TH28754B - วิธีการรีไซเคิลขวด pet - Google Patents

วิธีการรีไซเคิลขวด pet

Info

Publication number
TH28754B
TH28754B TH201003845A TH0201003845A TH28754B TH 28754 B TH28754 B TH 28754B TH 201003845 A TH201003845 A TH 201003845A TH 0201003845 A TH0201003845 A TH 0201003845A TH 28754 B TH28754 B TH 28754B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
catalyst
pet
recycling method
titanium
clause
Prior art date
Application number
TH201003845A
Other languages
English (en)
Other versions
TH61983A (th
Inventor
ชิคัทซูเนะ นายเท็ทสึยะ
นาคาโอะ นายทาคูโอะ
ซูซูกิ นายมิโนรุ
นาคาชิมา นายมิโนรุ
นากาโนะ นายฮิโรชิ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางวรนุช เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางวรนุช เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH61983A publication Critical patent/TH61983A/th
Publication of TH28754B publication Critical patent/TH28754B/th

Links

Abstract

DC60 (14/07/52) กระบวนการที่ประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาดีพอลิเมอไรเซชันแก่ขวด PET ที่ใช้งานแล้วกับ EG และการคัดเก็บ DMT โดยการทำปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนเอสเตอร์กับ MeOH เพื่อที่จะให้ได้กรดเทอเรพทาลิก โดยกระบวนการไฮโดรไลซิสแก่ DMT ที่ถูกคัดเก็บ และผลิต PET พอลิเมอร์ที่นำไปใช้ผลิตเป็นขวด PET ได้อีก โดยการใช้กรดเทอเรพทาลิก มีเปิดเผยไว้ในการประดิษฐ์นี้ กระบวนการที่ประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาดีพอลิเมอไรเซชันแก่ขวด PET ที่ใช้งานแล้วกับ EG และการคืนสภาพ DMT โดยการทำ ปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์กับ MeOH เพื่อที่จะให้ได้กรดเทอเรพทาลิก โดยกระบวนการไฮโดรไลซิสแก่ DMT คืนสภาพ และผลิต PET พอลิเมอร์ที่นำไปใช้ผลิตเป็นขวด PET ได้อีก โดยการใช้กรดเทอเรพทาลิก มีเปิดเผยไว้ในการประดิษฐ์นี้

Claims (8)

