TH41235B - เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว - Google Patents

เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว

Info

Publication number
TH41235B
TH41235B TH501004088A TH0501004088A TH41235B TH 41235 B TH41235 B TH 41235B TH 501004088 A TH501004088 A TH 501004088A TH 0501004088 A TH0501004088 A TH 0501004088A TH 41235 B TH41235 B TH 41235B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
layer
piezoresistor
thin film
contact
sensor device
Prior art date
Application number
TH501004088A
Other languages
English (en)
Other versions
TH81986A (th
TH81986B (th
Inventor
วิศิษฎ์สรอรรถ นายอนุรัตน์
Original Assignee
นายเกรียงศักดิ์ ก้อนทอง
นายกนกศักดิ์ ทองพานิชย์
นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
นายชาญชัย นีรพัฒนกุล
Filing date
Publication date
Application filed by นายเกรียงศักดิ์ ก้อนทอง, นายกนกศักดิ์ ทองพานิชย์, นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล, นายชาญชัย นีรพัฒนกุล filed Critical นายเกรียงศักดิ์ ก้อนทอง
Publication of TH81986A publication Critical patent/TH81986A/th
Publication of TH81986B publication Critical patent/TH81986B/th
Publication of TH41235B publication Critical patent/TH41235B/th

Links

Abstract

DC60 เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสที่สร้างขึ้นโดยใช้กระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) ประกอบ ด้วยส่วนเมมเบรนลอยอยู่ตรงกลางที่ถูกยึดด้วยแขนยึดจำนวนสองแขนหรือสี่แขนขึ้น กับการออกแบบ โดยจะมีการสร้างเมมเบรนลอยด้วยวัสดุโลหะราคาถูกที่ใช้ในกระบวนการ electroplating เช่น นิเกิ้ล (Ni) หรือ ทองแดง (Cu) บนเมมเบรนลอยจะมีชั้นฟิล์มบางของฉนวนไฟ ฟ้าที่เหมาะสม เช่น Alumina (Al2O3) Silicon Nitride (Si3N4) หรือ Silicon Dioxide (SiO2) ตามด้วย ชั้นของฟิล์มบางของ piezoresistor ที่เคลือบอยู่บนแขนยึดแต่ละแขนและจะมีชั้นฟิล์มบางของโลหะ ที่เหมาะสม เช่น Cu/Cr เคลือบบนปลายอยู่เพื่อเป็นขั้วไฟฟ้า เมื่อแขนยึดดังกล่าวโค้งงอด้วยแรงที่มา กระทำ ส่วนที่เป็น piezoresistor ก็จะโค้งงอและมีความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ปริมาณแรงสัมผัสที่กดก็จะถูกวัดได้โดยการวัดความต้านทานไฟฟ้าของอุปกรณ์ โดย piezoresistor ในการประดิษฐ์นี้จะเป็นวัสดุที่เหมาะสมเช่น indium tin oxide (ITO) ที่สร้างด้วยกระบวนการ เฉพาะคือ ion-assisted electron beam evaporation ข้อดีสำคัญของกระบวนการนี้ คือเป็นกระบวน การที่อุณหภูมิต่ำที่สามารถควบคุมพารามิเตอร์ของกระบวนการเติมไอออนที่เหมาะสม (ion- assisted deposition parameters) ซึ่งจะทำให้ได้ฟิล์มของ ITO ที่มีคุณสมบัติ piezoresistivity ที่ดี เหมาะสมกับเซนเซอร์วัดแรงที่มีความไวสูง ประกอบกับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็กจะทำให้ได้เซนเซอร์ ที่สามารถวัดแรงสัมผัสได้ในระดับหนึ่งในล้านของนิวตัน และที่สำคัญคือกระบวนการผลิตจะมี ราคาถูกกว่าการผลิตเซนเซอร์วัดแรงแบบเมมเบรนลอยอื่นๆที่ใช้กระบวนการผลิตแบบวงจรรวม มาก ในการใช้งานเซนเซอร์วัดแรงสัมผัสมักจะสร้างในลักษณะอาร์เรย์ซึ่งมีชั้นของแผ่นแผ่นรับแรง และการสัมผัสซึ่งเป็นวัสดุที่ยืดหยุ่นได้วางทับเพื่อเป็นชั้นที่แรงสามารถกดลงโดยตรง เมื่อมีการ สัมผัสหรือมีแรงกดบนแผ่นรับแรง แรงจะถูกกระจายลงบนเมมเบรนของอุปกรณ์แต่ละตัว เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสที่สร้างขึ้นโดยใช้กระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) ประกอบ ด้วยส่วนเมมเบรนลอยอยู่ตรงกลางที่ถูกยึดด้วยแขนยึดจำนวนสองแขนหรือสี่แขนขึ้น กับการออกแบบ โดยจะมีการสร้างเมมเบรนลอยด้วยวัสดุโลหะราคาถูกที่ใช้ในกระบวนการ electroplating เช่น นิเกิ้ล (Ni) หรือ ทองแดง (Cu) บนเมมเบรนลอยจะมีชั้นฟิล์มบางของฉนวนไฟ ฟ้าที่เหมาะสม เช่น Alumina (Al2O3) Silicon Nitride (Si3N4) หรือ Silicon Dioxide (SiO2) ตามด้วย ชั้นของฟิล์มบางของ piezoresistor ที่เคลือบอยู่บนแขนยึดแต่ละแขนและจะมีชั้นฟิล์มบางของโลหะ ที่เหมาะสม เช่น Cu/Cr เคลือบบนปลายอยู่เพื่อเป็นขั้วไฟฟ้า เมื่อแขนยึดดังกล่าวโค้งงอด้วยแรงที่มา กระทำ ส่วนที่เป็น piezoresistor ก็จะโค้งงอและมีความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ปริมาณแรงสัมผัสที่กดก็จะถูกวัดได้โดยการวัดความต้านทานไฟฟ้าของอุปกรณ์ โดย piezoresistor ในการประดิษฐ์นี้จะเป็นวัสดุที่เหมาะสมเช่น indium tin oxide (ITO) ที่สร้างด้วยกระบวนการ เฉพาะคือ ion-assisted electrom beam evaporation ข้อดีสำคัญของกระบวนการนี้ คือเป็นกระบวน การที่อุณหภูมิต่ำที่สามารถควบคุมพารามิเตอร์ของกระบวนการเติมไอออนที่เหมาะ สม (ion- assisted deposition parameters) ซึ่งจะทำได้ฟิล์มของ ITO ที่มีคุณสมบัติ piezoresistivity ที่ดี เหมาะสมกับเซนเซอร์วัดแรงที่มีความไวสูง ประกอบกับอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็กจะทำให้ได้เซนเซอร์ ที่สามารถวัดแรงสัมผัสได้ในระดับหนึ่งในล้านของนิวตัน และที่สำคัญคือกระบวนการผลิตจะมี ราคาถูกกว่าการผลิตเซนเซอร์วัดแรงแบบเมมเบรนลอยอื่นๆที่ใช้กระบวนการผลิตแบบวงจรรวม มาก ในการใช้งานเซนเซอร์วัดแรงสัมผัสมักจะสร้างในลักษณะอาร์เรย์ซึ่งมีชั้นของแผ่นแผ่นรับแรง และการสัมผัสซึ่งเป็นวัสดุที่ยืดหยุ่นได้วางทับเพื่อเป็นชั้นที่แรงสามารถกดลงโดยตรง เมื่อมีการ สัมผัสหรือมีแรงกดบนแผ่นรับแรง แรงจะถูกกระจายลงบนเมมเบรนของอุปกรณ์แต่ละตัว

