได้น้ำดินตามต้องการ เติมสีเซรามิกหรือเกล็ดสีเพื่อให้ได้สีตามต้องการ เติมสารปรับแต่งเพื่อลดความหนืดของน้ำดินหรือเพื่อเพิ่มความแข็งของกระเบื้อง หรือแผ่นหินตามต้องการ พักน้ำดินที่ได้แยกภาชนะบรรจุ ป้อนน้ำดินอย่างน้อยหนึ่งอย่างไปยังชุดทำลวดลาย เคลื่อนชุดทำลวดลายไปอยู่เหนือกระบะก่อลวดลายเพื่อจ่ายน้ำดินลงสู่กระบะก่อ ลวดลายดังลวดลายที่ต้องการ 3 6. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่น้ำดินประกอบด้วยวัสดุดิบแห้งในช่วง 30- 70% โดยน้ำหนัก 3 7. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่สารเติมแต่งเลือกได้จาก สารป้องกันการ ก่อตัว (Deflocculant) สารกระจายตัว (Dispersant), สารก่อตัว (Floculant), สารลดฟอง (Defoaming agent), สารปรับแรงตึงผิว (Surfactant) 3 8. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 สารเติมแต่ง ประกอบด้วยถึง 5% ของสาร ปรับแต่งหรือดัดแปลงคุณสมบัติของกระเบื้องหรือแผ่นหินเลือกได้จาก โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ (PVA), โพลีไวนิลอะซีเทต (PVAc), คาร์บอกซีเมททิลเซลลูโลส(CMC), เมทิลเซลลูโลส (Methylcellulose), เอททีลีนไวนิลอะซิเตท (EVA), แป้ง (Starch, Modifie Starch), เซลลูโลส ไฟเบอร์ (Cellulose fiber), เส้นใยอินทรีย์ (Organic fiber), เส้นใยอนินทรีย์ (Inorganic fiber) 3 9. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่น้ำดินถูกรักษาที่อุณหภูมิห้อง และ/หรือให้ ความร้อนถึง 70 องศาเซลเซียส 4 0. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่น้ำดินที่ถูกจ่ายเพื่อก่อเปป็นลวดลายที่ ต้องการถูกจ่ายให้ เป็นไปตามค่าที่บันทึกไว้ล่วงหน้าในโปรแกรมประยุกต์ ร่วมกับการเปลี่ยนรูปร่าง รูปแบบของหัวจ่าย และ/หรือ ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงความดันภายในภาชนะบรรจุน้ำดิน และ/หรือ ร่วมกับการเปลี่ยนความเร็วของการเคลื่อนที่ของชุดทำลวดลาย และ/หรือร่วมกันทั้งหมด 4 1. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่ระหว่างการกาอลวดลายที่ต้องการ ชุดทำ ลวดลายเคลื่อนไปข้างหน้า ถอยหลัง ไปข้างซ่าย ไปข้างขวา และเป็นวงกลม เพื่อจ่ายน้ำดินตามค่าที่ บันทึกไว้ ล่วงหน้าในโปรแกรมประยุกต์ ที่ความเร็วกำหนดไว้ล่วงหน้า 4 2. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 35 โดยที่น้ำดินถูกปล่อยให้ผสมกันอย่างอิสระ ภายในชุดทำ ลวดลายก่อนที่จะถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็นลวดลายที่ต้องการ 4 3. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 36 โดยที่น้ำดินถูกผสมเพื่อเติมโดยการใช้ตัวกวน ทำงานที่ ความเร็ว ที่กำหนดก่อนที่จะถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลายเพื่อก่อเป็นลวดลายที่ต้องการ 4 4. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 33 โดยที่น้ำดินถูกจ่ายลงสู่ภาชนะรองรับลวดลาย ก่อนแล้วจึงจ่าย ลงสู่กระบะก่อลวดลาย 4 5. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 43 โดยที่น้ำดินถูกจ่ายลงสู่ภาชนะรองรับลวดลาย ถูกจ่ายแยกกันใน ตอนที่แยกกันของภาชนะรองรับลวดลายตามความแตกต่างของชนิด สี สีผสม และ/หรือลวดลายย่อย โดยที่การหมุนของสกรูเกลียวน้ำดินถูกจ่ายลงสู่กระบะก่อลวดลายผ่านช่อง เปิด-ปิดที่บริเวณก้นของภาชนะรองรับลวดลาย 4 6. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 44 โดยที่น้ำดินถูกจ่ายในสภาวะสุญญากาศควบคุม โดยระบบนิวเเมติกส์ร่วมกับการควบคุมแผ่นเปิดปิดที่บริเวณก้นของภาชนะรองรับลวดลาย 4 7. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 37 โดยที่ระหว่างการกดอัดขึ้นรูปอุณหภูมิของน้ำดิน ถูกรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง และ/หรือให้ความร้อนถึง 70 องศาเซสเซียส 4 8. