TH21085B - โครงสร้างของเส้นคอร์ดเหล็กกล้าแบบเปิด - Google Patents

โครงสร้างของเส้นคอร์ดเหล็กกล้าแบบเปิด

Info

Publication number
TH21085B
TH21085B TH9401002737A TH9401002737A TH21085B TH 21085 B TH21085 B TH 21085B TH 9401002737 A TH9401002737 A TH 9401002737A TH 9401002737 A TH9401002737 A TH 9401002737A TH 21085 B TH21085 B TH 21085B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
steel
chord
strength
pitch
curve
Prior art date
Application number
TH9401002737A
Other languages
English (en)
Other versions
TH19240A (th
Inventor
เดอ วอส นายซาเวียร์
แวน กีล นายฟรานส์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH19240A publication Critical patent/TH19240A/th
Publication of TH21085B publication Critical patent/TH21085B/th

Links

Abstract

เส้นคอร์ดเหล็กกล้า (114) ประกอบรวมด้วยชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรง (100,132) และมีแกน ตามความยาว, แกนกลางตามยาว (112) และระยะพิทช์ของเส้นคอร์ด ชิ้นส่วน (100) อย่างน้อยที่สุด หนึ่งชิ้นส่วน จะมีภาพฉายบนระนาบ YZ ที่ตั้งฉากกับแกนกลางตามยาว (112) ภาพฉายนี้จะมีรูปแบบ เป็นเส้นโค้งที่มีรัศมีของความโค้งที่สลับกันระหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด เส้นโค้งยังมีศูนย์กลางของ ความโค้ง รัศมีของความโค้งและศูย์กลางของความโค้งจะอยู่ภายในเส้นโค้งเพื่อให้ได้มา ซึ่งเส้น โค้งนูน เส้นคอร์ด (114) มีลักษณะเฉพาะต่อไปนี้อีกเนื่องโดยลักษณะที่ตามมานี้หนึ่งลักษณะหรือ ทั้งสอง; (i) ระยะทางระหว่างรัศมีของความโค้งค่าต่ำสุดสองรัศมีของเส้นโค้งดังกล่าวที่วัดตาม แนวแกนกลางตามยาว (112) จะแตกต่างจากครึ่งหนึ่งของระยะพิทช์ของเส้นคอร์ด; หรือ (ii) ถ้าชิ้นส่วน (100) ดังกล่าวทั้งหมดทำให้เกิดเส้นโค้งนูน, เส้นโค้งนูนดังกล่าว อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเส้นจะต่างไปอย่างเป็นสำคัญจากเส้นโค้งนูนอีกเส้นหนึ่ง

Claims (6)