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสที่ประกอบด้วย - แผ่นฐาน (3) ที่ประกอบด้วยผิวหน้าที่หนึ่งและสอง โดยใช้แผ่น (3) ดังกล่าวทำมา จากวัสดุที่เป็นฉนวน - เมมเบรนลอย(1) ที่ถูกสร้างอยู่บนผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นฐาน (3) โดยมีช่องว่าง อากาศ(7) ดังกล่าว โดยมีแขนยึด (2) เป็นตัวเชื่อมอย่างน้อยสองจุด - ชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ที่ถูกสร้างอยู่บนเมมเบรนลอย(1) ดังกล่าว - ชั้นฟิล์มบางของ piezoresistor (5) ที่ถูกสร้างบนแขนยึด (2) ดังกล่าวทุกแขน โดย ชั้นฟิลม์บางของ piezoresistor (5) ดังกล่าวจะมีความต้านทานไฟฟ้าเปลี่ยนไปเมื่อมี แรงของการสัมผัสที่ต้องการจะตรวจวัดเข้ามากระทำ - ขั้วไฟฟ้า (6) อย่างน้อยสองขั้วสำหรับ piezoresistor (5) แต่ละตัว ที่สร้างอยู่บนชั้น piezoresistor (5) เพื่อทำหน้าที่เป็นขั้วเอาต์พุตของอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดัง กล่าว ดังกล่าวและ โดยที่อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าว มีลักษณะเฉพาะคือ แผ่นฐาน (3) มีคุณสมบัติ เป็นวัสดุฉนวนที่ทนความร้อนได้อย่างน้อย 250 องศาเซลเซียส และมีลักษณะเฉพาะคือชั้นฟิล์มบาง ของเพียโซรีซิสเตอร์ (piezoresistor) (5) ที่เป็นวัสดุอินเดียมทินออกไซด์ (indium tin oxide) (ITO) สร้างขึ้นจากกระบวนการ ion-assisted electron beam evaporation โครงสร้างเมมเบรนลอย(1) ดัง กล่าวนี้จะถูกออกแบบให้เป็นฟิล์มเรียบที่มีรูปร่างเฉพาะคือ ตรงกลางมีลักษณะเป็นโครงสร้างแบบ หยักลอน (corrugated structure) ซึ่งถูกสร้างด้วยกระบวนการ electroplating และมีชั้นของฉนวนไฟ ฟ้า (4) เคลือบทับแผ่นรับแรงและการสัมผัส (8) ที่วางอยู่บนเมมเบรนลอย(1) ดังกล่าว 2. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นฐาน (3) ดังกล่าว ทำจาก แก้ว 3. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นฐาน (3) ดังกล่าวทำจาก พลาสติกที่ทนความร้อนได้อย่างน้อย 250 องศาเซลเซียส 4. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นฐาน (3) ดังกล่าวทำจากซิ ลิกา 5. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 2-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งแผ่นฐาน (3) ดังกล่าวมีขนาดกว้างและยาวอยู่ระหว่าง 1-100 มิลลิเมตรและมีความหนาระหว่าง 0.5-2 มิลลิเมตร 6. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าวทำ จากโลหะทองแดงและมีความหนาในช่วง 1-50 ไมโครเมตร 7. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าวทำ จากโลหะนิเกิ้ลและมีความหนาในช่วง 1-50 ไมโครเมตร 8. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าว ทำจาก อลูมิน่า 9. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าวทำจากซิลิกอนไนไตร 1 0. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าว ทำจากซิลิกอนไดออกไซด์ 1 1. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 8-10 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ชั้นฉนวน ชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าว มีความหนาระหว่าง 300-2000 นาโนเมตร 1 2. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 11 ที่ซึ่งชั้นของวัสดุประเภทรีซิสทีฟ เพียโซ (piezoresistive) (5) คืออินเดียมทินออกไซด์ (Indium Tin Oxide) (ITO) เคลือบอยู่ใน บริเวณแขนยึดทุกแขน 1 3. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งขั้วไฟฟ้าของฟิล์มบางของเพีย โซ piezoresistor (5) ดังกล่าวมีลวดลายแบบขดลวดตัวยู 1 4. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 12 ที่ซึ่งขั้วไฟฟ้าของฟิล์มบางของ โลหะ (6) เคลือบอยู่ ประกอบด้วยชั้นโครเมี่ยมในชั้นแรกที่มีความหน่าระหว่าง 20-40 นาโน เมตรและชั้นทองแดงที่มีความหนาระหว่าง 500-1000 นาโนเมตรในชั้นถัดไป 1 5. อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวในข้อถือสิทธิที่ 1 ยังมีแผ่นรับแรงและการสัมผัส(8) วางอยู่บนเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าว 1 6. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสประกอบด้วย - การจัดให้มีแผ่นฐาน (3) ที่ประกอบด้วยผิวหน้าที่หนึ่งและสอง - การจัดให้มีเมมเบรนลอย (1) ที่ถูกสร้างจากโลหะและมีส่วนหนึ่งลอยอยู่เหนือผิว หน้าที่หนึ่งของแผ่นฐาน (3) ดังกล่าว โดยมีช่องว่าง (7) อยู่ระหว่างนั้น โดยมีเมมเบ รนลอยดังกล่าวยังประกอบด้วยแถบยึด (2) อย่างน้อยสองจุดเพื่อการยึดเมมเบรน ลอย (1) ดังกล่าวให้ติดกับแผ่นฐาน (3) ดังกล่าว - การจัดให้มีชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ที่ถูกสร้างอยู่บนเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าว เพื่อเป็นฉนวนไฟฟ้า - การจัดให้มีชั้นฟิล์มบางของเพียโซรีซิสเตอร์ (piezoresistor) (5) ที่ถูกสร้างบนแขน ยึด (2) ดังกล่าวทุกแขน - การจัดให้มีขั้วไฟฟ้า (6) อย่างน้อยสองขั้วสำหรับเพียโซรีซิสเตอร์ piezoresistor (5) แต่ละตัว ที่สร้างอยู่บนชั้น piezoresistor (5) เพื่อทำหน้าที่เป็นขั้วเอาต์พุตของ อุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าว ดังกล่าวและ - การจัดให้มีแผ่นรับแรงและการสัมผัส(8) ที่วางอยู่บนเมมเบรนลอย(1) ดังกล่าว โดยที่กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะคือ ในขั้น ตอนการจัดให้มีเมมเบรนลอย (1)ดังกล่าว ประกอบด้วยขั้นตอนของ - การเคลือบชั้นฟิล์มบางของโลหะเพื่อเป็นฐานของแถบยึด (2) บนแผ่นฐาน (3) ด้วย กระบวนการ evaporation หรือ sputteringร่วมกับการสร้างลวดลายด้วยกระบวน การถ่ายแบบด้วยแสง (photolithography) - การสร้างชั้นของ photoresist (9) โดยกระบวนการถ่ายแบบด้วยแสง (photolithography) เป็นช่องเปิดอย่างน้อยสองช่องสำหรับการสร้างแถบยึด (2) ดัง กล่าว - การสร้างแขนยึด (2) ในช่องเปิดดังกล่าวของชั้น photoresist (9) ดังกล่าว ด้วย กระบวนการ electroplating โดยที่แถบยึด (2) ดังกล่าวจะเป็นโลหะชนิดเดียวกับ ฟิล์มบางของโลหะที่เป็นฐานของแถบยึด(2) ดังกล่าว และ - การสร้างเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าวให้มีความหนาและโครงสร้างแบบหยักลอน ตามต้องการด้วยกระบวนการ electroplating ซึ่งจะเชื่อมต่อทางโครงสร้างแขนยึด (2) อย่างน้อยสองชิ้นเข้าด้วยกัน และ - การกำจัดชั้น photoresist (9) ดังกล่าวออกไป เพื่อทำให้เกิดช่องว่าง (7) ดังกล่าว ระหว่างเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าวกับชั้นฐาน (3) ดังกล่าว 1 7. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 ที่ซึ่งชั้นฟิล์มโลหะบาง ของเมมเบรนลอย (1) ดังกล่าวมีความหนาเริ่มต้นอยู่ระหว่าง 100-200 นาโนเมตร 1 8. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ขั้นตอนของการ สร้างชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าวกระทำด้วยกระบวนการ evaporation 1 9. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ขั้นตอนการสร้าง ชั้นฉนวนชนิดฟิล์มบาง (4) ดังกล่าวกระทำด้วยกระบวนการ sputtering 2 0. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ขั้นตอนมีการ สร้างชั้นฟิล์มบางของ piezoresistor (5) ดังกล่าวกระทำด้วยกระบวนการ ion-assisted electron beam evaporation 2
1. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ขั้นตอนการสร้าง ขั้วไฟฟ้า (6) ของพิล์มบางของ piezoresistor (5) อย่างน้อยสองขั้ว บนชั้นฟิล์มบางของ piezoresistor (5) ดังกล่าวด้วยโลหะกระทำด้วยกระบวนการ evaporation 2
2. กระบวนการผลิตอุปกรณ์เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสในข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ขั้นตอนการสร้าง ขั้วไฟฟ้า (6) ของฟิล์มบางของ piezoresistor (5) อย่างน้อยสองขั้ว บนชั้นฟิล์มบางของ piezoresistor (5) ดังกล่าวด้วยโลหะกระทำด้วยกระบวนการ sputtering
TH501004088A 2005-08-31 เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว TH41235B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH81986A TH81986A (th) 2006-12-21
TH81986B TH81986B (th) 2006-12-21
TH41235B true TH41235B (th) 2014-08-28