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 36 โดยที่ระหว่างการกดอัดขึ้นรูปมีวิถีทางที่จะรักษา รูปร่างของกระเบื้องหรือแผ่นหินในขณะกดอัดเพื่อรักษารูปร่างและลวดลายของแผ่นกระเบื้องและ/ หรือแผ่นหินดิบที่ได้จากการขึ้นรูปน้ำดิน 4 9. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 36 โดยที่ก่อนการจ่ายน้ำดินลงสู่กระบะก่อลวดลาย ชิ้นแบที่มี รูปร่างที่ต้องการถูกนำไปวางในตำแหน่งที่ต้องการภายในกระบะก่อลวดลาย เพื่อที่จะผลิต กระเบื้องหรือแผ่นหินดิบที่มีพื้นที่ว่างภายในสอดคล้องกับรูปร่างของชิ้นแบบในตำแหน่งที่กำหนด 5 0. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 49 โดยที่ชิ้นแบบถูกเลือกจากที่มีรูปร่าง สี่เหลี่ยม จัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า วงรี วงกลม หรือรูปร่างอิสระ 5
1. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 36 ที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยขั้นตอนการตกแต่ง หรือ ทำให้ลวดลายหลากหลายในขณะที่กำลังก่อลวดลาย และ/หรือหลังก่อลวดลายเสร็จสิ้นแล้ว โดยการ ใช้อุปกรณ์ตกแต่งลวดลายที่สามารถลาก จุ่ม คนกวน ผสม และ/หรือกวาด เพื่อให้เกิดลวดลายที่มีมิติที่ ต้องการ 5
2. กรรมวิธีดังข้อถือสิทธิที่ 36 โดยที่แผ่งกระเบื้องและ/หรือแผ่นหินดิบทีมี ลวดลายที่ต้องการถูกนำไปอบและเผาตามมาตรฐาาน
TH701004776A 2007-09-21 ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีนี้ TH64005B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH128009B TH128009B (th) 2013-10-07
TH128009A TH128009A (th) 2013-10-07
TH64005B true TH64005B (th) 2018-08-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US8333916B2 (en) Apparatus and method for forming a pattern in ceramic tile or slab with prescribed thickness
KR100239991B1 (ko) 무늬가 든 성형체의 제조 장치 및 상기 제조장치를 이용하여 무늬가 든 성형체의 제조 방법
KR101484350B1 (ko) 결무늬 효과를 갖는 슬래브를 제작하기 위한 장치 및 방법
DK2718072T3 (en) Concrete brick making device and method for making at least two-tone concrete bricks
CA2582416C (en) Apparatus for distributing in a thin layer a mix based on agglomerate stone or ceramic material
JPH06238639A (ja) 模様入り成形体の成形装置、及び模様入り成形体の製造方法
CN108437184B (zh) 一种板材纹理布料机及布料工艺
CN112405820B (zh) 一种特种轻质混凝土生产装置及工艺
RU2443551C2 (ru) Способ и устройство формирования рисунка на керамической плитке или плите с заданной толщиной
TH64005B (th) ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีนี้
TH128009A (th) ชุดเครื่องและกรรมวิธีการทำลวดลายและการขึ้นรูปเซรามิกแบบแผ่นและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีนี้
WO2003022543A1 (fr) Procede et unite a double distribution permettant la formation de carreaux de ceramique et produits obtenus conformement audit precede
CN211517933U (zh) 混凝土试块制作系统
EP1717000B1 (en) A device for making continuous veining of desired patterns extending through the entire thickness of a product and a process of making thereof
CN203994145U (zh) 一种轻质复合板材的自动化生产线
CN106393418B (zh) 一种复合墙板布料机
CN105984028B (zh) 一种仿天然石材陶瓷砖布料系统及其布料方法
EP0922549A1 (en) Method and device for loading ceramic press moulds
CN205185375U (zh) 一种自动铺料装置
CN205561994U (zh) 一种可准确称重的铺料装置
CN205220005U (zh) 一种自动铺料装置
CN218748442U (zh) 一种蒸压加气砖模箱侧板自动喷油装置
CN209775058U (zh) 一种陶瓷砖布料装置
WO2018162936A4 (en) Apparatus and method for producing a paver block having veined tread surface
CN205467806U (zh) 一种铺料装置