TH39382A - ระบบและวิธีการสกัดกั้นสิ่งชะล้างโดยการใช้อ่างไหลย้อนใต้ดิน - Google Patents
ระบบและวิธีการสกัดกั้นสิ่งชะล้างโดยการใช้อ่างไหลย้อนใต้ดินInfo
- Publication number
- TH39382A TH39382A TH9701002081A TH9701002081A TH39382A TH 39382 A TH39382 A TH 39382A TH 9701002081 A TH9701002081 A TH 9701002081A TH 9701002081 A TH9701002081 A TH 9701002081A TH 39382 A TH39382 A TH 39382A
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- groundwater
- level
- area
- basin
- pit
- Prior art date
Links
Abstract
DC60 วิธีการและระบบในการเก็บและสกัดกั้นสิ่งชะล้างจากหลุมขยะ ที่ใช้อ่างระบายใต้ดิน เพื่อสร้าง รูปแบบการไหลลงสู่อ่างระบายที่จำกัดอยู่ภายใน บริเวณที่สกัดกั้นไว้ และทำให้ลดโอกาส ในการเกิด การปนเปื้อนน้ำใต้ดินในบริเวณนั้นให้มีน้อยที่สุด ใน การฝังบรรจุแบบแรกของ สิ่งประดิษฐ์นี้ สำหรับการใช้ ในพื้นที่ที่มีความราบมากพอสมควร จะมีผนังกั้นเป็น กรอบและหยั่งลึก ต่อลงไปในชั้นกั้นรองในก้นหลุม ที่ เป็นชั้นทึบน้ำใต้ดิน (aquitard) ชั้นของดินเหนียว หรือวัสดุ สังเคราะห์ อย่างหนึ่ง ผนังกั้นและชั้นกั้นรองในก้นหลุมจะกำหนด บริเวณพื้นที่ที่สกัดกั้นที่มีอ่าง ระบายอยู่ภายใน ซึ่งใส่ไว้ ให้อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน สิ่งชะล้างและน้ำใต้ดินจะ ถูกปล่อยให้ปะปน ผสมกันภายในอ่างนี้ รูปแบบของ การไหลของน้ำลงสู่อ่างจะถูกชักให้เกิดขึ้นในทิศทาง ที่ต้องการ โดยการเก็บเข้าและนำน้ำที่ปะปนผสมกัน ระหว่างสิ่งชะล้างและน้ำใต้ดินนี้ออกจากอ่างระบาย เพื่อ ลดระดับของสิ่งชะล้างในอ่างระบาย ให้ลงไปอยู่ที่ ระดับที่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดินที่อยู่ภายนอกผนัง กั้นและ ให้ต่ำกว่าระดับเพียซโซเมตริกที่ใต้อ่าง ถึงแม้ว่าอ่างนี้จะ อยู่ใต้ผิวดิน ขยะส่วนใหญ่จะถูกเท ลงบนพื้นที่ที่อยู่เหนือ ระดับน้ำใต้ดิน ทั้งนี้ โดยการถมคลุมอ่างด้วยชั้นของวัสดุ ดินให้ถึงระดับที่ ส่วนบนของวัสดุดินนั้นอยู่เหนือระดับน้ำ ใต้ดิน และโดยการใส่ขยะลงบนวัสดุดินนั้น ในการฝัง บรรจุอีกแบบหนึ่ง สำหรับใช้ในพื้นที่แบบถมหุบเขา จะ มีสันดอนน้ำใต้ดิน รูปแบบการไหลของน้ำ ขึ้นมาจาก พื้นท้องหุบเขา และผนังกั้นขวางพื้นท้องหุบเขาไปตาม ขอบด้านต่ำสุดของหลุมขยะ ทำให้ เกิดเป็นบริเวณสกัด กั้นที่จะจำกัดบริเวณอ่างระบาย ซึ่งประกอบด้วยระบบ ระบายแบบผืนคลุมทั่ว บริเวณและมีร่องระบายแบบ หลายๆ ร่อง ในการฝังบรรจุนี้ มีการใช้ร่องนำน้ำเข้า ที่ อยู่ภายนอกผนัง กั้น และอยู่ตามหรืออยู่ภายในสันดอน น้ำใต้ดิน เพื่อรักษาระดับน้ำใต้ดินตามจุดเหล่านี้ ให้สูง กว่า ระดับน้ำใต้ดินอีกฝั่งหนึ่งที่อยู่ ภายในบริเวณที่ สกัดกั้น วิธีการและระบบในการเก็บและสกัดกั้นสิ่งชะล้างจากหลุมขยะ ที่ใช้อ่างระบายใต้ดิน เพื่อสร้าง รูปแบบการไหลลงสู่อ่างระบายที่จำกัดอยู่ภายใน บริเวณที่สกัดกั้นไว้ และทำให้ลดโอกาสในการเกิด การปนเปื้อนน้ำใต้ดินในบริเวณนั้นให้มีน้อยที่สุด ใน การฝังบรรจุแบบแรกของสิ่งประดิษฐ์นี้ สำหรับการใช้ ในพื้นที่ที่มีความราบมากพอสมควร จะมีผนังกั้นเป็น กรอบและหยั่งลึกต่อลงไปในชั้นกั้นรองในก้นหลุม ที่ เป็นอะคีทาร์ด ชั้นของดินเหนียว หรือวัสดุสังเคราะห์ อย่างหนึ่ง ผนังกั้นและชั้นกั้นรองในก้นหลุมจะกำหนด บริเวณพื้นที่ที่สกัดกั้นที่มีอ่างระบายอยู่ภายใน ซึ่งใส่ไว้ ให้อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดิน สิ่งชะล้างและน้ำใต้ดินจะ ถูกปล่อยให้ปะปนผสมกันภายในอ่างนี้ รูปแบบของ การไหลของน้ำลงสู่อ่างจะถูกชักให้เกิดขึ้นในทิศทาง