TH25967B - วิธีควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว - Google Patents

วิธีควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว

Info

Publication number
TH25967B
TH25967B TH9701001261A TH9701001261A TH25967B TH 25967 B TH25967 B TH 25967B TH 9701001261 A TH9701001261 A TH 9701001261A TH 9701001261 A TH9701001261 A TH 9701001261A TH 25967 B TH25967 B TH 25967B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
leaching
valve
valve metal
acid
metal
Prior art date
Application number
TH9701001261A
Other languages
English (en)
Other versions
TH31933A (th
Inventor
เอ ฟิฟ นายเจมส์
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH31933A publication Critical patent/TH31933A/th
Publication of TH25967B publication Critical patent/TH25967B/th

Links

Abstract

DC60 วิธีการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว รวมทั้งการดีออกซิไดซ์โลหะวาล์ว โดยทั่วไป คือ แทนทาลัม, ไนโอเบียม และอัลลอยด์ และการชะล้างวัสดุในสารละลายกรดชะล้าง ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง ในลักษณะหนึ่งของการประดิษฐ์ปัจจุบัน สารละลายกรดชะล้างถูก เตรียมและถูกทำให้เย็นที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้องก่อนทำการชะล้างวัสดุโลหะวาล์วดี ออกซิไดซ์ วิธีการของการประดิษฐ์ปัจจุบันได้พบว่าความเข้มข้นของออกซิเจน และฟลูออไรด์จะ ลดลงในวัสดุโลหะวาล์ว ถ้ามีการลดอุณหภูมิการชะล้าง ซึ่งทำให้ออกซิเจนลดลง สำหรับปริมาณ กรดชะล้างที่กำหนด เช่น กรดไฮโดรฟลูออริค วิธีการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว รวมทั้งวิธีการดีออกซิไดซ์โลหะวาล์ว โดยทั่วไป คือ แทนทาลัม, ไนโอเบียม และอัลลอยด์ และการชะล้างวัสดุในสารละลายกรดชะล้าง ที่ อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง ในลักษณะหนึ่งของการประดิษฐ์ ปัจจุบัน สารละลายกรดชะล้างถูก เตรียมและถูกทำให้เย็นที่ อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้องก่อนทำการชะล้างวัสดุ โลหะวาล์ว ดี ออกซิไดซ์ วิธีการของการประดิษฐ์ปัจจุบันได้พบว่าความ เข้มข้นของออกซิเจน และฟลูออไรด์จะ ลดลงในวัสดุโลหะวาล์ว ถ้ามีการลดอุณหภูมิการชะล้าง ซึ่งทำให้ออกซิเจนลดลง สำหรับ ปริมาณ กรดชะล้างที่กำหนด เช่น กรด ไฮโดรฟลูออริก

Claims (9)

1. วิธีการสำหรับการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว อันประกอบด้วย การชะล้างวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกดีออกซิไดซ์ ในสารละลาย กรดชะล้าง ที่อุณหภูมิต่ำกว่าประมาณ 0 ํ ซ. 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย แทนทาลัม, ไนโอเบียม, อัลลอยของแทนทาลัม, และอัลลอยของไนโอเบียม 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ แทนทาลัม 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ ไนโอเบียม 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งวัสดุโลหะวาล์วดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยผง เกล็ด, ผงละเอียด, ผงที่ได้จากลิ่ม และวัสดุที่ถูกเผาผนึก 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดแร่ 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 6 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดไฮโดรฟลู ออริค น้อยกว่า 10 % โดยน้ำหนัก 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งอุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างต่ำกว่าประมาณ -16 ํซ. 9. วิธีการของการผลิตวัสดุโลหะวาล์ว ซึ่งมีปริมาณออกซิเจนที่ถูกควบคุม อันประกอบ ด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ การเกิดผงโลหะวาล์ว การเกาะรวมตัวของผงโลหะวาล์วดังกล่าว การเกาะรวมตัวของผงโลหะวาล์วที่เกาะรวมตัวกันดังกล่าว ในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมา ซึ่งมีแรง ดึงดูดออกซิเจนสูงกว่าผงโลหะวาล์ว, และ การชะล้างผงวัสดุโลหะวาล์วที่เกาะรวมตัวกันที่ถูกดีออกซิไดซ์ ในสารละลายกรดชะล้างที่ อุณหภูมิต่ำกว่า 0 ํ ซ. เพื่อสลายสานปนเปื้อนที่ติดมากับวัสดุที่ได้รับมา 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย แทนทาลัม, ไนดอเบียม, อัลลอยของแทนทาลัม และอัลลอยของไนโอเบียม 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 10 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ แทนทาลัม 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 10 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ ไนโอเบียม 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งผงโลหะวาล์วดังกล่าวถูกทำให้รวมตัวกันด้วยความร้อน ภายใต้สุญญากาศ 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งผงโลหะวาล์วดังกล่าวถูกดีออกซิไดซ์ที่อุณหภูมิสูงจนถึง 1,000 ํ ซ. ในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมา ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียม 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดแร่ 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดไฮโดร ฟลูออริคน้อยกว่า 10 %โดยน้ำหนัก 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การล้างและการทำให้แห้งของผงโลหะวาล์วที่ถูกชะล้างด้วยกรดดังกล่าว การอัดผงดังกล่าว เพื่อทำให้เกิดเม็ด, การเผาผนึกเม็ดดังกล่าว เพื่อทำให้เกิดวัสดุที่มีรูพรุน และ การทำอาโนไดซ์วัสดุที่มีรูพรุนดังกล่าว ในอิเล็กโตรไลท์ เพื่อให้เกิดฟิลม์ไดอิเล็กตริกออก ไซด์ต่อเนื่องบนวัสดุที่มีรูพรุนดังกล่าว 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 17 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การดีออกไซด์วัสดุที่มีรูพรุนที่ถูกหลอมรวมดังกลาว ในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมาซึ่งมีแรง ดึงดูดออกซิเจนสูงกว่าโลหะวาล์วดังกล่าว และ การชะล้างวัสดุที่มีรูพรุนที่ถูกหลอมรวมดังกล่าวในสารละลายกรดชะล้าง ที่อุณหภูมิต่ำกว่า ประมาณ 0 ํ ซ. เพื่อสลายสารปนเปื้อนที่ติดมากับวัสดุที่ได้รับมาก่อนทำแอโนไดซิ่ง วัสดุที่มีรูพรุน ดังกล่าว 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งอุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวต่ำกว่า ประมาณ -16 ํ ซ. 2 0. วิธีการสำหรับการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว อันประกอบด้วย การชะล้างวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกดีออกไดซ์ในสารละลายกรดชะล้าง ที่อุณหภูมิประมาณ 0 ํ ซ. 2 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 20 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ แทนทาลัม 2 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 20 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ ไนโอเบียม 2 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 20 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ผงเกล็ด, ผงละเอียด, ผงที่ได้จากลิ่ม, และวัสดุที่ถูกเผาผนึก 2 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 20 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดแร่ 2 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 24 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดไฮโดร ฟลูออริคมากกว่า 0 และน้อยกว่า 10 % โดยน้ำหนัก 2 6. วิธีการสำหรับการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว อันประกอบด้วย การชะล้างวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกดีออกซิไดซ์ในสารละลายกรดชะล้าง ซึ่งอุณหภูมิของสาร ละลายกรดชะล้าง ก่อนการเติมของวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกออกซิไดซ์ หรือที่จุดเริ่มต้นของ กระบวนการการชะล้างจะต่ำกว่าประมาณ 0 ํซ. 2 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย แทนทาลัม, ไนโอเบียม, อัลลอยของแทนทาลัม และอัลลอยของไนโอเบียม 2 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 27 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ แทนทาลัม 2 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 27 ซึ่งโลหะวาล์วดังกล่าว คือ ไนโอเบียม 3 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งวัสดุโลหะวาล์วดังกล่าวถูกทำให้รวมตัวกันด้วยความร้อน ภายใต้สุญญากาศ 3 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งวัสดุโลหะวาล์วดังกล่าวถูกออกซิไดซ์ที่อุณหภูมิสูง จนถึง 1,000 ํ ซ. ในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมา ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียม 3 