TH44258B - ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง - Google Patents

ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง

Info

Publication number
TH44258B
TH44258B TH1003257A TH0001003257A TH44258B TH 44258 B TH44258 B TH 44258B TH 1003257 A TH1003257 A TH 1003257A TH 0001003257 A TH0001003257 A TH 0001003257A TH 44258 B TH44258 B TH 44258B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
approximately
weight
reaction
rhodium
salt
Prior art date
Application number
TH1003257A
Other languages
English (en)
Other versions
TH46397A (th
Inventor
พอลล์ ทอร์เรนซ์ นายจี
อะกราวัล นายพราโมด
โอ สเคทส์ นายมาร์ค
แซนติลแลน นายวาเลรี่
เจย์ วอร์เนอร์ นายอาร์
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH46397A publication Critical patent/TH46397A/th
Publication of TH44258B publication Critical patent/TH44258B/th

Links

Abstract

DC60 วิธีที่ใช้ในการประดิษฐ์นี้แสดงถึงการปรับปรุงเกี่ยวกับวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอล ในศิลปวิทยาการก่อนหน้าซึ่งสามารถลดการเกิดสิ่งเจือปนคาร์บอนิลได้อย่างมาก การเกิดสิ่งเจือปนคาร์บอนิลโดยเฉพาะอย่างยิ่งอะเซตัลดีไฮด์, โครโตนัลดีไฮด์, และ 2-เอทิล- โครโตนัลดีไฮด์ ในปฏิกิริยาการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลนั้นพบว่าลดลงได้โดยการคงสภาพ ของความดันพาร์เชียลของไฮโดรเจนให้มีค่าระหว่างประมาณ 0.1 และ 4 ปอนด์ต่อตารางนิ้วสมบูรณ์ ที่ความดันรวมในการเกิดปฏิกิริยาตั้งแต่ประมาณ 15 ถึงประมาณ 40 บรรยากาศ วิธีที่ใช้ในการประดิษฐ์แสดงถึงการปรับปรุงศิลปวิทยาการก่อนหน้าของวิธีการ คาร์โบนีเลชันของเมทานอล ซึ่งจะมีการลดลงอย่างมากของการผลิตสิ่งเจือปนคาร์บอนิล การผลิต สิ่งเจือปนคาร์บอนิล โดยเฉพาะอย่างยิ่งอะเซตัลดีไฮด์ , โครโตนัลดไฮด์ และ 2-เอทิล โครโตนัลดีไฮด์ อีกทั้งยังพบว่าปฏิกิริยาการคาร์โบนีเลชันของเมทานอล จะลดลงโดยการคงสภาพของเมธิล ไอโอไดด์ ประมาณร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก หรือน้อยกว่าในตัวกลางปฏิกิริยาระหว่างระยะเวลาในการเกิดปฏิกิริยา

Claims (5)

