TH44373B - ชิ้นส่วนดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ - Google Patents

ชิ้นส่วนดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ

Info

Publication number
TH44373B
TH44373B TH301003221A TH0301003221A TH44373B TH 44373 B TH44373 B TH 44373B TH 301003221 A TH301003221 A TH 301003221A TH 0301003221 A TH0301003221 A TH 0301003221A TH 44373 B TH44373 B TH 44373B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
concave
wall
mentioned above
absorbing device
rib
Prior art date
Application number
TH301003221A
Other languages
English (en)
Other versions
TH71900A (th
Inventor
ทามาดะ นายเทรุโอะ
อินูอิ นายฮิโรโอะ
Original Assignee
นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์
นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์ นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง นายทวีพูล ศรีหงส์
นายทวีพูล ศรีหงส์
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง, นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์, นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์ นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง นายทวีพูล ศรีหงส์, นายทวีพูล ศรีหงส์ filed Critical นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
Publication of TH71900A publication Critical patent/TH71900A/th
Publication of TH44373B publication Critical patent/TH44373B/th

Links

Abstract

DC60 (20/06/57) ระบบถูกเปิดเผยสำหรับการดูดซับแรงกระแทก, ระบบนั้นประกอบด้วย ชิ้นส่วนดูดซับพลังงาน เทอร์โมพลาสติกถูกขึ้นรูปโดยการเป่า การเป่าขึ้นรูปเทอร์โมพลาสติกชิ้นส่วนดูดซับพลังานจัดให้มีตรง กันข้ามกับผนังที่หนึ่งและสองที่กำหนดช่องว่างกลวง ตามรูปแบบการประดิษฐ์หนึ่ง พหุจำนวนของริบ รูปทรงเว้าที่ถูกเชื่อมรวมและไม่ถูกเชื่อมรวมขึ้นรูปเป็นเนื้อเดียวกัน ระหว่างผนังที่หนึ่งและผนังที่สอง ริบรูปทรงเว้าที่ถูกเชื่อมรวมมีปลายของริบรูปทรงเว้าที่ถูกเชื่อมรวม ปลายของริบรูปทรงเว้าที่ถูกเชื่อม รวมเป็นเนื้อเดียวกันทั้งปลายริบรูปทรงเว้าที่อยู่ตรงกันข้าม หรือผนังที่ตรงข้ามเข้าหากันที่ผิวเชื่อม ดัง เช่นความสูงของริบรูปทรงเว้าจากผนังที่หนึ่งถึงผิวเชื่อม คือ 15 ถึง 45 มิลลิเมตรโดยประมาณ ริบรูป ทรงเว้าตามรูปแบบการประดิษฐ์หนึ่ง ถูกเชื่อมต่อโดยพหุจำนวนของริบเชื่อมต่อกันโดยตรง เป็นการนำเสนออุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ ที่มีการดูดซับแรงกระแทกได้ อย่างดีเยี่ยม ในการใช้เป็นวัสดุดูดซับ แรงกระแทกซึ่งติดตั้งไว้ภายในส่วนประกอบของรถยนต์ ซึ่ง ป้อง กันการงอย่นของริบรูปทรงเว้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดูดซับ แรงกระแทกที่ลดลงจากกรณีที่ได้ รับความเค้นที่เกิดจากแรง กระแทกอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งไม่เกิดการอุดตันของเรซิน ต่างๆ อันเนื่อง มาจากกระบวนการเป่าขึ้นรูป อุปกรณ์ดูดซับ แรงกระแทกของยานพาหนะ 1 เป็นสิ่งที่มีสภาพ กลวงด้านใน ที่ เกิดจากการเป่าขึ้นรูปเทอร์โมพลาสติกเรซิน มีผนังที่หนึ่ง 3 และผนังที่สอง 4 อยู่ ตรงข้ามกัน ผนังที่หนึ่งซึ่งกล่าวมา ข้างต้นหันด้านที่ยุบ เข้าหาผนังที่สองซึ่งกล่าวมาข้างต้น รวมทั้ง ผนังที่สองซึ่ง กล่าวมาข้างต้นหันด้านที่ยุบเข้าหาผนังด้านที่หนึ่งซึ่งกล่าว มาข้างต้น ถูกขึ้นรูปเป็นริบ รุปทรงเว้าที่อยู่ตรงข้ามกัน จำนวนมาก ซึ่งเกิดจากริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่ง 5 กับริบรูป ทรงเว้าอีกด้าน หนึ่ง 6 มีผิวเชื่อมติด 7 ซึ่งเชื่อมติดส่วน ปลายของริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นกับริบรูป ทรงเว้าอีกด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นเข้าด้วยกันเป็นเนื้อ เดียวกัน โดยริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าว มาข้างต้นถูกขึ้น รูปให้มีความสูง 15.0 ~ 45.0 มิลลิเมตร จากผนังที่หนึ่งที่ กล่าวมาข้างต้นถึงผิว เชื่อมติด รวมทั้งริบรูปทรงเว้าอีก ด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นถูกขึ้นรูปให้มีความสูง 15.0 ~ 45.0 มิลลิเมตร จากผนังที่สองที่กล่าวมาข้างต้นถึงผิว เชื่อมติด และอุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยาน พาหนะ ที่กล่าว มาข้างต้น มีระยะห่างเฉลี่ยระหว่างผนังที่หนึ่งที่กล่าวมา ข้างต้นกับผนังที่สองที่ กล่าวมาข้างต้น 30.0~ 90.0 มิลลิเมตร อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ 1 ทำจากเร ซิน ที่มีคุณสมบัติเชิงกลอยู่ในระดับที่ดี เช่น โพลิเอทิลีน โพ ลิโอลิฟินอย่างเช่น โพลิโพพิลีน โพลิส ไตรีน เรซินสไตรีนอ ย่างเช่น เรซิน ABS เรซินโพลิเอสเตอร์อย่างเช่น โพลิเอทิ ลีนเทเรฟูทาเลท และโพลิอมิโดต่างๆ เป็นต้น

