TH37738A - วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน - Google Patents

วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน

Info

Publication number
TH37738A
TH37738A TH9801000590A TH9801000590A TH37738A TH 37738 A TH37738 A TH 37738A TH 9801000590 A TH9801000590 A TH 9801000590A TH 9801000590 A TH9801000590 A TH 9801000590A TH 37738 A TH37738 A TH 37738A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
base
parts
adhesives
dosing
fixing
Prior art date
Application number
TH9801000590A
Other languages
English (en)
Other versions
TH12147B (th
Inventor
ฮอนมา นายทสึโตมุ
ยานากิดา นายโยชิอากิ
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH37738A publication Critical patent/TH37738A/th
Publication of TH12147B publication Critical patent/TH12147B/th

Links

Abstract

DC60 (27/04/41) การประดิษฐ์นี้ เปิดเผยถึง วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน เข้ากับฐาน วิธีการ และเครื่องนี้ใช้ป้องกันการโค้งงอ ของชิ้นส่วน และความไม่สม่ำเสมอใน ด้านความแข็งแรงในการยึดติด หลังจากที่หน่วยจ่ายสารยึดติดถูกจัดตำแหน่งที่ตำแหน่งที่หนึ่งเป็น ระยะที่กำหนดไว้จากตำแหน่งจ่ายเริ่มแรกของฐานการเคลื่อนที่ของหน่วยถูกทำให้เริ่มขึ้นจาก ตำแหน่งที่หนึ่งด้วยหน่วยเคลื่อนที่ในขณะที่ปฏิบัติการจ่ายสารยึดติด ของหน่วยจ่ายถูกทำให้เริ่มขึ้น ต่อไป การปฏิบัติการจ่ายสารยึดติดของหน่วยจ่ายถูกทำให้เสร็จสิ้นที่ตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของฐาน และการเคลื่อนที่ถูกทำให้หยุดที่ตำแหน่งที่สองเป็นระยะที่กำหนดไว้จากตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของฐาน สิ่งนี้ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่ของหน่วยจ่ายด้วยความเร็วคงที่ จากตำแหน่งจ่ายเริ่มแรกไปยัง ตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของบล็อค ดังนั้น สามารถจะป้องกันความไม่สม่ำเสมอของชั้นสารยึดติดที่ ตำแหน่งจ่ายเริ่มแรก และตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของบล็อค การประดิษฐ์นี้ เปิดเผยถึง วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน เข้ากับฐาน วิธีการ และเครื่องนี้ใช้ป้องกันการโค้งงอ ของชิ้นส่วน และความไม่สม่ำเสมอใน ด้านความแข็งแรงในการยึดติด หลังจากที่หน่วยจ่ายสารยึดติดถูกจัดตำแหน่งที่ตำแหน่งที่หนึ่งเป็น ระยะที่กำหนดไว้จากตำแหน่งจ่ายเริ่มแรกของฐานการเคลื่อนที่ของหน่วยถูกทำให้เริ่มขึ้นจาก ตำแหน่งที่หนึ่งด้วยหน่วยเคลื่อนที่ในขณะที่ปฎิบัติการจ่ายสารยึดติด ของหน่วยจ่ายถูกทำให้เริ่มขึ้น ต่อไป การปฎิบัติการจ่ายสารยึดติดของหน่วยจ่ายถูกทำให้เสร็จสิ้นที่ตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของฐาน และการเคลื่อนที่ถูกทำให้หยุดที่ตำแหน่งที่สองเป็นระยะที่กำหนดไว้จากตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของฐาน ตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของบล็อค ดังนั้น สามารถจะป้องกันความไม่สม่ำเสมอของชั้นสารยึดติดที่ ตำแหน่งจ่ายเริ่มแรก และตำแหน่งจ่ายสุดท้ายของบล็อค

Claims (9)

1. วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วนเข้ากับฐาน โดยวิถีทางของสารยึดติดหลังจากทำการจ่าย สารยึดติดดังกล่าวบนฐานโดยใช้วิถีทางจ่ายสารยึดติดชนิดเคลื่อนที่ประกอบด้วย ขั้นตอนการจัดตำแหน่งวิถีทางจ่ายสารยึดติดดังกล่าวที่ตำแหน่งที่หนึ่งก่อน ตำแหน่งเริ่มต้นจ่ายของฐานดังกล่าว ขั้นตอนการเริ่มต้นการเคลื่อนที่ของวิถีทางจ่ายสารยึดติดดังกล่าวจากตำแหน่ง ที่หนึ่งดังกล่าว ในขณะที่เริ่มต้นปฎิบัติการจ่ายสารยึดติดของวิถีทางจ่ายสารยึดติดดังกล่าว ขั้นตอนการเสร็จสิ้น การปฎิบัติการจ่ายสารยึดติดของวิถีทางจ่ายสารยึดติด ดังกล่าวที่ตำแหน่งสิ้นสุดการจ่ายของฐานดังกล่าว และ ขั้นตอนการหยุดการเคลื่อนที่ของวิถีทางจ่ายสารยึดติดดังกล่าวที่ตำแหน่งที่สอง หลังจากตำแหน่งสิ้นสุดการจ่ายของฐานดังกล่าว
2. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ยังรวมถึง ขั้นตอนการติดชิ้นส่วนดังกล่าวบนสารยึดติดของฐานดังกล่าว และ ขั้นตอนการเคลื่อนชิ้นส่วนดังกล่าวในลักษณะเคลื่อนที่ไปมาเมื่อเทียบกับฐาน ดังกล่าวด้วยกลไกเชื่อมต่อบนสารยึดติดดังกล่าวของฐานดังกล่าว
3. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ยังประกอบด้วย ขั้นตอนการติดชิ้นส่วนดังกล่าวบนสารยึดติดของฐานดังกล่าว และ ขั้นตอนการกดดันชิ้นส่วนดังกล่าวเข้ากับฐานดังกล่าว หลังจากที่ชิ้นส่วนดังกล่าว ถูกจัดตำแหน่งเมื่อเทียบกับฐานดังกล่าวด้วยกลไกกดดัน
4. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ที่ซึ่งขั้นตอนการกดดันเป็นขั้นตอนกดดัน ชิ้นส่วนดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าวในขณะที่ทำการระบายความร้อนให้กับสารยึดติดดังกล่าว
5. วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วนเข้ากับฐานโดยวิถีทางของสารยึดติดประกอบด้วย ขั้นตอนการจ่ายสารยึดติดดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าวด้วยวิถีทางจ่ายสารยึดติด ขั้นตอนการติดชิ้นส่วนดังกล่าวบนสารยึดติดของฐานดังกล่าว ขั้นตอนการเคลื่อนชิ้นส่วนดังกล่าวในลักษณะเคลื่อนที่ไปมา เมื่อเทียบกับฐาน ดังกล่าวในขณะที่ทำการกดดันชิ้นส่วนดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าวด้วยกลไกเชื่อมต่อ และ ขั้นตอนการจัดตำแหน่งชิ้นส่วนดังกล่าวเข้ากับฐานในขณะที่ทำการกดดันชิ้นส่วน ดังกล่าวในยังฐานดังกล่าวด้วยกลไกกดดัน
6. เครื่องยึดสำหรับยึดชิ้นส่วนเข้ากับฐาน โดยวิถีทางของสารยึดติดหลังจากทำการ จ่ายสารยึดติดดังกล่าวบนฐานประกอบด้วย วิถีทางที่หนึ่งสำหรับจ่ายสารยึดติดดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าว วิถีทางที่สองสำหรับเคลื่อนวิถีทางที่หนึ่งดังกล่าว และ วิถีทางควบคุมสำหรับควบคุมวิถีทางที่สองดังกล่าวเพื่อเคลื่อนวิถีทางที่หนึ่ง ดังกล่าวจากตำแหน่งที่หนึ่งก่อนตำแหน่งเริ่มต้นจ่ายของฐาน ผ่านตำแหน่งเริ่มต้นจ่ายไปยังตำแหน่ง ที่สองหลังจากตำแหน่งสิ้นสุดการจ่ายของฐานเพื่อที่จะเคลื่อนด้วยความเร็วคงที่ระหว่างตำแหน่ง เริ่มต้นจ่าย และตำแหน่งสิ้นสุดการจ่าย