1. กรรมวิธีการผลิตกรดอะซิติกโดยการทำปฏิกิริยาระหว่างเมทานอล กับคาร์บอนมอนนอกไซด์ ฟีดสต็อก (feedstock) ในเครื่องปฏิกรณ์คาร์โบนีเลชัน ที่มีตัวกลางปฏิกิริยาที่มีโรเดียมโนปริมาณที่ให้ ผลในทางการเร่งปฏิกิริยาอยู่ด้วย, ซึ่งการปรับปรุงเพื่อลดสิ่งเจือปนประกอบรวมด้วย การคงสภาพความสามารถในการเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา และ ความสามารถในการผลิต ของระบบโดยการคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาดังกล่าวระหว่างช่วงระยะการเกิดปฏิกิริยาดังกล่าวของ ความเข้มข้นในช่วงอย่างน้อยจากประมาณ 0.1% โดยน้ำหนัก จนถึงน้อยกว่า 14% โดยน้ำหนักของน้ำ ร่วมกับ (a) เกลือที่ละลายได้ในตัวกลางปฏิกิริยาที่อุณหภูมิปฏิกิริยาในปริมาณที่มีผลต่อการคงสภาพ ความเข้มข้นของไอออนิก ไอโอไลด์ในช่วงจากประมาณ 2 ถึงประมาณ 20% โดยน้ำหนักที่มีผลให้ เป็นสารทำให้เสถียรและตัวส่งเสริมร่วม, (b) เมทิล ไอโอไดด์จากประมาณ 1 ถึง 20% โดยน้ำหนัก, (c) เมทิล อะซิเตตจากประมาณ 0.5 ถึง 30% โดยน้ำหนัก, (d) ความดันพาร์เชียลของไฮโดรเจนระหว่าง ประมาณ 0.1 และ น้อยกว่า 3.5 psia ที่สภาวะปฏิกิริยาที่ประกอบรวมด้วย 15 ถึง 40 บรรยากาศของ ความดันปฏิกิริยารวม และความเข้มข้นของไฮโดรเจนในคาร์บอนมอนนอกไซด์ที่ป้อนเข้าไปใน เครื่องปฏิกรณ์คาร์โบนีเลชันดังกล่าวจะเป็นจากประมาณ 0.001 โมลเปอร์เซ็นต์ถึงน้อยกว่า 0.25 โมล เปอร์เซ็นต์ (e) ความเข้มข้นโรเดียมอย่างน้อย 500 ppm โดยน้ำหนักที่ขึ้นกับน้ำหนักของโลหะโรเดียม ในของผสมปฏิกิริยา และ (f) กรดอะซิติก 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไฮโดรเจนดังกล่าวจะถูกคงสภาพไว้ที่ความดันพาร์เซียล ระหว่างประมาณ 1 และ น้อยกว่า 3.5 psia 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไฮโดรเจนดังกล่าวจะถูกคงสภาพไว้ที่ความดันพาร์เซียล ระหว่างประมาณ 1.5 และ น้อยกว่า 3.5 psia 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความดันพาร์เซียลของไฮโดรเจนดังกล่าวจะถูกคงสภาพ ไว้โดยการปล่อยออกหรือการระบายออกของส่วนประกอบที่เป็นแก๊สของตัวกลางปฏิกิริยา 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความเข้มข้นของไฮโดรเจนในคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ ป้อนเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์คาร์โบนีเลชันดังกล่าว เป็นจากประมาณ 0.005 โมลเปอร์เซ็นต์ ถึง ประมาณ 0.0250 โมลเปอร์เซ็นต์ 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความเข้นข้นของโรเดียมในตัวกลางปฏิกิริยาจะถูกคง สภาพไว้ระหว่างประมาณ 500 และ 5000 ส่วนต่อล้านส่วนของโรเดียมโดยน้ำหนัก 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งความเข้มข้นของโรเดียมในตัวกลางปฏิกิริยาดังกล่าวจะ ถูกคงสภาพไว้ที่ช่วงจากประมาณ 600 ถึงประมาณ 2000 ส่วนต่อล้านส่วนของโรเดียมน้ำหนัก 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งความเข้าข้นของโรเดียมดังกล่าวในตัวกลางปฏิกิริยา ดังกล่าวจะถูกคงสภาพไว้ใน 9.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเกลือดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วยเกลือ ควอเทอร์นารีแอมโมเนียม, เกลือฟอสฟอเนียม และเกลือของโลหะหมู่ IA และหมู่ IIA 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งเกลือดังกล่าวประกอบรวมด้วยลิเทียม ไอโอไดด์หรือ ลิเทียมอะซิเตต 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งเกลือดังกล่าวประกอบด้วยเกลือแอมโมเนียม ไอโอไดด์หืออะซิเตตชนิดควอเทอร์นารีหรือ เกลือฟอสฟอเนียมไอโอไดด์หรืออะซิเตต 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งเกลือดังกล่าวประกอบรวมด้วยเกลือไอโอไดด์หรือ อะซิเตตของโซเดียม 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งเกลือดังกล่าวประกอบรวมด้วยเกลือไอโอไดด์หรือ อะซิเตตของโพแทสเซียม 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความเข้มข้นของน้ำในเครื่องปฏิกรณ์จะถูกคงสภาพไว้ที่ จากประมาณ 1% โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 10% โดยน้ำหนัก 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งความดันพาร์เชียลของไฮโดรเจนจะถูกคงสภาพไว้ที่ ระหว่างประมาณ 1 