Claims (8)

1. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ ซึ่งมีลักษณะเด่นตรงที่ เป็นอุปกรณ์ดูดซับ แรงกระแทกของยานพาหนะที่มีสภาพ กลวงด้านใน ซึ่งมีผนังที่หนึ่งและผนังที่สองที่อยู่ตรงข้าม กัน ผนังที่หนึ่งซึ่งกล่าวมาข้างต้นหันด้านที่ยุบเข้าหาผนัง ที่สองซึ่งกล่าวมาข้างต้น รวมทั้งผนังที่สองซึ่ง กล่าวมา ข้างต้นหันด้านที่ยุบเข้าหาผนังด้านที่หนึ่งซึ่งกล่าวมา ข้างต้น ถูกขึ้นรูปเป็นริบรูปทรงเว้าที่ อยู่ตรงข้ามกัน จำนวนมาก ซึ่งเกิดจากริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งกับริบรูปทรง เว้าอีกด้านหนึ่ง มีผิวเชื่อม ติดซึ่งเชื่อมติดส่วนปลายของ ริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นกับริบรูปทรงเว้า อีกด้านหนึ่งที่ กล่าวมาข้างต้นเข้าด้วยกันเป็นเนื้อเดียว กัน โดยถูกขึ้นรูปเป็นริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้าง ต้น ให้มีความสูง 15.0 ~ 45.0 มิลลิเมตร จากผนังที่หนึ่งที่กล่าว มาข้าง่ต้น ถึงผิวเชื่อมติด รวมทั้ง ถูกขึ้นรูปเป็นริบรูป ทรงเว้าอีกด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้น ที่มีความสุง 15.0~45.0 มิลลิเมตร จาก ผนังที่สองที่กล่าวมาข้างต้นถึงผิว เชื่อมติด และอุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่กล่าว มา ข้าง่ต้น มีระยะห่างเฉลี่ยระหว่างผนังที่หนึ่งที่กล่าวมา ข้างต้นกับผนังที่สองที่กล่าวมาข้างต้น 30.0 ~ 90.0 มิลลิเมตร 2. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ที่บริเวณริบรูปทรงเว้า ที่อยู่ตรงข้ามกันซึ่งถูกขึ้นรูปจำนวนมากนั้น มีการขึ้นรูป ริบเชื่อมต่อเข้า ด้วยกันที่ผนังที่หนึ่งที่กล่าวมาข้างต้น หรือผนังที่สองที่กล่าวมาข้างต้น ริบเชื่อมต่อที่กล่าวมา ข้างต้น แทรกอยู่ในระหว่างริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมา ข้างต้นด้วยกันเองหรือริบรูปทรงเว้าอีกด้าน หนึ่งที่กล่าวมา ข้างต้นด้วยกันเอง ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เชื่อมต่อเข้าด้วย กันให้มีรูปทรงเป็นเนื้อเดียวกัน 3. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 2 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ อยู่ในขอบเขต 3.0 น้อย กว่าหรือเท่ากับ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ สูตร(a / 0.5) เมื่อกำหนดให้ b คือความลึกของ ริบเชื่อมต่อที่กล่าว มาข้างต้น และ a คือระยะห่างเฉลี่ย ระหว่างผนังที่หนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นกับผนังที่สองที่ กล่าวมา ข้างต้น 4. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 2 ซึ่งมีลักษษะเด่น ตรงที่ ริบรูปทรงเว้าที่กล่าว มาข้างต้น ถูกวางตำแหน่งอยู่บนเส้นตรงสมมุติ รวมทั้งริบ เชื่อมต่อที่ กล่าวมาข้างต้น ถูกขึ้นรูปอยู่บนเส้นตรงสมมุติ โดยเส้นตรงสมมุติที่กล่าวมาข้างต้น ถูกวาง ตำแหน่งอยู่ใน ขอบเขตที่ทำมุม 30 ~ 60 ํ กับเส้นแนวนอน 5. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทดของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ริบเชื่อมต่อที่กล่าวมา ข้างต้น ถูกขึ้นรูปโดยมีความยาวโดยรวมของริบเชื่อมต่อทั้ง หมดนั้น อยู่ ในขอบเขต 10 ~ 60% ของความยาวโดยรวมของเส้นตรง สมมุติทั้งหมด 6. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 2 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ริบเชื่อมต่อที่กล่าวมา ข้างต้น เป็นร่องเว้าที่มีความลึก 3.0 ~ 15.0 มิลลิเมตร และ ความกว้าง 2.0 ~ 5.0 มิลลิเมตร 7. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ มีการขึ้นรูปส่วนพองออก ให้มีความหนา 0.5 ~ 6.0 mm ตรงที่ส่วนหนึ่งของผิวเชื่อมติด ที่ กล่าวมาข้างต้น 8. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 7 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ส่วนพองออกที่กล่าวมา ข้างต้น ถูกขึ้นรูปให้มีสภาพกลวง 9. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 7 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ส่วนพองออกที่กล่าวมา ข้างต้น มีส่วนขั้นบันไดซึ่งยื่นออกจากผิวเชื่อมติด โดยมี ความสูง 0.5 ~1.5 มิลลิเมตร ในทิศทางแกนของริบรูปทรงเว้า 1 0. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ประกอบด้วยริบรูปทรง เว้าที่อยู่ตรงข้ามกัน ที่มีผิวเชื่อมติดซึ่งเชื่อมติดส่วน ปลายของริบรูป ทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นกับริบรูป ทรงเว้าอีกด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นเข้าด้วยกันเป็นเนื้อ เดียวกัน และริบรูปทรงเว้าที่อยู่ตรงข้ามกัน ซึ่งมีส่วน ปลายของริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้าง ต้นกับริบรูป ทรงเว้าอีกด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นอยู่ใกล้ชิดกัน ที่มี ระยะห่างเฉลี่ยระหว่างกัน 5.0 ~18.0 มิลลิเมตร 1
1. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 10 ซึ่งมีลักษณะ เด่นตรงที่ มีริบรูปทรงเว้าที่ อยู่ตรงข้ามกันซึ่งเป็นผนังเชื่อมติดที่กล่าวมาข้างต้น เป็นจำนวน 50 ~ 80% และมีริบรูปทรงเว้าที่อยู่ตรงข้ามกันซึ่ง มีระยะห่างระหว่างกันดังที่กล่าวมาข้างต้น เป็น จำนวน 50 ~ 20% ต่อจำนวนโดยรวมของริบรูปทรงเว้าซึ่งถูกขึ้นรูปเป็น อุปกรณ์ดูดซับแรง กระแทกของยานพาหนะที่กล่าวข้างต้น 1
2. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 10 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ส่วนปลายของริบที่อยู่ ตรงข้ามกันซึ่งมีระยะห่างระหว่างกันดังที่กล่าวมาข้างต้น ถูกขึ้นรูป เป็นรูปทรงเว้าหรือรูปทรงนูน 1
3. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ เป็นอุปกรณ์ดูด ซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่มีสภาพ กลวงด้านใน ซึ่งมีผนังที่หนึ่งและผนังที่สองอยู่ตรงข้ามกัน ผนังที่หนึ่งซึ่งกล่าวมาข้างต้นหันด้านที่ยุบเข้าหาผนังที่ สองซึ่งกล่าวมาข้างต้น ประกอบขึ้นเป็นริบ รูปทรงเว้าจำนวน มาก มีผิวเชื่อมติดซึ่งเชื่อมติดส่วนปลายของริบรูปทรงเว้า ที่กล่าวมาข้างต้นกับ ผนังที่สองที่กล่าวมาข้างต้นเข้าด้วย กันเป็นเนื้อเดียวกัน โดยริบรูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมา ข้าง ต้น ถูกขึ้นรูปให้มีความสูง 15.0 45.0 mm จากผนังที่ หนึ่งที่กล่าวมาข้างต้น ถึงผิวเชื่อมติด 1
4. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 13 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ มีการขึ้นรูปริบเชื่อม ต่อเข้าด้วยกันที่ผนังที่หนึ่งที่กล่าวมาข้างต้น ริบเชื่อม ต่อที่กล่าวมาข้าง ต้น แทรกอยู่ในระหว่างริบรูปทรงเว้าด้าน หนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นด้วยกันเอง ที่อยู่ใกล้เคียงกัน เชื่อม ต่อเข้าด้วยกันให้มีรูปทรงเป็นเนื้อเดียวกัน โดยอยู่ ในขอบเขต 3.0 น้อยกว่าหรือเท่ากับ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ สูตร(a/0.5)เมื่อกำหนดให้ b คือ ความลึกของริบ เชื่อมต่อที่กล่าวมาข้างต้น และ a คือระยะห่างเฉลี่ย ระหว่างผนังที่หนึ่งที่กล่าว มาข้างต้นกับผนังที่สองที่ กล่าวมาข้างต้น 1
5. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 14 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ริบรูปทรงเว้าที่กล่าว มาข้างต้น ถูกวางตำแหน่งอยู่บนเส้นตรงสมมุติ รวมทั้งริบ เชื่อมต่อที่ กล่าวมาข้างต้น ถูกขึ้นรูปอยู่บนเส้นตรงสมมุติ โดยเส้นตรงสมมุติที่กล่าวมาข้างต้น ถูกวาง ตำแหน่งอยู่ในขอบ เขตที่ทำมุม 30 ~ 60 ํกับเส้นแนวนอนริบเชื่อมต่อที่กล่าวมา ข้างต้น ถูกขึ้นรูป โดยมีความยาวโดยรวมของริบเชื่อมต่อทั้ง หมดนั้น อยู่ในขอบเขต 10 ~ 60% ของความยาวโดย รวมของเส้นตรง สมมุติทั้งหมด และเป็นร่องเว้าที่มีความลึก 3.0 ~ 15.0 มิลลิเมตร และความกว้าง 2.0 ~ 5.0 มิลลิเมตร 1
6. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 13 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ มีการขึ้นรูปส่วนพอง ออกให้มีสภาพกลวง โดยมีความหนา 0.5 ~ 6.0 มิลลิเมตร ตรงที่ ส่วน หนึ่งของผิวเชื่อมติดที่กล่าวมาข้างต้น 1
7. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 13 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ ประกอบด้วยริบรูปทรง เว้า ที่มีผิวเชื่อมติดซึ่งเชื่อมติดส่วนปลายของริบรูปทรง เว้าด้านหนึ่งที่ กล่าวมาข้างต้นกับผนังที่สองเข้าด้วยกัน เป็นเนื้อเดียวกัน และริบรูปทรงเว้า ซึ่งมีส่วนปลายของริบ รูปทรงเว้าด้านหนึ่งที่กล่าวมาข้างต้นกับผนังที่สองอยู่ ใกล้ชิดกัน ที่มีระยะห่างเฉลี่ยระหว่างกัน 5.0 ~ 18.0 มิลลิเมตร 1
8. อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่ระบุในข้อถือ สิทธิที่ 13 ซึ่งมีลักษณะเด่น ตรงที่ มีริบรูปทรงเว้าซึ่ง เป็นผนังเชื่อมติดที่กล่าวมาข้างต้น เป็นจำนวน 50 ~ 80% และ มีริบรูป ทรงเว้ามีระยะห่างระหว่างกันดังที่กล่าวมาข้างต้น เป็นจำนวน 50 ~ 20% ต่อจำนวนโดยรวม ของริบรูปทรงเว้าซึ่งถูก ขึ้นำปเป็นอุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะที่กล่าวมา ข้างต้น
TH301003221A 2003-08-29 ชิ้นส่วนดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ TH44373B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH71900A TH71900A (th) 2005-11-07
TH44373B true TH44373B (th) 2015-05-25