7. เครื่องยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ที่ซึ่งวิถีทางที่หนึ่งดังกล่าวรวมถึงหัวฉีด จ่ายสำหรับจ่ายสารยึดติดดังกล่าว และชิ้นส่วนขับดันน้ำที่ถูกติดตั้งเข้ากับส่วน โดยรอบของหัวฉีดจ่าย ดังกล่าว
8. เครื่องยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ยังประกอบด้วยกลไกเชื่อมต่อสำหรับ เคลื่อนชิ้นส่วนดังกล่าวในลักษณะเคลื่อนที่ไปมาเมื่อเทียบกับฐานดังกล่าว หลังจากทำการติดตั้ง ชิ้นส่วนดังกล่าวบนสารยึดติดดังกล่าวของฐานดังกล่าว
9. เครื่องยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ยังรวมถึงกลไกกดดัน สำหรับกดดันชิ้นส่วน ดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าว หลังจากทำการจัดตำแหน่งชิ้นส่วนดังกล่าวเมื่อเทียบกับฐานดังกล่าว 1
0. เครื่องยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งกลไกกดดันดังกล่าวรวมถึงวิถีทาง ระบายความร้อนสำหรับระบายความร้อนให้กับสารยึดติดดังกล่าว 1
1. เครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วนเข้ากับฐานโดยวิธีทางของสารยึดติดหลังจากทำการ จ่ายสารยึดติดดังกล่าวไปยังฐานประกอบด้วย กลไกจ่ายสำหรับจ่ายสารยึดติดดังกล่าวไปยังฐานดังกล่าว กลไกเชื่อมต่อสำหรับเคลื่อนชิ้นส่วนดังกล่าวในลักษณะเคลื่อนที่ไปมาเมื่อเทียบ กับฐานดังกล่าวในขณะที่ทำการกดดันชิ้นส่วนดังกล่าวเข้ากับฐานดังกล่าว และ กลไกกดดันสำหรับกดดันชิ้นส่วนดังกล่าวเข้ากับฐานดังกล่าว 1
2. เครื่องยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ที่ซึ่งกลไกสำหรับจ่ายดังกล่าว และกลไก เชื่อมต่อดังกล่าวรวมถึงวิถีทางให้ความร้อนสำหรับทำให้ฐานดังกล่าวร้อน 1
3. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ยังประกอบด้วย ขั้นตอนการติดชิ้นส่วนดังกล่าวบนสารยึดติดของฐานดังกล่าว 1
4. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 13 โดยขั้นตอนการติดประกอบด้วย ขั้นตอนการติดชิ้นส่วนฟิล์มบางบนสารยึดติดของฐานดังกล่าว 1
5. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ยังประกอบด้วยขั้นตอนกรกดดันชิ้นส่วน ดังกล่าวเข้ากับฐานดังกล่าวหลังจากที่ชิ้นส่วนดังกล่าวถูกจัดตำแหน่งเมื่อเทียบกับฐานดังกล่าวด้วย กลไกกดดัน 1
6. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 2 โดยขั้นตอนการเคลื่อนดังกล่าวประกอบ ด้วยขั้นตอนการเคลื่อนชิ้นส่วนฟิล์มบางในลักษณะเคลื่อนที่ไปมาเมื่อเทียบกับฐานของงาน 1
7. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 5 โดยขั้นตอนการติดประกอบด้วยขั้นตอน การติดชิ้นส่วนฟิล์มบางบนสารยึดติดของฐานของงาน 1
8. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 17 โดยขั้นตอนการจ่ายดังกล่าวประกอบด้วย ขั้นตอนการจ่ายแว็กชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนแก่ฐานของงาน และ ขั้นตอนการติดดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนการติดชิ้นส่วนฟิล์มบางบนแว็ก ชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนบนฐานของงาน 1