และน้อยกว่า 3.5 psia 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งความดันพาร์เชียลของไฮโดรเจนจะถูกคงสภาพไว้ที่ ระหว่างประมาณ 1.5 และน้อยกว่า 3.5 psia 1 7. กรรมวิธีผลิตกรดอะซิติกโดยการทำปฏิกิริยาเมธานอลกับคาร์บอนมอนอกไซด์ในเครื่อง ปฏิกรณ์คาร์โบนีเลชันที่มีตัวกลางปฏิกิริยาที่มีโรเดียวในปริมาณที่มีผลในทางการเร่งปฏิกิริยาอยู่ด้วย ซึ่งการปรับปรุงประกอบรวมด้วย การคงสภาพความสามารถในการเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา และความสามารถใน การผลิตของระบบโดยการคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาดังกล่าวระหว่างช่วงระยะการเกิดปฏิกิริยา ดังกล่าวจากประมาณ 1 ถึง 10% โดยน้ำหนักของน้ำร่วมกับ (a) เกลือที่ละลายได้ในตัวกลางปฏิกิริยาที่ อุณหภูมิปฏิกิริยาในปริมาณที่มีผลต่อการคงสภาพความเข้มข้นของไอโอนิกไอโอไดด์ในช่วงจาก ประมาณ 2 ถึงประมาณ 20% โดยน้ำหนักที่มีผลให้เป็นสารทำให้เสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา และ ตัวส่งเสริมร่วม, (c) เมธิลอะซิเตตจากประมาณ 0.5 ถึง 30% โดยน้ำหนัก, (d) ความดันพาร์เซียลของ ไฮโดรเจนระหว่างประมาณ 0.1 และน้อยกว่า 3.5 psi ที่สภาวะปฏิกิริยาที่ประกอบรวมด้วย 15 ถึง 40 บรรยากาศของความดันปฏิกิริยารวม และความเข้มข้นของไฮโดรเจนในคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ป้อน เข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์คาร์โบนีเลชันดังกล่าวจะเป็นจากประมาณ 0.001 โมลเปอร์เซ็นต์ถึง น้อยกว่า 0.25 โมลเปอร์เซ็นต์ (e) ความเข้มข้นของโรเดียมอย่างน้อยประมาณ 500 ppm ของโรเดียมโดยน้ำ หนักที่ขึ้นกับน้ำหนักของโลหะโรเดียมและ (f) กรดอะซิติก 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ซึ่งความเข้มข้นของโรเดียมดังกล่าวจะถูกคงสภาพไว้ ระหว่างประมาณ 750 ppm และ 1500 ppm ที่ขึ้นกับน้ำหนักของโลหะโรเดียม ในตัวกลางปฏิกิริยาเหลวอันประกอบด้วย โรเดียม ในปริมาณที่ก่อให้เกิดผลในทางการเร่งปฏิกิริยาตั้งแต่ประมาณร้อยละ 0.1 โดยน้ำหนัก ถึงน้อยกว่า ร้อยละ 14 โดยน้ำหนักของน้ำ, กรดอะซิติก, เกลือที่ละลายได้ ในตัวกลางปฏิกิริยา ที่อุณหภูมิของปฏิกิริยาในปริมาณที่ ดำ เนินการเพื่อคงสภาพความเข้มข้นของไอออนิก ไอโอไดต์ ในช่วง ตั้งแต่ประมาณร้อยละ 2 โดยน้ำหนัก ถึงประมาณน้อยกว่าร้อยละ 20 โดยน้ำหนัก ส่งผลเปรียบเสมือนสารเพิ่มความเสถียร และตัว ส่งเสริมของตัวเร่งปฏิกิริยา; เมทิลไอโอไดด์ ตั้งแต่ประมาณ ร้อยละ 0.5 โดยน้ำหนัก ถึงประมาณร้อยละ 30 โดยน้ำหนักของเมทิลอะซิเตทรล เมทิล ไอโอไดด์ และภายหลังจาก ที่มีการหมุนเวียนกรดอะซิติกจากผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลของ ปฏิกิริยานำมาใช้ใหม่ การปรับปรุงจะประกอบด้วย การลดการเจือปนของผลิตภัณฑ์กรดอะซิติกของสิ่งเจือปนคาร์บอ นิล โดยการคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาระหว่างช่วงการเกิด ปฏิกิริยาประมาณร้อยละ 5 หรือน้อยกว่าร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก ของเมทิลไอโอไดด์ 2. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่เกลือดังกล่าวเป็น เกลือแอมโมเนียม หรือเกลือฟอสเฟเนียม ลำดับที่ 5 หรือเกลือ ของสมาชิกของกลุ่มที่ประกอบด้วยโลหะหมู่ IA และหมู่ IIA ใน ตารางธาตุ 3. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่จะเป็นเกลือของลิ เทียม ไอโอไดด์ หรือลิเทียม อะซิเตท 4. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 2 โดยเกลือจะเป็นเกลือ แอมโมเนียมลำดับที่ 4 หรือเกลือฟอสเฟเนียมไอโอไดด์ หรือ เกลืออะซิเตท 5. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 2 โดยเกลือจะเป็นเกลือไอ โอไดด์หรืออะซิเตทของโซเดียม หรือโพแทสเซียม 6. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 1 โดยจะคงสภาพเมทิลไอโอไดด์ ในตัวกลางปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 1 ถึงประมาณ ร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก 7. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 6 โดยจะคงสภาพเมทิลไอโอไดด์ ในตัวกลางปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 2 ถึงประมาณ ร้อยละ 4 โดยน้ำหนัก 8. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 1 โดยจะคงสภาพน้ำ ในตัวกลาง ปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 1 ถึงประมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนัก 9. ในกรรมวิธีการผลิตกรดอะซิติก โดยการทำปฏิกิริยาของเมทา นอล กับคาร์บอนมอนนอกไซด์ในตัวกลางปฏิกิริยาของเหลวที่ ประกอบด้วย โรเดียมในปริมาณที่ให้เกิดผลในทางการเร่ง ปฏิกิริยาตั้งแต่ประมาณร้อยละ 0.1 โดยน้ำหนัก ถึงน้อยกว่า ร้อยละ 14 โดยน้ำหนักของน้ำ, กรดอะซิติก ตั้งแต่ประมาณร้อย ละ 2 โดยน้ำหนัก ถึงประมาณร้อยละ 20 โดยน้ำหนักของสารเพิ่ม ความเสถียร และตัวส่งเสริมร่วมของตัวเร่งปฏิกิริยาที่เลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยลิเทียม ไอโอไดด์, ลิเทียม อะซิเตท, เกลือแอมโมเนียม อะซิเตทลำดับที่ 4, เกลือแอมโมเนียม ไอ โอไดด์ลำดับที่ 4 , เกลือฟอสฟอเนียมไอโอไดด์, เกลือฟอสฟอ เนียม อะซิเตท เปรียบได้ดังเช่น เกลือที่ละลายได้ของหมู่ IA และหมู่ IIA อื่นๆ, และของผสมของสารดังกล่าว; เมทิล ไอ โอไดด์ และเมทิล อะซิเตท ตั้งแต่ประมาณร้อยละ 0.5 โดยน้ำ หนัก ถึงประมาณร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก และต่อมาก็จะมีการนำ กรดอะซิติกหมุนเวียนกลับมใช้ใหม่จากผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยา การปรับปรุงจะประกอบด้วย การลดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์กรดอะซิติกของสิ่งเจือปนคาร์ บอนิล โดยการคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาระหว่างช่วงการเกิด ปฏิกิริยาประมาณร้อละ 5 โดยน้ำหนัก หรือน้อยกว่าของเมทิลไอ โอไดด์ 1 0. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่เมทิลไอไอไดด์นั้น คงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 1 โดย น้ำหนัก ถึงประมาณร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก 1
1. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่เมทิลไอโอไดด์ นั้นคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 2 โดยน้ำหนัก ถึงประมาณร้อยละ 4 โดยน้ำหนัก 1
2. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่น้ำจะคงสภาพในตัว กลางปฏิกิริยาในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 1 โดยน้ำหนัก ถึง ประมาณร้อยละ 10 โดยน้ำหนักของน้ำ 1
3. ในกรรมวิธีการผลิตกรดอะซิติก โดยการทำปฏิกิริยาของเม ทานอลกับคาร์บอนมอนนอกไซด์ในตัวกลางปฏิกิริยาของเหลวซึ่ง ประกอบรวมด้วย ตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียมในปริมาณที่ส่งผลใน ทางการเร่งปฏิกิริยา ตั้งแต่ประมาณร้อยละ 0.1 โดยน้ำหนัก ถึงน้อยกว่าร้อยละ 14 โดยน้ำหนักของน้ำ, กรดอะซิติก; เกลือ ที่ละลายได้ในตัวกลางปฏิกิริยาที่อุณหภูมิปฏิกิริยา ใน ปริมาณที่ดำเนินการเพื่อคงสภาพความเข้มข้นของไอออนิก ไอ โอไดด์ ในช่วงตั้งแต่ประมาณร้อยละ 2 โดยน้ำหนักถึงประมาณร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก และภายหลังจะมีการหมุนเวียนกรดอะซติ กนำมาใช้ใหม่จากผลิตภัณฑ์ของปฏิกิริยาการปรับปรุงจะประกอบ ด้วย การลดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์กรดอะซิติกของสิ่งเจือปนคาร์ บอนิล โดยการคงสภาพในตัวกลางปฏิกิริยระหว่างช่วงการเกิด ปฏิกิริยาประมาณร้อยละ 5 โดยน้ำหนัก หรือน้อยกว่าของเมทิล ไอโอไดด์ และการคงสภาพความเข้มข้นของโรเดียมในตัวกลาง ปฏิกิริยาตั้งแต่ประมาณ 500 ถึงประมาณ 5000 ส่วนในล้านส่วน ของโรเดียมโดยน้ำหนัก 1
4. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่ความเข้มข้นของ โรเดียมดังกล่าวในตัวกลางปฏิกิริยาดังกล่าว จะคงสภาพอยู่ใน ช่วงตั้งแต่ประมาณ 600 ถึงประมาณ 2000 ส่วนในล้านส่วนของ โรเดียมโดยน้ำหนัก 1
5. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 14 โดยที่ความเข้มข้นของ โรเดียมดังกล่าวในตัวกลางปฏิกิริยาดังกล่าว จะคงสภาพอยู่ใน ช่วงตั้งแต่ประมาณ 750 ถึงประมาณ 1500 ส่วนในล้านส่วนของ โรเดียมโดยน้ำหนัก (ข้อถือสิทธิ 15 ข้อ, 3 หน้า, 0 รูป)
TH1003257A 2000-08-28 ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง TH44258B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH46397A TH46397A (th) 2001-07-24
TH44258B true TH44258B (th) 2015-05-19