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2504485C (en) Impact absorbing member for vehicle
JP4303692B2 (ja) 衝撃エネルギー吸収体
KR101868011B1 (ko) 차량용 범퍼의 모순되는 조절 요건을 위한 에너지 흡수 시스템
US6755452B2 (en) Energy absorption unit
JP4280153B2 (ja) 車両用衝撃吸収体
CN104039602A (zh) 多级能量吸收器及制造和使用其的方法
CN101622469B (zh) 车辆用冲击吸收体
JP6041313B2 (ja) 車両用バンパー構造、及び、バンパーアブソーバー
AU2005317172A1 (en) Bumper for pedestrian impact having thermoformed energy absorber
CN102933431A (zh) 冲击吸收体及冲击吸收体的制造方法
JP2006506277A5 (th)
JP2004535322A (ja) 車両取付用エネルギー吸収システム
JP2006515541A (ja) 発泡及び非発泡構成部品を一体化したバンパ
WO2004101323A1 (ja) 自動車の衝撃吸収体
CN101010221A (zh) 包括有低通路能量吸收件的汽车部件
JP2007504053A (ja) エネルギー吸収車両フェンダ
JP2009515772A (ja) エネルギー吸収車両フェンダー
JP4584444B2 (ja) 自動車の衝撃吸収部材
TH44373B (th) ชิ้นส่วนดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ
TH71900A (th) ชิ้นส่วนดูดซับแรงกระแทกของยานพาหนะ
JP2009023521A (ja) 車両用衝撃吸収体
JP2020019308A (ja) 車体のフレーム構造
KR100428982B1 (ko) 멀티 셀 튜브를 이용한 완충 포장상자
JP2010116152A (ja) 車両用フロアスペーサ
JP6769815B2 (ja) 発泡成形体の製造方法、発泡成形体及びバンパアブソーバ