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
WO2019148726A1 (zh) 一种电阻式应变传感器
JP2015506479A (ja) 広域温度センサ
JP6917843B2 (ja) ガスセンサ
US8106740B2 (en) Resistance thermometer
KR102210634B1 (ko) 마이크로 히터 및 마이크로 센서
JPS5952521B2 (ja) 電気抵抗装置
CN105209877A (zh) 压力传感器
KR102035089B1 (ko) 히터 내장형 습도센서 및 그 제조방법
JP5769043B2 (ja) 電気素子、集積素子、電子回路及び温度較正装置
CN115266848A (zh) 一种多通道气体传感器及其制备方法
JP2000088671A (ja) 少なくとも一つの凹所を有するサブストレ―ト上に配置された少なくとも二つの接続接触フィ―ルドを具備する電気抵抗体及びその製造方法
WO2017130913A1 (ja) 温度センサ
KR20100037802A (ko) 온도센서 어셈블리 및 온도센서 어셈블리의 제조방법
JP6978611B2 (ja) 圧力及び温度測定用のセンサ素子
TH41235B (th) เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว
TH81986A (th) เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว
CN100410630C (zh) 流量传感器
KR101976461B1 (ko) 수직 적층된 온습도 복합 센서 및 그 제조방법
JP2012069712A (ja) 温度センサ付き電解コンデンサ
KR101992022B1 (ko) 반도체식 가스센서
KR100612203B1 (ko) 온도센서
JP2011196896A (ja) 接触燃焼式ガスセンサ
TH81986B (th) เซนเซอร์วัดแรงสัมผัสซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว
TH77498A (th) เซนเซอร์วัดความเร่งซึ่งทำจากกระบวนการ Electro-Fabrication (E-Fab) และกระบวนการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าว
KR102210968B1 (ko) 온도센서 및 이를 포함하는 발열구조물