TH19846A - การทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์บนซับสเตทที่เป็นแก้ว - Google Patents

การทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์บนซับสเตทที่เป็นแก้ว

Info

Publication number
TH19846A
TH19846A TH9501001017A TH9501001017A TH19846A TH 19846 A TH19846 A TH 19846A TH 9501001017 A TH9501001017 A TH 9501001017A TH 9501001017 A TH9501001017 A TH 9501001017A TH 19846 A TH19846 A TH 19846A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
layer
glass
silver
silver coating
iii
Prior art date
Application number
TH9501001017A
Other languages
English (en)
Other versions
TH25255B (th
Inventor
ลาโรซ นายปิแอร์
ปูลังเยร์ นายปิแอร์
โดบี้ นายตริสเตียน
ปิแอร์ลาโรซ นาย
ปิแอร์ปูลังเยร์ นาย
ตริสเตียนโดบี้ นาย
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีอเนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์
นาย บุญมาเตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีอเนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์, นาย บุญมาเตชะวณิช filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH19846A publication Critical patent/TH19846A/th
Publication of TH25255B publication Critical patent/TH25255B/th

Links

Abstract

ได้อธิบายกรรมวิธีทำให้ผิวเคลือบซิลเวอร์บนพื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้ว กรรมวิธีประกอบด้วยขั้นตอนของการทำให้ว่อง ไว ซึ่งพื้นผิวดังกล่าวนั้นสัมผัสกับสารละลายสำหรับ ทำให้ว่องไว ขั้นตอนของการทำให้ไวแสงซึ่งพื้นผิวดังกล่าวนั้นสัมผัสกับสาร ละลายสำหรับไวแสง และต่อมาขั้นตอนของการเคลือบด้วยซิลเวอร์ พื้นผิวดังกล่าวนั้นสัมผัสกับสารละลายซิลเวอร์ ซึ่งประกอบด้วย แหล่งของซิลเวอร์ เพื่อทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์ กรรม วิธีแสดงแสดงลักษณะเฉพาะ ที่ว่า สารละลายสำหรับทำให้ว่องไวดัง กล่าวนั้นประกอบด้วยไอออนของ บิสมัธ (III) โครเมียม (II) โกลด์(III)อินเดียม(III)นิกเกิล(II)แพลลาเดียม(II)แพลทินัม (II) โรฮ์เดียม(III)รูธีเนียม(III)ทิทาเนียม(III)แวแนเดียม(III) และซิงค์(II) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งไอออน

Claims (1)