9. วิธีการยึดชิ้นส่วนตามข้อถือสิทธิข้อ 18 โดยชิ้นส่วนฟิล์มบางดังกล่าวถูกสร้าง ขึ้นจากชิ้นส่วนทรานสดิวเซอร์แม่เหล็กจำนวนหนึ่ง และขั้นตอนการติดดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอน การติดชิ้นส่วนฟิล์มบางดังกล่าวบนแว็กชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนบนฐานของงานดังกล่าวเพื่อ วางซ้อน 2
0. วิธีการผลิตทรานสดิวเซอร์แม่เหล็กประกอบด้วย ขั้นตอนการจ่ายแว็กชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนแก่ฐานของงานที่ยึดอยู่กับที่ โดยการเคลื่อนวิถีทางจ่ายไปในขณะที่ให้ความร้อนแก่ฐานของงานที่ยึดอยู่กับที่ดังกล่าว ขั้นตอนการติดแท่งแบบเป็นแถวที่สร้างขึ้นจากชิ้นส่วนทรานสดิวเซอร์แม่เหล็ก จำนวนหนึ่งบนแว็กชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนบนฐานของงานดังกล่าว ขั้นตอนการวางซ้อนแท่งแบบเป็นแถวดังกล่าวบนฐานของงานดังกล่าว ขั้นตอนการตัดแท่งแบบเป็นแถวออกเป็นชิ้นส่วนทรานสดิวเซอร์แม่เหล็กแต่ละ อันดังกล่าว และ ขั้นตอนการปล่อยชิ้นส่วนทรานสดิวเซอร์แม่เหล็กแต่ละอันดังกล่าวออกจากฐาน ของงานดังกล่าวโดยการหลอมเหลวแว็กชนิดหลอมเหลวด้วยความร้อนดังกล่าว
TH9801000590A 1998-02-23 วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน TH12147B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH37738A true TH37738A (th) 2000-03-20
TH12147B TH12147B (th) 2002-03-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2867389C (en) Method for manufacturing lamination stacks
US5622411A (en) Process for joining bristle bundles to a plastic bristle carrier and apparatus for the same
JP4025371B2 (ja) 固定用エレメントの接着面をホットメルト形接着剤で被覆するための方法
JPH04348540A (ja) フリップチップボンダー
KR100529687B1 (ko) 페이스트 형성방법
CN101114601A (zh) 用于晶粒键合机的自动水平调整
TH12147B (th) วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน
TH37738A (th) วิธีการสำหรับยึดชิ้นส่วน และเครื่องสำหรับยึดชิ้นส่วน
JP6937451B1 (ja) モータコア製造方法及びモータコア製造装置
US6080249A (en) Method for adhering a member and apparatus for adhering a member
CN110302911A (zh) 用于间歇性地涂覆可流动材料的设备以及用于涂覆这样的材料的方法
KR100771433B1 (ko) 열용융 접착제로 고착부재의 접착면을 코팅하기 위한 방법및 장치
KR102674351B1 (ko) 하이브리드 디스펜싱 시스템 및 이를 이용한 하이브리드 디스펜싱 방법
JP4077575B2 (ja) 板状体の切欠部への接着剤の塗布方法
KR100735092B1 (ko) 엘씨디 패널의 본딩 장치 및 그 방법
JP2006075699A (ja) 塗布装置および塗布方法
JPH01195024A (ja) ハニカムコアの接合方法
CN118263147A (zh) 晶圆的粘接方法
JP2001287229A (ja) ガスケットの製造方法
JPH10321653A (ja) チップ状部品ボンディング装置
CN118204234A (zh) 一种用于涂覆晶托和树脂板的涂胶机及涂胶方法
KR980012374A (ko) 리이드 온 칩(엘오씨)용 리이드 프레임
US20060021698A1 (en) Applying glue using an injection molding machine
JPH05198363A (ja) 面状採暖具の製造方法
JPH0380081B2 (th)