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4279883A (en) Process for producing hydrogen peroxide
CA1313024C (en) Hydrogen peroxide method using optimized h+ and br- concentration
JP2003508363A5 (th)
JP4994549B2 (ja) 改良された不純物特性をもつメタノールカルボニル化法のためのロジウム/無機ヨウ化物触媒系
KR20080112375A (ko) 타겟 스트림내 알데하이드 농도의 감소 방법
CN101090880A (zh) 醋酸的制造方法
US6284930B1 (en) Process for the preparation of 3-hydroxypropanal
KR20070106575A (ko) 촉매 안정화제로서 하나 이상의 금속 염을 혼입시키는아세트산의 제조방법
RU2002107997A (ru) Система катализатора на основе родия/неорганического иодида для процесса карбонилирования метанола с улучшенным профилем примесей
JP4856629B2 (ja) カルボニル化触媒溶液からの腐蝕金属の除去方法
JP3500150B2 (ja) 無水酢酸又は無水酢酸及び酢酸の製造方法
JPH10231267A (ja) 有機カルボン酸の製造方法
US6323364B1 (en) Rhodium/inorganic iodide catalyst system for methanol carbonylation process with improved impurity profile
JPH0753475A (ja) ジアルキルカーボネートの製造方法
TH44258B (th) ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง
TH46397A (th) ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง
KR920003917B1 (ko) 인-바나듐 촉매의 재활성화 방법
KR100401901B1 (ko) 이리듐존재하의카르보닐화에의한카르복실산제조방법
US4120819A (en) Method for platinum or palladium catalyst reactivation
JP4066305B2 (ja) イリジウム及びプラチナの存在下における酢酸及び/又は酢酸メチルの調製方法
JP2021127312A (ja) エチレングリコール類の製造方法
JP3213392B2 (ja) 酢酸の製造法
TH46398A (th) ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง
TH23396B (th) ระบบตัวเร่งปฏิกิริยาโรเดียม/ไอโอไดด์อนินทรีย์ที่ใช้ในกรรมวิธีการเกิดคาร์โบนีเลชันของเมทานอลพร้อมทั้งขบวนการเกิดสิ่งเจือปนที่ได้รับการปรับปรุง
JP3825217B2 (ja) 酸化エチレンの製造方法