1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตกระจก ซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ การทำให้ไวแสง ซึ่งนำพื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้วมาสัมผัสกับสารละลายสำหรับทำให้ไวแสง, ขั้นตอนของการทำให้ว่องไว ซึ่งนำพื้นผิวดังกล่าวนั้นมาสัมผัสกับสารละลายสำหรับทำให้ว่องไว ซึ่งสารละลายสำหรับทำให้ว่องไว ดังกล่าวนั้นมีไอออนของโลหะบิสมัธ (III), โครเมียม (II), โกลด์ (III), อินเดียม (III),นิกเกิล (II),แพลลาเดียม (II),แพลทินัม (II),โรฮ์เดียม(III),รูธีเนียม (III), ทิทาเนียม (III),แวแนเดียม(III)และซิงค์(II)อย่างน้อยที่สุดหนึ่งไอออน,ต่อมาขั้นตอนของ การเคลือบด้วยซิลเวอร์ ซึ่งนำพื้นผิวดังกล่าวนั้นมาสัมผัสกับสารละลายของซิลเวอร์ และขั้นตอน สำหรับการปกคลุมชั้นซิลเวอร์ที่ได้ที่มีชั้นสีทาสำหรับป้องกันหนึ่งชั้นหรือมากกว่า 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งในขั้นตอนของการทำให้ไวแสงดังกล่าวนั้น พื้นผิว ดังกล่าวนั้นสัมผัสกับสารละลายสำหรับทำให้ไวแสง ซึ่งประกอบด้วยทิน (ii) คลอไรด์ 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่งกระทำขั้นตอนของการทำให้ไวแสงดังกล่าวนั้น ก่อนขั้นตอนของการทำให้ว่องไวดังกล่าวนั้น 4. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ซึ่งซับสเทรทดังกล่าวนั้นคือ แผ่นแก้วที่แบน 5. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ซึ่งความหนาของชั้นซิลเวอร์ที่เกิด ในขั้นตอนของการเคลือบด้วยซิลเวอร์ดังกล่าวนั้นอยู่ระหว่าง 70 นาโนเมตร และ 100 นาโนเมตร 6. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 5 ซึ่งสารละลายสำหรับทำให้ว่องไว ดังกล่าวนั้นคือ สารละลายแอดเควียสของแพลลาเดียมคลอไรด์ 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งสารละลายแพลลาเดียม คลอไรด์ ดังกล่าวนั้นมีความ เข้มข้นจาก 5 ถึง 130 มิลลิกรัม/ลิตร 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 6 หรือ 7 ซึ่งซับสเทรทที่เป็นแก้วสัมผัสกับ PdCI2 I ถึง 23 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร ของพื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้วดังกล่าวนั้น 9. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 6,7 หรือ 8 ซึ่งซับสเทรทที่เป็นแก้วสัมผัสกับ PdCI2 อย่างน้อยที่สุด 5 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร ของพื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้วดังกล่าวนั้น 1 0. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 9 ซึ่งพีเอชของสารละลายสำหรับทำให้ ว่องไวดังกล่าวนั้น คือ จาก 3.0 ถึง 5.0 1 1. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 10 ซึ่งก่อนที่จะใช้ชั้นสีทาหนึ่งชั้นหรือ มากกว่านั้น สารเคลือบซิลเวอร์สัมผัสกับสารละลายที่มีไอออนของกลุ่มที่ประกอบด้วย Cr (II), V (II หรือ III), Ti (II หรือ III), Fe(II),In(IหรือII),Sn(II),Cu(I)และAl(III)อย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ไอออน 1 2. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ซึ่งซับสเทรทที่เป็นแก้ว คือ ซับสเทรทที่เป็นแก้วแบน 1 3. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 12 ซึ่งกระจกนั้น คือ กระจกในบ้าน หรือกระจกดูด้านหลัง 1 4. กระจกซึ่งประกอบรวมด้วยซับสเทรทที่เป็นแก้วที่มีสารเคลือบซิลเวอร์ ซึ่งไม่ปกคลุมด้วย ชั้นคอปเปอร์สำหรับป้องกัน กระจกแสดงจำนวนเฉลี่ยของจุดขาวน้อยกว่า 10 ต่อตารางเดซิเมตร หลังจากนำมาทดสอบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยการทดสอบการเร่งอายุ แบบ CASS 120 ชั่วโมง และการทดสอบ Salt Fog 480 ชั่วโมง 1 5. กระจกตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งแสดงจำนวนเฉลี่ยของจุดขาวน้อยกว่า 5 ต่อราง เดซิเมตร หลังจากนำมาทดสอบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยการทดสอบ การเร่งอายุแบบ CASS 120 ชั่วโมง และการทดสอบ Salt Fog 480 ชั่วโมง 1 6.กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ซึ่งประกอบรวมด้วยลำดับต่อไปนี้: - ซับสเทรทที่เป็นแก้ว -สารที่จะทำให้ไวแสง, โดยทั่วไป คือ ทิน และแพลลาเดียมที่พื้นผิวของซับสเทรท -ชั้นสารเคลือบซิลเวอร์บนพื้นผิวของซับสเทรท และ -ชั้นสีทาที่ปกคลุมชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้น 1 7. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งมีแพลลาเดียมอยู่ที่พื้นผิวของ ซับสเทรทที่เป็นแก้วที่ปริมาณไม่มากกว่า 3.6 มิลลิกรัมต่อตารางเมตร 1 8. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 หรือ 17 ซึ่งมีวัสดุอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ชนิดเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยทิน, โครเมียม, แวเนเดียม, ทิทาเนียม, ไอร์ออน, อินเดียม, คอปเปอร์ และอะลูมิเนียม อยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วย สารเคลือบซิลเวอร์ 1 9. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 16 ถึง 18 ซึ่งมีปริมาณ เล็กน้อยมากของไซเลนอยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ ปกคลุมสารเคลือบซิลเวอร์ 2 0. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 16 ถึง 19 ซึ่งมีทินอยู่ที่ พื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้ว ซึ่งมีชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อยู่ด้วย 2 1. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ซึ่งประกอบด้วยลำดับต่อไปนี้: - ซับสเทรทที่เป็นแล้ว - วัสดุอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยบิสมัธ, โครเมียม, โกลด์ อินเดียม,นิกเกิล,แพลทินัม,โรฮ์เดียม,รูธีเนียม,และแวเนเดียม ที่พื้นผิวของซับสเทรท -ชั้นสารเคลือบซิลเวอร์บนพื้นผิวของซับสเทรท และ -ชั้นสีทาที่ปกคลุมชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้น 2 2. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งมีวัสดุอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยทิน, โครเมียม, แวเนเดียม, ทิทาเนียม, ไอร์ออน, อินเดียม, คอปเปอร์ และ อะลูมิเนียม อยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นทาสีอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ ปกคลุมด้วย สารเคลือบซิลเวอร์ 2 3. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 21 หรือ 22 ซึ่งมีปริมาณเล้กน้อยมากของ ไซเลนอยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นทาสีอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วยสารเคลือบ ซิลเวอร์ 2 4. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 21 ถึง 23 ซึ่งมีทินอยู่ที่ พื้นผิวของซับสเทรทที่เป็นแก้ว ซึ่งมีชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อยู่ด้วย 2 5. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ซึ่งประกอบรวมด้วยลำดับต่อไปนี้: -ซับสเทรทที่เป็นแก้ว -แพลลาเดียม และทินที่พื้นผิวของซับสเทรท -ชั้นสารเคลือบซิลเวอร์บนพื้นผิวของซับสเทรท -ชั้นสีทาที่ปกคลุมชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้น และ -ทินที่มีอยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วย สารเคลือบซิลเวอร์ 2 6. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 25 ซึ่งมีปริมาณเล็กน้อยมากของไซเลนอยู่ ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วยสารเคลือบซิลเวอร์ 2 7. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ซึ่งประกอบรวมด้วยลำดับต่อไปนี้: - ซับสเทรทที่เป็นแก้ว -ทั้งทิน และวัสดุอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยบิสมัธ, โครเมียม, โกลด์,อินเดียม,นิกเกิล,แพลทินัม, โรฮ์เดียม,รูธีเนียม,ทิทาเนียม,แวเนเดียม และซิงค์ที่พื้นผิวของ ซับสเทรท -ชั้นสารเคลือบซิลเวอร์บนพื้นผิวของซับสเทรท -ชั้นสีทาที่ปกคลุมชั้นสารเคลือบซิลเวอร์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้น 2 8. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งมีวัสดุอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยทิน, โดรเมียม,แวเนเดียม,ทิทาเนียม, ไอร์ออน, อินเดียม, คอปเปอร์ และ อะลูมิเนียม อยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วย สารเคลือบซิลเวอร์ 2 9. กระจกซึ่งไม่มีชั้นคอปเปอร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 27 หรือ 28 ซึ่งมีปริมาณเล็กน้อยมากของ ไซเลนอยู่ที่พื้นผิวของชั้นซิลเวอร์ ซึ่งอยู่ติดกับชั้นสีทาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นที่ปกคลุมด้วยสารเคลือบ ซิลเวอร์ 3 0. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 14 ถึง 29 ซึ่งซับสเทรทที่เป็นแก้ว คือ ซับสเทรทที่เป็นแก้วบน 3
1. กรรมวิธีตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 14 ถึง 30 ซึ่ง คือ กระจกในบ้าน หรือ กระจกดูด้านหลัง
TH9501001017A 1995-05-09 การทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์บนซับสเตทที่เป็นแก้ว TH25255B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH19846A true TH19846A (th) 1996-08-07
TH25255B TH25255B (th) 2009-01-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP3029187B2 (ja) ガラス質基体上に銀被覆を形成する方法
DE2947821C2 (th)
DE4135801C2 (de) Verfahren zur Herstellung eines Glassubstrates mit mindestens einem reflektierenden Metallüberzug mit verbesserter Beständigkeit gegen Korrosion sowie dessen Verwendung
US6749307B2 (en) Silver coated mirror
US20090220685A1 (en) Mirror with epoxy paint layer having good resistance to handling
NO119884B (th)
US7758966B2 (en) Mirror
JPH05271986A (ja) アルミニウム・有機高分子積層体
NO155702C (no) Belagt metallelektrode for elektrolyseprosesser og fremgangsmaate ved fremstilling derav.
TH19846A (th) การทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์บนซับสเตทที่เป็นแก้ว
TH25255B (th) การทำให้เกิดผิวเคลือบซิลเวอร์บนซับสเตทที่เป็นแก้ว
US5332486A (en) Anti-oxidant coatings for copper foils
EA030469B1 (ru) Способ производства зеркала без медного слоя
EP1860076B1 (en) Mirror
EP0067257B1 (en) Heat radiation reflecting glass and preparation thereof
JPS596383A (ja) アルミニウム部品に腐蝕保護層を電流を用いないで製出する方法
CZ20031755A3 (cs) Způsob výroby vícevrstvého produktu, aplikace tohoto způsobu a použití prostředku pro zvýšení adheze
EP0298190A1 (de) Dental-Verbundwerkstoff und Verfahren zur Herstellung eines solchen Verbundwerkstoffes
JPH0645901B2 (ja) 高耐食性クロメ−ト処理亜鉛系めつき鋼板
JPS5950192A (ja) 時計用外装部品