TH15160A3 - โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต - Google Patents

โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต

Info

Publication number
TH15160A3
TH15160A3 TH1803000083U TH1803000083U TH15160A3 TH 15160 A3 TH15160 A3 TH 15160A3 TH 1803000083 U TH1803000083 U TH 1803000083U TH 1803000083 U TH1803000083 U TH 1803000083U TH 15160 A3 TH15160 A3 TH 15160A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
yogurt
coconut
stirred
milk
coconut milk
Prior art date
Application number
TH1803000083U
Other languages
English (en)
Other versions
TH15160B (th
TH15160C3 (th
Inventor
ทรายทอง นายประมวล
เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล นางวนิดา
Original Assignee
นางสาวปุณนมาส ธรรมรัตน์
นางธิดารัตน์ ทวาเรศเรืองคาม
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปุณนมาส ธรรมรัตน์, นางธิดารัตน์ ทวาเรศเรืองคาม filed Critical นางสาวปุณนมาส ธรรมรัตน์
Publication of TH15160B publication Critical patent/TH15160B/th
Publication of TH15160C3 publication Critical patent/TH15160C3/th
Publication of TH15160A3 publication Critical patent/TH15160A3/th

Links

Abstract

------03/07/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วย กะทิ นํ้าตาลทราย หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria LAB) เนื้อมะพร้าวอ่อน เชื่อม สารสเตบิไลเชอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) มีกรรมวิธีการผลิตที่มีการควบคุม สภาวะการผลิตและมีอัตราส่วนของวัตถุดิบที่มีความเหมาะสมเพื่อให้ได้โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าว ชนิดกวน (stirred yogurt) ตามต้องการ โดยอาศัยหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกดิก (Lactic Acid Bacteria: LAB) ในการหมัก มีขั้นตอนดังนี้ เริ่มจากนำกะทิมากรองสิ่งสกปรกและสารแขวนลอยออก เติมนํ้าตาลทรายลงในกะทิ คนจนส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน นำไปให้ความร้อน และวาง ทิ้งไว้ให้เย็น เติมหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) แล้วนำไปบ่ม ที่ อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18-24 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาเติมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม และนำไปป่นเพื่อให้ชิ้นมะพร้าวมีขนาดเล็กลง เติมสารสเตบิไลเชอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) จากนั้นนำไปผสมให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยเครื่องโฮโมจิไนซ์ (Homogenizer) ที่ความเร็วรอบ 20,000 - 25,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 20 - 25 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที นำโยเกิร์ตที่ได้ บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ และเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 8 - 10 องศาเซลเซียส ตลอดระยะเวลาหลังบรรจุลง ในบรรจุภัณฑ์จนถึงผู้บริโภค ซึ่งผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ไม่มี นมเป็นส่วนประกอบ จึงเหมาะแก่ผู้บริโภคกลุ่มที่ไม่สามารถรับประทานนมได้ อีกทั้งโยเกิร์ตมีกลิ่นรส ที่ดีและมีส่วนผสมของเนื้อมะพร้าว จึงเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้รักสุขภาพที่ต้องการบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพ ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วย กะทิ นํ้าตาลทราย หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) เนื้อมะพร้าวอ่อน เชื่อม สารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) มีกรรมวิธีการผลิตที่มีการควบคุม สภาวะการผลิตและมีอัตราส่วนของวัตถุดิบที่มีความเหมาะสมเพื่อให้ได้โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าว ชนิดกวน (stirred yogurt) ตามต้องการ โดยอาศัยหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกดิก (Lactic Acid Bacteria: LAB) ในการหมัก มีขั้นตอนดังนี้ เริ่มจากนำกะทิมากรองสิ่งสกปรกและสารแขวนลอยออก เติมนํ้าตาลทรายลงในกะทิ คนจนส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน นำไปให้ความร้อน และวาง ทิ้งไว้ไห้เย็น เติมหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) แล้วนำไปบ่ม ที่ อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18 - 24 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาเดิมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม และนำไปป่นเพื่อให้ชิ้นมะพร้าวมีขนาดเล็กลง เดิมสารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) จากนั้นนำไปผสมให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยเครื่องฮอโมจิไนซ์ (homogenize) ที่ความเร็วรอบ 20,000 - 25,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 20 - 25 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที นำโยเกิร์ตที่ได้ บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ และเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 8 - 10 องศาเซลเซียส ตลอดระยะเวลาหลังบรรจุลง ในบรรจุภัณฑ์จนถึงผู้บริโภค ซึ่งผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ไม่มี นมเป็นส่วนประกอบ จึงเหมาะแก่ผู้บริโภคกลุ่มที่ไม่สามารถรับประทานนมได้ อีกทั้งโยเกิร์ตมีกลิ่นรส ที่ดีและมีส่วนผสมของเนื้อมะพร้าว จึงเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้รักสุขภาพที่ต้องการบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพ :

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------03/07/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ประกอบด้วย กะทิ 60 - 70 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก นํ้าตาลทราย 4 - 6 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) 2 - 3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก เนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม 20 - 30 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) 0.4 - 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) 0.4 - 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 2. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง เนื้อมะพร้าว อ่อนเชื่อม มีค่าความหวานที่เหมาะสม คือ ระหว่าง 20 - 25 องศาบริกซ์ 3. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง หัว เชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) เลือกได้จาก สเตรปโตค็อกคัส เทอร์ โมฟิลัส (Streptococcus thermophiles) แลกโทแบซิล บัลการิหัส {Lactobacillus subs p. bulgaricus) อย่างใด อย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน 4. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง สารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) เลือกได้จาก เพคติน (pactin) เจลาติน (gelatin) สตาร์ซ (starch) สตาร์ช ดัดแปร (modified starch) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน 5. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง สารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) เลือกได้จาก กัวกัม (guar gum) แอลจีเนส (alginate) คาร์ราจีแนน (carrageenan) แชนแทนกัม (xanthan gum) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน 6. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-5 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง ยังประกอบด้วย สารแต่งสี สารแต่งกลิ่น อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน 7. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-6 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง กะทิ เตรียมได้จาก หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ก. นำกะทิสำเร็จรูปยูเอชที (coconut milk UHT) มากรองด้วยภาชนะที่มีรูขนาดเล็ก 10 - 50 ไมครอน ข. นำกะทิที่ผ่านการกรองจากข้อ ก. มาปรับให้ได้ค่าปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ระหว่าง 12 - 15 องศาบริกซ์ 8. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-7 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มีขั้นตอนดังนี้ ก. เติมนํ้าตาลทรายลงในกะทิ คนจนส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน ข. นำไปให้ความร้อน ที่อุณหภูมิ ระหว่าง 80 - 100 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ค. พักส่วนผสมให้เย็นลง โดยวางทิ้งไว้ให้เย็น ที่อุณหภูมิ 30 - 37 องศาเซลเซียส หรือใช้ วิธีการหล่อเย็นด้วยนํ้าหรือนํ้าแข็ง จนส่วนผสมทั้งหมดมีอุณหภูมิ ระหว่าง 35 - 40 องศาเซลเซียส ง. เติมหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) ผสมให้เข้ากัน จ. เทส่วนผสมทั้งหมดใส่ในภาชนะสำหรับการหมัก (ภาชนะต้องลวกนํ้าร้อนหรือฆ่าเชื้อ ก่อน) ปิดปากภาชนะด้วยแผ่นฟิล์มใสปิดอาหาร หรือสำลี หรือฝาให้สนิท แล้วนำไปบ่ม ที่อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18 - 24 ชั่วโมง ฉ. นำโยเกิร์ตที่บ่มครบเวลาแล้วจากข้อ จ. มาทำการผลิตเป็นโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าว ชนิดกวน (stirred yogurt) โดยการเติมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม ผสมให้เข้ากัน ช. นำโยเกิร์ตที่เติมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อมจากข้อ ฉ. มาป่นให้ชิ้นมะพร้าวมีขนาดเล็กลง ที่ ความเร็วรอบ 1,800 - 2,000 รอบต่อนาที เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ซ. เติมสารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) ที่ผสมกันแล้ว ลง ในโยเกิร์ตที่ได้จากข้อ ช. ที่อุณหภูมิ 70 - 72 องศาเซลเซียส คนจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันและละลายจน หมดและเป็นเนื้อเดียวกัน ฌ. นำส่วนผสมจากข้อ ช. มาผสมให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยเครื่องโฮโมจิไนซ์ (Homogenizer) ที่ความเร็วรอบ 20,000 - 25,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 20 - 25 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ญ. นำโยเกิร์ตที่ได้บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ และเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 8 - 10 องศาเซลเซียส ตลอดระยะเวลาหลังบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์จนถึงผู้บริโภค 9. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 8 ที่ ซึ่ง ยังประกอบด้วยขั้นตอน การแต่งสี หรือการแต่งกลิ่น หรือการแต่งสีและแต่งกลิ่น ก่อนนำเข้าเครื่อง โฮโมจิไนซ์ (Homogenizer) ------------ หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ประกอบด้วย กะทิ 60-70 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก นํ้าตาลทราย 4-6 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก หัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) 2-3 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก เนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม 20-30 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก สารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) 0.4 - 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก สารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) 0.4 - 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก
2. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง เนื้อมะพร้าว อ่อนเชื่อม มีค่าความหวานที่เหมาะสม คือ ระหว่าง 20 - 25 องศาบริกซ์
3. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง หัว เชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) เลือกได้จาก สเตรปโตค็อกคัส เทอร์ โมฟิหัส (Streptococcus thermophiles) แล็กโทแบซิล บัลการิคัส {Lactobacillus subs p. bulgaricus) อย่างใด อย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน
4. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง สารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) เถือกได้จาก เพคติน (pactin) เจลาติน (gelatin) สตาร์ซ (starch) สตาร์ช ดัดแปร (modified starch) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน
5. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง สารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) เลือกได้จาก กัวกัม (guar gum) แอลจีเนส (alginate) คาร์ราจีแนน (carrageenan) แซนแทนกัม (xanthan gum) อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน
6. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-5 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง ยังประกอบด้วย สารแต่งสี สารแต่งกลิ่น อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน
7. โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-6 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ ซึ่ง กะทิ เตรียมได้จาก หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ก. นำกะทิสำเร็จรูปยูเอชที (coconut milk UHT) มากรองด้วยภาชนะที่มีรูขนาดเล็ก 10- 50 ไมครอน ข. นำกะทิที่ผ่านการกรองจากข้อ ก. มาปรับให้ได้ค่าปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ระหว่าง 12-15 องศาบริกซ์
8. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 1-7 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มีขั้นตอนดังนี้ ก. เติมนํ้าตาลทรายลงในกะทิ คนจนส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นเนื้อเดียวกัน ข. นำไปให้ความร้อน ที่อุณหภูมิ ระหว่าง 80 - 100 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ค. พักส่วนผสมให้เย็นลง โดยวางทิ้งไว้ให้เย็น ที่อุณหภูมิ 30 - 37 องศาเซลเซียส หรือใช้ วิธีการหล่อเย็นด้วยนํ้าหรือนํ้าแข็ง จนส่วนผสมทั้งหมดมีอุณหภูมิ ระหว่าง 35 - 40 องศาเซลเซียส ง. เติมหัวเชื้อแบคทีเรียกลุ่มที่ผลิตกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) ผสมให้เข้ากัน