1. เส้นคอร์ดเหล็กกล้า (114) ที่ประกอบรวมด้วยชิ้นส่วนที่มีความความแข็งแรงจำนวนหนึ่ง (100, 116, 118) ซึ่งแต่ชิ้นส่วนได้รับการตีเกลียวด้วยระยะพิทช์การตีเกลียวเป็นเส้นคอร์ด, โดยที่ ชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงแต่ละชิ้นส่วนมีภาพฉายในระนาบ (YZ) ที่ตั้งฉากกับแกน กลางตามยาว (X) (112) ของเส้นคอร์ดเหล็กกล้า และอยู่ในรูปแบบของเส้นโค้งสองมิติโดย คลองทั้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งความยาวระยะพิทช์การตีเกลียวของชิ้นส่วน, เมื่อมองในทิศทาง ของแกนตามยาว, เส้นโค้งของชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นส่วนนั้นเป็นเส้นโค้งนูนโดย ตลอดทั้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งความยาวระยะพิทช์การตีเกลียวนั้น,ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่มี เส้นโค้งนูนมีรัศมีของความโค้งที่แปรเปลี่ยนไประหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด ซึ่งทำให้มีการ ก่อรูปช่องว่างระดับไมโครขึ้นมาระหว่างชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงซึ่งโค้งนูน และชิ้นส่วนที่มี ความแข็งแรงอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้กัน, โดยที่ช่องว่างระดับไมโครดังกล่าวเล็กกว่าระยะพิทช์การ ตีเกลียวอย่างเป็นสำคัญ และยอมให้มีการแทรกของยางได้ 2. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งระยะทางดังกล่าวระหว่างรัศมีของความโค้ง ค่าต่ำสุดสองรัศมีของเส้นโค้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเส้นดังกล่าว ซึ่งวัดตามแนวแกนกลางตาม ยาว (112) จะสั้นกว่าครึ่งหนึ่งของระยะพิทช์ของชิ้นส่วนซึ่งจัดให้มีเส้นโค้งอย่างน้อยที่สุด หนึ่งเส้นดังกล่าว 3. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งเส้นโค้งนูนดังกล่าวประกอบกันเป็นรูป หลายเหลี่ยมอย่างเป็นสำคัญ 4. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรง (100, 116, 118) ดังกล่าวทั้งหมดจัดให้มีเส้นโค้งนูนดังกล่าว 5. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงดังกล่าวเป็นสาย เกลียว (116, 118) ที่ประกอบด้วยเส้นใยยาวเหล็กกล้าจำนวนหนึ่ง (120, 122, 124, 126, 128 130) 6. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงดังกล่าวเป็นเส้น ใยยาวเหล็กกล้า (100) 7. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 6, เส้นคอร์ดเหล็กกล้าดังกล่าวประกอบรวมด้วย เส้นใยยาวเหล็กกล้า (100, 132) จำนวนสามถึงห้าเส้น 8. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 7, ที่ซึ่งเส้นใยยาวดังกล่าวแต่ละเส้นของเส้นคอร์ด ดังกล่าวมีการยืดออกด้วยโหลดส่วนหนึ่ง (พีแอลอี) ณ การดึงด้วยแรงดึง 50 นิวตัน ที่ต่างไป จากพีแอลอีของเส้นใยยาวเหล็กกล้าอื่นแต่ละเส้นไม่มากกว่า 0.20% 9. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิที่ข้อ 7, ที่ซึ่งเส้นคอร์ดเหล็กกล้ามดังกล่าวมีการยึดออก ด้วยโหลดส่วนหนึ่ง (พีแอลอี) ที่ต่ำกว่า 0.30% ณ การดึงด้วยแรงตึง 50 นิวตัน 1 0. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 6, เส้นคอร์ดเหล็กกล้าดังกล่าวมีเส้นใยยาวเหล็กกล้า มากกว่าห้าเส้น (138, 140, 142, 144, 146, 148, 150, 152) 1
1. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 10, เส้นใยยาวดังกล่าวทั้งหมดมีขั้นตอนการตีเกลียว เหมือนกัน และทิศทางการตีเกลียวเหมือนกัน 1
2. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 11, สำหรับชุดรวมกันแต่ละชุดของเส้นใยยาวสามเส้น ของเส้นคอร์ดดังกล่าวที่ก่อรูปรูปสามเหลียมของเส้นใยยาวที่อยู่ใกล้กันขึ้นมาในภาคตัดขวาง ตามขวาง, เส้นใยยาวดังกล่าวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเส้นจะจัดให้มีเส้นโค้งนูนดังกล่าว 1
3. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ระยะพิทช์การตีเกลียวดังกล่าวมีค่าอนันต์ 1
4. เส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 6, เส้นคอร์ดเหล็กกล้าดังกล่าวประกอบด้วยเส้นใยยาว เหล็กกล้าหนึ่งเส้นเท่านั้น 1
5. ผ้าเส้นคอร์ดเหล็กกล้าที่ประกอบด้วยเส้นพุ่ง (160) และเส้นยืน (162) ที่ซึ่งเส้นพุ่งดังกล่าว หรือเส้นยืนดังกล่าวหรือทั้งเส้นพุ่ง และเส้นยืนได้รับการก่อรูปขึ้นมาอย่างน้อยที่สุดเป็น บางส่วนโดยเส้นคอร์ดเหล็กกล้าตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง 1