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดแร่ 3 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 32 ซึ่งสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวประกอบด้วยกรดไฮโดร ฟลูออกริคน้อยกว่า 10 % โดยน้ำหนัก 3 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การล้าง และการทำให้แห้งของวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกชะล้างด้วยกรดดังกล่าว การอัดผงดังกล่าว เพื่อทำให้เกิดเม็ด, การเผาผนึกเม็ดดังกล่าว เพื่อทำให้เกิดวัสดุที่มีรูพรุน และ การทำอาโนไดซ์วัสดุที่มีรูพรุนดังกล่าว ในอิเล็กโตรไลท์ เพื่อให้เกิดฟิล์มไดอิเล็กตริกออก ไซด์ต่อเนื่องบนวัสดุที่มีรูพรุนดังกล่าว 3 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การดีออกซิไดซ์วัสดุที่มีรูพรุนที่ไม่ถูกทำอาโนไดซ์ดังกล่าว ในมื่อมีวัสดุที่ได้รับมาซึ่งมีแรง ดึงดูดออกซิเจนสูงกว่าโลหะวาล์วดังกล่าว และ การชะล้างวัสดุที่มีรูพรุนที่ไม่ถูกทำอาโนไดซ์ดังกล่าว ในสารละลายกรดชะล้าง ที่อุณหภูมิ ต่ำกว่าประมาณ 0 ํซ. เพื่อสลายสารปนเปื้อนที่ติดมากับวัสดุที่ได้รับมา ก่อนการทำอาโนไดซ์วัสดุที่ มีรูพรุนดังกล่าว 3 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่ง อุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างดังกล่าวต่ำกว่าประมาณ -16 ํซ. 3 7. วิธีการในการควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว อันประกอบไปด้วย การชะล้างวัสดุ โลหะวาล์วที่ถูกดีออกซิไดซ์ในสารละลายกรดชะล้าง ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณภูมิห้อง 3 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 37 เมื่อสารละลายกรดชะล้างถูกทำให้เย้นไปที่อุณหภูมิต่ำกว่า อุณหภูมิห้องก่อนที่จะทำการชะล้างวัสดุโลหะวาล์วดีออกซิไดซ์ 3 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 37 เมือโลหะวาล์วถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแทนทาลัม, ไนโอเบียม และอัลลอยของเหล่านี้ 4 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 39 เมื่อโลหะวาล์ว คือ แทนทาลัม 4 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 39 เมื่อโลหะวาล์ว คือ ไนโอเบียม 4 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 37 เมื่อโลหะวาล์วถูกเลืกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยผงเกล้ด ผงละเอียด ผงที่ได้จากลิ่ม และวัสดุที่ถูกเผาผนึก 4 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 37 เมื่ออุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างต่ำกว่าประมาณ 25 ํ ซ. 4 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 43 เมื่ออุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างต่ำกว่าประมาณ 0 ํซ. 4 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 37 เมื่อสารละลายกรดชะล้างประกอบด้วยกรดแร่ 4 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 45 เมื่อสารละลายกรดชะล้างประกอบด้วยกรดไฮโดรฟลูออริคน้อย กว่า 10% โดยน้ำหนัก 4 7. วิธีการในการผลิตวัสดุโลหะวาล์ว ซึ่ง มีปริมาณออกซิเจนที่ถูกควบคุม อันประกอบด้วย ขั้นตอนต่อไปนี้ การเกิดผงโลหะวาล์ว การเกาะรวมตัวของผงโลหะวาล์ว การดีออกซิไดซ์ผงโลหะวาล์วที่เกาะรวมตัวกันในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมา ซึ่งมีแรงดึงดูด ออกซิเจนสูงกว่าผงโลหะวาล์ว และ การชะล้างผงวัสดุโลหะวาล์วที่ถูกดีออกซิไดซ์ในสารละลายกรดชะล้างที่อุณหภูมิต่ำกว่า อุณหภูมิห้อง เพื่อสลายสารปนเปื้อนที่ติดมากับวัสดุที่ได้รับ 4 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่อสารละลายกรดชะล้างถูกทำให้เย็นไปที่อุณหภูมิต่ำกว่า อุณหภูมิห้องก่อนที่จะทำการชะล้างผงโลหะวาล์วดีออกซิไดซ์ 4 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่อโลหะวาล์วถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแทนทาลัม, ไนโอเบียม, และอัลลอยของเหล่านี้ 5 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 49 เมื่อดลหะวาล์ว คือ แทนทาลัม 5
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 49 เมื่อโลหะวาล์ว คือ ไนโอเบียม 5
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่อผงโลหะวาล์วถูกทำให้รวมตัวกันด้วยอุณหภูมิภายใต้ สุญญากาศ 5
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่อผลโลหะวาล์วถูกออกซิไดซ์ที่อุณหภูมิสูงจนถึงประมาณ 1,000 ํซ. ในเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมาด้วย ซึ่งประกอบด้วยแมกนีเซียม 5
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่อสารละลายกรดชะล้างประกอบด้วยกรดแร่ 5
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 54 เมื่อสารละลายกรดชะล้างประกอบด้วยกรดไฮโดรฟลุออริค น้อย กว่า 10% โดยน้ำหนัก 5
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 ประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การล้างและการทำใหแห้งผงโลหะวาล์วที่ถูกชะล้างด้วยกรด การอัดผงเพื่อให้มีเม็ด การเผาผนึกเม็ดเพื่อให้เกิดวัสดุที่มีรูพรุน และ การทำอาโนไดซ์วัสดุรูพรุนในอิเล็กโตรไลท์ เพื่อให้เกิดฟิล์มไดอิเล็กตริกออกไซด์ต่อเนื่อง บนวัสดุพรุน 5
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 56 ประกอบด้วยขั้นตอนที่เพิ่มขึ้นดังต่อไปนี้ การดีออกซิไดซ์วัสดุรูพรุนที่ถูกหลอมรวมเมื่อมีวัสดุที่ได้รับมา ซึ่งมีแรงดึงดูดออกซิเจนสูง กว่าโลหะวาล์ว และ การชะล้างวัสดุรุพรุนที่ถูกเผาผนึกในสารละลายกรดชะล้างที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิห้อง เพื่อสลายสารปนเปื้อนที่ติดมากับวัสดุที่ได้รับก่อนที่มีการทำอาโนไดซ์วัสดุพรุน 5
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 47 เมื่ออุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างต่ำกว่าประมาณ 25 ํซ. 5
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 58 เมื่ออุณหภูมิของสารละลายกรดชะล้างต่ำกว่าประมาณ 0 ํ ซ.
TH9701001261A 1997-04-02 วิธีควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว TH25967B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH31933A TH31933A (th) 1999-02-15
TH25967B true TH25967B (th) 2009-05-13