ที่ต้องการโดยการเก็บเข้าและนำน้ำที่ปะปนผสมกัน ระหว่างสิ่งชะล้างและน้ำใต้ดินนี้ออกจากอ่างระบาย เพื่อลดระดับของสิ่งชะล้างในอ่างระบาย ให้ลงไปอยู่ที่ ระดับที่ต่ำกว่าระดับน้ำใต้ดินที่อยู่ภายนอกผนังกั้นและ ให้ต่ำกว่าระดับเพียซโซเมตริกที่ใต้อ่าง ถึงแม้ว่าอ่างนี้จะ อยู่ใต้ผิวดิน ขยะส่วนใหญ่จะถูกเทลงบนพื้นที่ที่อยู่เหนือ ระดับน้ำใต้ดิน ทั้งนี้ โดยการถมคลุมอ่างด้วยชั้นของวัสดุ ให้ถึงระดับที่ส่วนบนของวัสดุดินนั้นอยู่เหนือระดับน้ำ ใต้ดิน และโดยการใส่ขยะลงบนวัสดุดินนั้น ในการฝัง บรรจุอีกแบบหนึ่ง สำหรับใช้ในพื้นที่แบบถมหุบเขาจะ มีสันดอนน้ำใต้ดิน รูปแบบการไหลของน้ำขึ้นมาจาก พื้นห้องหุบเขาและผนังกั้นขวางพื้นท้องหุบเขาไปตาม ขอบด้านต่ำสุดของหลุมขยะ ทำให้เกิดเป็นบริเวณสกัด กั้นที่จะจำกัดบริเวณอ่างระบาย ซึ่งประกอบด้วยระบบ ระบายแบบผืนคลุมทั่วบริเวณและมีร่องระบายแบบ หลายๆ ร่องในการฝังบรรจุนี้ มีการใช้ร่องนำน้ำเข้าที่ อยู่ภายนอกผนังกั้น และอยู่ตามหรืออยู่ภายในสันดอน น้ำใต้ดิน เพื่อรักษาระดับน้ำใต้ดินตามจุดเหล่านี้ ให้สูง กว่าระดับน้ำใต้ดินอีกฝั่งหนึ่งที่อยู่ภายในบริเวณที่ สกัดกั้น
Claims (1)
1. วิธีการสกัดกั้นและพักฟื้นสิ่งชะล้างจากหน่วยจัดการขยะ ณ พื้นที่จัดการขยะ โดยมีระดับน้ำ ใต้ดินและชั้นกั้นรองในใต้หลุมขยะที่เป็นวัสดุที่มี ความสามารถไหลซึมผ่านได้น้อย วิธีการดังกล่าว ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ - ให้มีผนังกั้นรอบนอกที่หยั่งลึกลงไปใน ชั้นกั้นรองในก้นหลุมดังกล่าว เพื่อจำกัดบริเวณของ อ่างระบายใต้ดินที่ฝังบรรจุไว้ใต้ระดับน้ำใต้ดิน ด้วย ชั้นกั้นรองในใต้หลุมดังกล่าว - ปล่อยให้มีการปะปนกันระหว่างสิ่งชะล้าง และน้ำใต้ดินภายในอ่างระบายดังกล่าว เพื่อให้เป็นน้ำ ผสมกันระหว่างสิ่งชะล้างกันน้ำใตแท็ก :
Publications (1)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH39382A true TH39382A (th) | 2000-07-14 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
GB2329819A (en) | System and method for containing leachate using submerged counterflow sink | |
CA1331223C (en) | Septic system | |
US4252462A (en) | Chemical landfill | |
Miner | Alternatives to minimize the environmental impact of large swine production units | |
US4013559A (en) | Prefabricated panels for sub-surface sewage effluent and waste water disposal | |
EP1446536B1 (en) | Pollutant containment system | |
TH39382A (th) | ระบบและวิธีการสกัดกั้นสิ่งชะล้างโดยการใช้อ่างไหลย้อนใต้ดิน | |
JPH10511154A (ja) | こぼれ及び氾濫処理のための舗装組織 | |
JPH0295489A (ja) | ゴミ処理工場におけるゴミ最終処分方法 | |
JP4357623B2 (ja) | 廃棄物処分場 | |
JP2500690B2 (ja) | 廃棄物処分用構造物および廃棄物処分方法 | |
JPH1193246A (ja) | 雨水の地下浸透及び浄化貯留方法及びその装置 | |
JPH0533592Y2 (th) | ||
Bouwer | Effect of water depth and groundwater table on infiltration from recharge basins | |
KR100235903B1 (ko) | 오, 폐수 정화시설의 차수벽 시공방법 | |
KR200334073Y1 (ko) | 침출수를 감소시킨 쓰레기 매립장 | |
KR102704424B1 (ko) | 자연형 침투도랑을 이용한 비점오염 저감 및 홍수유출 저감용 저영향개발기법 시설 | |
KR20120113921A (ko) | 침출수의 토양 유입을 방지하는 매몰식 살처분 방법 | |
JPH11128867A (ja) | 廃棄物処分場 | |
JPH08281287A (ja) | 排水処理用濾材及び排水土壌浸潤処理装置 | |
JPS5826071Y2 (ja) | 雑排水地中拡散槽 | |
EP1067243A3 (de) | Wannenförmiges Rückhaltebecken für Oberflächenwasser und Verfahren zu seiner Herstellung | |
GB2221479A (en) | Drain field system | |
JP4357647B2 (ja) | 廃棄物埋立方法 | |
US3224200A (en) | Drainage tile |