6. กรรมวิธีสำหรับการผลิตเส้นคอร์ดเหล็กกล้า (114) ที่มีแกนตามยาว (X) (112) และประกอบ รวมด้วยชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงจำนวนหนึ่ง (100, 116, 118) ซึ่งแต่ละชิ้นส่วนได้รับการ ตีเกลียวด้วยระยะพิทช์การตีเกลียวเป็นเส้นคอร์ด, ชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงแต่ละชิ้นมีภาพฉายในระนาบ (YZ) ที่ตั้งฉากกับแกนตามยาว (X) (112) และอยู่ในรูปแบบของเส้นโค้งสองมิติโดยตลอดทั้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งความยาวระยะ พิทช์การตีเกลียวของชิ้นส่วน, เมื่อมองในทิศทางของแกนตามยาว, กรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวมด้วยขั้นตอน; - การนำชิ้นส่วนดังกล่าวอย่างน้อยสุดหนึ่งชิ้น (100) มาผ่านการทำการดัด เพื่อให้ ชิ้นส่วน (100) ดังกล่าวมีส่วนโค้งนูนโดยตลอดทั้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งความยาวระยะ พิทช์การตีเกลียว; - การนำชิ้นส่วน (100) ดังกล่าวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นส่วนมารวมกันกับชิ้นส่วนอื่น ๆ เพื่อ การก่อรูปเส้นคอร์ดเหล็กกล้าดังกล่าวขึ้นมา, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า การทำการดัดมีลักษณะที่ว่าส่วนโค้งนูนจะมีรัศมีของความโค้งที่แปรเปลี่ยนไประหว่างค่า สูงสุดและค่าต่ำสุดจนทำให้มีการก่อรูปช่องว่างระดับไมโครขึ้นมาระหว่างชิ้นส่วนที่มีความ แข็งแรง ซึ่งโคงนูน (100) และชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงที่อยู่ใกล้กัน, โดยที่ช่องว่างระดับ ไมโครเล็กกว่าระยะพิทช์ การตีเกลียวอย่างเป็นสำคัญ และยอมให้มีการแทรกผ่านของยางได้ อุปกรณ์สำหรับการทำให้ชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรง (100) ของเส้นคอร์ดเหล็กกล้า (114) เปลี่ยนรูปร่างไป, โดยที่อุปกรณ์ดังกล่าวประกอบรวมด้วยลำตัว (102) ที่มีแกนกลาง และ พื้นผิวตามแนวเส้นรอบวง (108, 110), ลำตัวดังกล่าวสามารถหมุนได้รอบแกนกลางของลำตัว เมื่อชิ้นส่วนที่มีความแข็งแรงได้รับการดึงไปบนหมุนอย่างน้อยที่สุด 90 ํ บนพื้นผิวตามยาว เส้นรองวงของลำตัวดังกล่าว, พื้นผิวตามแนวเส้นรอบวงดังกล่าวมีรัศมีของความโค้งที่แปร เปลี่ยนไประหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าพื้นผิวนี้ทำให้ชิ้นส่วนที่มี ความแข็งแรงซึ่งผ่านไปบนพื้นผิวตามแนวเส้นรอบวงดังกล่าวมีส่วนโค้งนูนที่มีรัศมีของ ความโค้งซึ่งสลับกันระหว่างค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด
TH9401002737A 1994-12-14 โครงสร้างของเส้นคอร์ดเหล็กกล้าแบบเปิด TH21085B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH19240A TH19240A (th) 1996-06-21
TH21085B true TH21085B (th) 2006-12-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR960706584A (ko) 개(開) 구조의 강철 코드(open steel cord structure)
KR100609931B1 (ko) 엘라스토머 보강용 강구조물
KR890003893B1 (ko) 금속케이블 및 그의 제조방법
JP3686451B2 (ja) スチールコードの製造方法
RU2151227C1 (ru) Способ изготовления стального корда и стальной корд, изготовленный этим способом
TW317599B (en) Multi-strand cord for timing belts
WO2010073641A1 (ja) ゴム物品補強用スチールコードおよびそれを用いた空気入りタイヤ
US4064915A (en) Reinforcement of resilient articles
DE2223981A1 (th)
DE69503676T2 (de) Verstärkung für Fahrzeugreifen
KR20040108715A (ko) 편평한 나선형 타이어 코드
TH21085B (th) โครงสร้างของเส้นคอร์ดเหล็กกล้าแบบเปิด
JP5475332B2 (ja) スチールコードの製造方法
TH19240A (th) โครงสร้างของเส้นคอร์ดเหล็กกล้าแบบเปิด
KR20000019280A (ko) 래이디얼 타이어용 스틸코드의 구조
JP4361638B2 (ja) スチールコードの製造方法およびこの方法に用いる撚線機
JP3423794B2 (ja) ゴム補強用スチールコード
US4168340A (en) Reinforcement of resilient articles
RU96115263A (ru) Металлокорд и способ его получения, металлокордовая ткань и устройство для деформирования усиливающего элемента металлокорда
EP3669022B1 (de) Musiksaite
JPH11200263A (ja) タイヤ補強用スチールコード
RU2137869C1 (ru) Металлокорд и способ его получения, металлокордовая ткань и устройство для деформирования усиливающего элемента металлокорда
JPH0721575B2 (ja) 無金属高抗張力線
JPH05171579A (ja) ゴム物品補強用金属コードの製造装置及び製造方法
JP2000217217A (ja) 呼び線