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU98119958A (ru) Способ контроля содержания кислорода в материалах, содержащих металл, используемый в электровакуумных приборах (варианты), способ получения этого материала, способ получения анода из металла, используемого в электровакуумных приборах
RU2192491C2 (ru) Способ контроля содержания кислорода в материалах, содержащих металл, используемый в электровакуумных приборах (варианты), способ получения этого материала, способ получения анода из металла, используемого в электровакуумных приборах
HU230489B1 (hu) Elektrolitikus eljárás egy anyagnak szilárd vegyületekből való eltávolítására
US6563695B1 (en) Powdered tantalum, niobium, production process thereof, and porous sintered body and solid electrolytic capacitor using the powdered tantalum or niobium
Yan et al. Using electro-deoxidation to synthesize niobium sponge from solid Nb2O5 in alkali–alkaline-earth metal chloride melts
JP2023081904A (ja) 多孔質金属箔又はワイヤ、及びそれから製造したコンデンサアノード、及びその製造方法
JP2004537654A (ja) チタン及びチタン合金製品の製造方法
JP2016191148A (ja) 金属粉末および合金の製造および用途
TH25967B (th) วิธีควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว
TH31933A (th) วิธีควบคุมปริมาณออกซิเจนในวัสดุโลหะวาล์ว
US7485256B2 (en) Method of forming sintered valve metal material
JP2002030301A (ja) 窒素含有金属粉末およびその製造方法ならびにそれを用いた多孔質焼結体および固体電解コンデンサ
Baba et al. Dielectric properties of tantalum powder with broccoli-like morphology
WO2003031665A3 (en) Superconductor materials fabrication method using electrolytic reduction and infiltration
JP3633543B2 (ja) ニオブおよび/またはタンタルの粉末の製造法
CN113042736A (zh) 贵金属制品及其制备方法
EP2709784A2 (en) Manufacturing and applications of metal powders and alloys
JPS6230254B2 (th)
JP2018035430A (ja) アルミニウム多孔質体の製造方法
RU2196661C1 (ru) Серебряный порошок, способ его получения и способ изготовления сплава для получения серебряного порошка
KR910008029B1 (ko) 텅스텐-동(W-Cu)계 용침합금의 제조방법
JPH08924B2 (ja) 含ガリウム金属微粒子の製造方法
Sheiko et al. Study of Oxygen and Hydrogen Behaviour in Copper Alloys During Plasma Arc Melting
US3372468A (en) Method of coating a copper silver alloy with a silver coat
RU2325735C2 (ru) Способ изготовления сплава для получения катализатора на основе серебра, способ получения катализатора на основе серебра и катализатор на основе серебра