จ. เทส่วนผสมทั้งหมดใส่ในภาชนะสำหรับการหมัก (ภาชนะต้องลวกนํ้าร้อนหรือฆ่าเชื้อ ก่อน) ปิดปากภาชนะด้วยแผ่นฟิล์มใสปิดอาหารหรือสำลี หรือฝาให้สนิทแล้วนำไปบ่ม ที่อุณหภูมิ40-45 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 18 - 24 ชั่วโมง ฉ. นำโยเกิร์ตที่บ่มครบเวลาแล้วจากข้อ จ. มาทำการผลิตเป็นโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าว ชนิดกวน (stirred yogurt) โดยการเติมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อม ผสมให้เข้ากัน ช. นำโยเกิร์ตที่เติมเนื้อมะพร้าวอ่อนเชื่อมจากข้อ ฉ. มาปั่นให้ชิ้นมะพร้าวมีขนาดเล็กลง ที่ ความเร็วรอบ 1,800 - 2,000 รอบต่อนาที เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ซ. เติมสารสเตบิไลเซอร์ (stabilizer) และสารอิมัลซิไฟเออร์ (emulsifier) ที่ผสมกันแล้ว ลง ในโยเกิร์ตที่ได้จากข้อ ช. ที่อุณหภูมิ 70 - 72 องศาเซลเซียส คนจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันและละลายจน หมดและเป็นเนื้อเดียวกัน ฌ. นำส่วนผสมจากข้อ ซ. มาผสมให้เป็นเนื้อเดียวกันด้วยเครื่องฮอโมจิไนซ์ (homogenize) ที่ ความเร็วรอบ 20,000 - 25,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 20 - 25 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 - 2 นาที ญ. นำโยเกิร์ตที่ได้บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ และเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 8 - 10 องศาเซลเซียส ตลอดระยะเวลาหลังบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์จนถึงผู้บริโภค
9. กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) ตามข้อถือสิทธิ 8 ที่ ซึ่ง ยังประกอบด้วยขั้นตอน การแต่งสี หรือการแต่งกลิ่น หรือการแต่งสีและแต่งกลิ่น ก่อนนำเข้าเครื่อง ฮอโมจิไนช์ (Homogenize)
TH1803000083U 2018-01-12 โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต TH15160A3 (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH15160B TH15160B (th) 2019-05-16
TH15160C3 TH15160C3 (th) 2019-05-16
TH15160A3 true TH15160A3 (th) 2019-05-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN101491280B (zh) 乳布丁及其制备方法
Chandan An overview of yogurt production and composition
KR101597260B1 (ko) 분말 요거트 조성물 및 섭취방법
US20130156889A1 (en) Greek yogurt dips and spreads and production thereof
CN107637659A (zh) 一种果蔬丁益生菌酸奶及其制备方法
JP5552485B2 (ja) 複合デザート及び該デザートを調製するための方法
CN106306323A (zh) 一种酸性软冰淇淋奶浆及其制备方法
EP2645868B1 (en) Set-style fruit yoghurts
RU2532047C1 (ru) Способ получения мороженого
TH15160A3 (th) โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH15160C3 (th) โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวชนิดกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
AU2019293520A1 (en) Solid fermented milk composition
TH15162C3 (th) โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวแบบคงตัว (set yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH15162A3 (th) โยเกิร์ตกะทิผสมเนื้อมะพร้าวแบบคงตัว (set yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
RU2710149C1 (ru) Способ получения кисломолочного ацидофильного мороженого
TH17352A3 (th) โยเกิร์ตถั่วลูกไก่แบบกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH17350A3 (th) โยเกิร์ตเมล็ดฟักทองแบบกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH17352C3 (th) โยเกิร์ตถั่วลูกไก่แบบกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH17351C3 (th) โยเกิร์ตเมล็ดฟักทองแบบคงตัว (set yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
CN103392816B (zh) 一种蛋黄酸奶酪的制作方法
TH17351A3 (th) โยเกิร์ตเมล็ดฟักทองแบบคงตัว (set yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
TH17350C3 (th) โยเกิร์ตเมล็ดฟักทองแบบกวน (stirred yogurt) และกรรมวิธีการผลิต
JP2001095482A (ja) 発酵乳食品の製造方法および発酵乳食品
JP6147132B2 (ja) 冷凍ゼリー
TH17353C3 (th) โยเกิร์ตถั่วลูกไก่แบบคงตัว (set yogurt) และกรรมวิธีการผลิต