1. วิธีการรีไซเคิลขวด PET ที่ซึ่งมีลักษณะพิเศษโดยเฉพาะที่ขยะของขวดเรซิน ที่มีพอลิเอทิลีน เทอเรพทาเลท (PET) เป็นส่วนประกอบหลัก และที่มีส่วนประกอบเพิ่มเติมที่แตกต่างจากส่วนประกอบดังกล่าวถูกนำมาผ่านกระบวนการ (1) ถึง (17) ดังต่อไปนี้ตามลำดับ (1) กระบวนการแก้ห่อมัดขวด PET ที่ได้คือสภาพจากการรวบรวมจากขยะแยกประเภท (2) กระบวนการแยกเหล็ก และอะลูมินัม โดยตัวตรวจวัดโลหะจากขวด PET ที่แก้มัดแล้วและต่อจากนั้นทำการบดอัดขวด PET ให้ เป็นชิ้นเล็กๆ ขนาด 2-30 มม. (3) กระบวนการแยกส่วนประกอบพอลิเมอร์ที่แตกต่างจาก PET ซึ่งเป็นฉลาก (แผ่นฟิล์มบางๆ) หรืออื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน และที่ซึ่งประกอบด้วยพอลิเอทิลีน (PE), พอลิสไตรีน (PS), พอลิไวนิล คลอไรด์ (PVC) หรืออื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน จากชิ้นเล็กๆ ของขวด PET โดยการพัดเป่า (4) กระบวนการล้าง และแยกส่วนโดยอาศัยแรงดึงดูดของโลกโดยทำหน้าที่สองประการในการล้างวัสดุแปลกปลอมที่เกาะอยู่ที่ด้าน ใน และด้านนอกของชิ้นเล็กๆ ของขวด PET ที่บดอัดแล้วและ/หรือ ส่วนที่เหลือของผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอยู่ในขวด PET ด้วยน้ำ และการแยกส่วนทราย, หิน และอื่นๆ ที่มีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำ และ PET และพลาสติกแปลกปลอม เช่น PE และ PP ที่มีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ (5) กระบวนการดีพอลิเมอไรเซชันเพื่อผลิตบิส-(B)-ไฮดรอกซีเอทิล เทอเรพทาเลท (BHET) โดยการใส่ชิ้นเล็กๆ PET คืนสภาพ เข้าไปใน EG ที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาดีพอลิเมอรไรเซชัน PET และบำบัดส่วนผสมที่อุณหภูมิ 175-190 ํ C ภายใต้แรงดัน 0.1-0.5 MPa (6) กระบวนการแยกส่วนของแข็ง-ของเหลวเพื่อแยกวัสดุแปลกปลอมที่เป็นของแข็ง ซึ่งไม่ได้ละลายในสารละลายทำปฏิกิริยา ข้างต้น (7) กระบวนการทำให้ BHET เข้มข้น เพื่อที่จะกลั่น และทำความเข้มข้นให้แก่ส่วนของสารละลายที่ผ่านกระบวนการแยกส่วนของแข็ง-ของเหลว (8) กระบวนการตกผลึกซ้ำแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์เพื่อสร้างเป็น DMT และ EG หยาบ ผ่านการทำปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์จาก BHET เข้มข้นในเมทานอล (MeOH) ในที่ที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของการทำปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์ และนำเอาส่วนผสมจากการทำ ปฏิกิริยาไปเข้ากระบวนการตกผลึกซ้ำในตัวทำละลาย MeOH (9) กระบวนการกลั่น DMT เพื่อที่จะแยก MeOH โดยการกลั่นจากก้อน DMT เพื่อทำความบริสุทธิ์ให้แก่ DMT (10) กระบวนการไฮโดรไลซิสเพื่อนำเอา DMT บริสุทธิ์ที่ได้ในกระบวนการกลั่น DMT ไปทำปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสพร้อมกับน้ำ ที่อุณหภูมิ 230-250 ํ C เพื่อผลิต TA (11) กระบวนการทำความเย็นให้แก่สเลอรีที่มีน้ำของ TA ที่ได้ในกระบวนการไฮโดรไลซิส (12) กระบวนการเพื่อให้ได้ก้อน TA จากสเลอรีที่มีน้ำของ TA ที่เย็นแล้วผ่านการแยกส่วนของแข็ง-ของเหลว (13) กระบวนการปรับสเลอรี ที่ ซึ่งก้อน TA ที่ได้ในกระบวนการ (12) ถูกเติมลงไปในถังเตรียมสเลอรีหลังจากที่มันแห้งแล้วโดยทางเลือก และอัตราส่วนโดยโมลของ TA/EG ถูกปรับเป็น 1:1 ถึง 1:3 (14) กระบวนการที่ซึ่ง TA และ EG ถูกนำมาทำปฏิกิริยาเอสเตอริฟิเคชัน เพื่อให้ได้ PET โอลิโกเมอร์ (15) กระบวนการพอลิคอนเดนเซชันหลอมเหลวเริ่มแรกที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาพอลิคอนเดน-เซชัน และตัวสร้างความเสถียรถูกเติมลงไปใน PET โอลิโกเมอร์ และส่วนผสมถูกนำไปทำปฏิกิริยาพอลิ-คอนเดนเซชันหลอมเหลวในสูญญากาศอ่อนที่ 1.3 kPa ถึง 4.0 kPa ที่ 260-300 ํ C เพื่อแยก EG และทำให้ระดับของพอลิเมอไรเซชันเพิ่มขึ้น (16) กระบวนการพอลิคอนเดนเซชันหลอมเหลวส่วนหลัง ที่ซึ่งผลิตภัณฑ์ของกระบวนการก่อนหน้าถูกนำไปเข้ากระบวนการพอลิคอน เดนเซชันหลอมเหลวในสุญญากาศสูงถึง 67 Pa ถึง 0.7 kPa ที่270-300 ํ C เพื่อแยก EG ออกโดยการกลั่น และจะทำให้ระดับของพอลิเมอไรเซชันเพิ่มขึ้นไปอีก และ (17) กระบวนการพอลิเมอไรเซชันในเฟสของแข็งเพื่อเพิ่มระดับของพอลิเมอไรเซชัน เพื่อที่จะให้ได้ PET ที่ใช้สร้างเป็นขวดได้ดี 2. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาดีพอลิเมอไรเซชันที่จะใช้ในกระบวนการ(5) จะเป็นชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดของสารประกอบที่เลือกจากหมู่ที่ประกอบด้วยเกลือคาร์บอเนท, เกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนท, ไฮดรอกไซด์ และอัลคอกไซด์ของโลหะอัลคาไล, เกลือคาร์บอเนท, เกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนท, ไฮดรอกไซด์ และอัลคอกไซด์ของโลหะอัลคาไลน์เอิร์ท, แมงกานีส อะซิเตท และสังกะสี อะซิเตท 3. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งปริมาณการเติมของตัวเร่งปฏิกิริยาดีพอลิเมอไรเซชันที่ใช้ในกระบวนการ (5) จะเป็น 0.1 ถึง 10 wt.% บนพื้นฐานของน้ำหนักของชิ้นเล็กๆ PET คืนสภาพ 4. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์ที่ใช้ในกระบวนการ (8) จะเป็นชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดของสารประกอบที่เลือกจากหมู่ที่ประกอบด้วยเกลือคาร์บอเนท, เกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนท, ไฮดรอกไซด์ และอัลคอกไซด์ของโลหะอัลคาไล, เกลือคาร์บอเนท, เกลือไฮโดรเจนคาร์บอเนท, ไฮดรอกไซด์และอัลคอกไซด์ของโลหะอัลคาไลน์เอิร์ท, แมงกานีส อะซิเตท และสังกะสี อะซิเตท 5. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งปริมาณการเติมของตัวเร่งปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนระหว่างเอสเตอร์ที่ใช้ในกระบวนการ (8) เป็น 0.1 ถึง10 wt% บนพื้นฐานของน้ำหนักของชิ้นเล็กๆ PET คืนสภาพ 6. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งก้อน TA จะถูกนำไปผสมกับ EG โดยไม่มีการทำให้แห้งในกระบวนการ (13) และอัตราส่วนโดยโมลของ EG/TA จะถูกปรับเป็น1:1 ถึง 1:3 7. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งปริมาณน้ำของ EG สเลอรีในกระบวนการ (13) จะอยู่ในช่วง0.1 ถึง 20 wt% บนพื้นฐานของน้ำหนัก EG 8. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง TA ที่จะส่งไปยังกระบวนการ (14) จะมีอัตราของปริมาณทั้งหมดของ 4-คาร์บอกซีเบนซาลดีไฮด์ (4-CBA), เมทิล พาราโทลูเอท (p-TA),กรดเบนโซอิก (BA) และไดเมทิล ไฮดรอกซีเทอเรพทาเลท เป็น 1 ppm หรือน้อยกว่า และอัตราของปริมาณทั้งหมดของโมโนเมทิล เทอเรพทาเลท (MMT) และไดเมทิล เทอเรพทาเลท(DMT) จะอยู่ในช่วง 1 ถึง 5,000 ppm 9. วิธีการรีไซเคิลตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันที่ใช้ในกระบวนการ (15) จะเป็นชนิดหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุดของสารประกอบที่เลือกจากหมู่ที่ประกอบด้วยสารประกอบเยอรมาเนียม, สารประกอบแอนติมอนี และสารประกอบ ไททาเนียม และตัวสร้างความเสถียรที่จะเติมลงไปจะเป็นชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดที่เลือกจากฟอสฟอริก เอสเตอร์ เช่น ไตรเมทิล ฟอสเฟท, ไตรเอทิล ฟอสเฟท และไตรฟีนิล ฟอสเฟท, ฟอสฟอรัส เอสเตอร์ เช่น ไตรฟีนิล ฟอสไฟท์, และทริสโดเดซิล ฟอสไฟท์, อะซิติก ฟอสฟอริก แอ ซิด เอสเตอร์ เช่น เมทิล แอซิด ฟอสเฟท, ไดบูทิล ฟอสเฟท และโมโนบูทิล ฟอสเฟท และสารประกอบฟอสฟอรัส เช่น กรดฟอสฟอริก, กรดฟอสฟอรัส, กรดไฮโปฟอสฟอรัส หรือกรดพอลิฟอสฟอริก 1 0. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งปริมาณการเติมของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันที่ใช้ในกระบวนการ (15) จะเป็น 0.002 ถึง 0.1 wt% ของน้ำหนักของ TA ที่ส่งไปในกระบวนการ (14) 1
1. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นอะมอร์ฟัส เยอรมาเนียม ไดออกไซด์ และปริมาณที่มีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 20 ถึง 150 ppm ในรูปของธาตุเยอรมาเนียมบนพื้นฐานของTA 1
2. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นแอนติมอนี ไตรออกไซด์ และปริมาณที่มีของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 100 ถึง 400 ppm ในรูปของธาตุจแอนติมอนีบนพื้นฐานของ TA 1
3. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นไททาเนียม เตตระบูทอกไซด์ และปริมาณที่มีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูปของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA 1
4. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นไททาเนียม ไตรเมลไลเทท และปริมาณที่มีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูปของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA 1
5. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิรยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นผลิตภัณฑ์จากการทำปฏิกิริยาไททาเนียม เตตระบูทอกไซด์ และโมโน-n-บูทิล ฟอสเฟท และปริมาณที่มีของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูป ของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA 1
6. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นผลิตภัณฑ์จากการทำปฏิกิริยาไททาเนียม ไตรเมลไลเทท และโมโน-n-บูทิล ฟอสเฟท และปริมาณที่มีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูป ของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA 1
7. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นผลิตภัณฑ์จากการทำปฏิกิริยาไททาเนียม เตตระบูทอกไซด์ และกรดฟีนิลฟอสฟอนิก และปริมาณที่มีอยู่ของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูปของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA 1
8. วิธีการรีไซเคิลที่ถูกบรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาพอลิคอนเดนเซชันจะเป็นผลิตภัณฑ์จากการทำปฏิกิริยาไททาเนียม ไตรเมลไลเทท และกรดฟีนิลฟอสฟอนิก และปริมาณที่มีของตัวเร่งปฏิกิริยาในการทำปฏิกิริยาจะเป็น 1 ถึง 100 ppm ในรูปของธาตุไททาเนียมบนพื้นฐานของ TA
TH201003845A 2002-10-15 วิธีการรีไซเคิลขวด pet TH28754B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH61983A TH61983A (th) 2004-05-10
TH28754B true TH28754B (th) 2010-09-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR100866819B1 (ko) Pet 보틀의 리사이클 방법
CA2941491C (en) Process for enhancing the molecular weight of a polyester
EP1344765B1 (en) Process for producing a dimethyl terephthalate composition
US6706843B1 (en) Method for separating and recovering dimethyl terephthalate and ethylene glycol from polyester waste
AU2010237248A1 (en) Chemical recycling of PLA by hydrolysis
TR201807609T4 (tr) Bir poliesterin özel esterleştirme şartlarında hazırlanması için usul.
CN103360260B (zh) 一种对苯二甲酸乙二酯的制备工艺和聚酯的制备方法
WO2013025186A1 (en) Process for the preparation of polyesters with high recycle content
CN101415746A (zh) 由聚对苯二甲酸乙二醇酯(pet)制备聚对苯二甲酸丁二醇酯(pbt)的方法
JP5178211B2 (ja) ペットボトル廃棄物より色相を改善したテレフタル酸ジメチルを回収する方法
TH28754B (th) วิธีการรีไซเคิลขวด pet
TH61983A (th) วิธีการรีไซเคิลขวด pet
JP2006016548A (ja) ポリエステルの製造方法
TW591049B (en) Method for recycling PET bottle
TW528773B (en) Dimethyl terephthalate composition and process for producing the same
TW202415702A (zh) 用於製備對苯二甲酸雙(二醇)酯寡聚物及聚酯樹脂的方法
TW202405048A (zh) 使用回收的對苯二甲酸雙(2-羥基乙基)酯之水溶液製備聚酯樹脂的方法
TW202348681A (zh) 使用回收的對苯二甲酸雙(2-羥基乙基)酯的聚酯樹脂及包含其之物件
WO2024094621A1 (en) Process for the production of a high molecular weight polyester (co)polymer
WO2023059579A1 (en) Production of virgin-quality pet and copolyester raw materials from polyester carpet fibers
TW202419514A (zh) 包含對苯二甲酸雙(二醇)酯的聚酯樹脂及其製備方法
JP2011137081A (ja) リン系難燃剤が共重合されたポリエステル製品のリサイクル方法
JP2004323664A (ja) ポリアルキレンテレフタレートのリサイクル方法
JP2012116912A (ja) ポリエステルからポリエステルモノマーを製造する方法