TH9846A - วิธีการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอที่ใช้ ในการเคลือบ ด้วยไอสารเคมี - Google Patents

วิธีการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอที่ใช้ ในการเคลือบ ด้วยไอสารเคมี

Info

Publication number
TH9846A
TH9846A TH9001001521A TH9001001521A TH9846A TH 9846 A TH9846 A TH 9846A TH 9001001521 A TH9001001521 A TH 9001001521A TH 9001001521 A TH9001001521 A TH 9001001521A TH 9846 A TH9846 A TH 9846A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
coating
substance
source
liquid
vapor
Prior art date
Application number
TH9001001521A
Other languages
English (en)
Other versions
TH8527B (th
TH9846EX (th
Inventor
เจ. เซ้าเบย์แรนด์ นายไมเคิล
เจ. แม๊คคูร์ดี่ย์ นายริชาร์ด
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH9846A publication Critical patent/TH9846A/th
Publication of TH9846EX publication Critical patent/TH9846EX/th
Publication of TH8527B publication Critical patent/TH8527B/th

Links

Abstract

ในการประดิษฐ์นี้มีการเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาที่กลายเป็นไอซึ่งมีประโยชน์ในการเคลือบด้วยไอสารเคมีลงบนผิววัสดุรองรับที่กำลังร้อนโดยเริ่มต้นด้วยการให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว, การฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องทำให้สาร กลายเป็นไอ,การปล่อยก๊าซผสมเข้าสู่ช่องทำให้สารกลายเป็นไอพร้อมกัน, การให้ความร้อนแก่ของเหลว และก๊าซผสมจนทำให้ของเหลวกลายเป็นไอ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้น และการผสมไอสารต้นกำเนิดของสารเคลือบและก๊าซผสมให้ทั่วถึง เพื่อผลิตกระแสสารเข้าทำปฏิกิริยาที่กลายเป็นไอสำหรับทำให้เกิดการสลายด้วยความร้อนที่ผิวของวัสดุรองรับที่กำลังร้อนเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน เป็นช่องทำให้สารกลายเป็นไอชนิดที่เหมาะสมเป็นพิเศษสำหรับกระบวนการของการประดิษฐ์นี้

Claims (1)

1. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอ ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ A) การจัดหาสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของสารนั้นแต่ต่ำกว่าอุณหภูมิกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้นอย่างแน่แท้ โดยวิธีนี้จะทำให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบอยู่ในรูปของเหลว B) การดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกันไปและอย่างต่อเนื่อง i) การฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอที่กำหนดไว้ในส่วนที่เป็นผนังรอบนอกอย่างน้อยหนึ่งด้านของสารเคลือบที่เป็นของเหลวนั้นจะเกิดเป็นไอ ii) การปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอในปริมาณเพียงพอที่จะเพิ่มการเคลื่อนย้ายมวลของไอสารต้นกำเนิดของสารเคลือบและเมื่อเป็นเช่นนี้จึงทำให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเป็นไอได้เร็วขึ้น iii) การผสมสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว, ไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบและก๊าซผสมเข้าด้วยกันโดยที่รวมถึงการจ่ายสารต้นกำเนิดที่เป็นของเหลวเป็นชั้นบางไปตามผนังช่องดังกล่าว โดยขั้นตอนเหล่านี้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวจะกลายเป็นไอได้อย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิของการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้น, เพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารต้นกำเนิดที่กลายเป็นไป ซึ่งมีความเข้มข้นของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบสูงและสม่ำเสมอ และ C) การลำเลียงของผสมระหว่างไอสารต้นกำเนิดของสารเคลือบกับก๊าซผสมออกไปจากช่องระเหยสารให้เป็นไอ 2. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่มีการให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบล่วงหน้า ก่อนที่จะฉีดเข้าสู่ช่องทำให้สารกลายเป็นไปแต่เป็นการให้ความร้อนจนถึงอุณหภูมิที่ต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้น 3. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่มีการให้ความร้อนแก่ผนังของช่องทำให้สารกลายเป็นไอดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งด้าน 4. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 2 โดยที่มีการให้ความร้อนแก่ผนังของช่องทำให้สารกลายเป็นไอดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งด้านจนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิที่ให้ความร้อนล่วงหน้าดังกล่าว แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไปมาตรฐานของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว 5. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่มีการให้ความร้อนแก่ก๊าซผสมล่วงหน้าจนถึงประมาณ อุณหภูมิของช่องที่ทำให้สารกลายเป็นไอ ก่อนที่จะทำการฉีดสารเข้าไปในช่องนั้น 6. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่มีช่องที่ทำให้สารกลายเป็นไอนี้ ประกอบด้วย เครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน 7. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 6 โดยที่เครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนนั้น รวมถึงช่องทางเข้าด้านบนที่ปลายหนึ่งของเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน และช่องทางเข้าด้านล่างที่ปลายเดียวกันของเครื่องระเหย กับช่องทางเข้าด้านบน และมีการฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในเครื่องระเหยผ่านช่องทางเข้าด้านบน และปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในเครื่องระเหยผ่านช่องทางเข้าด้านล่าง 8. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอ ประกอบด้วยขั้นตอนของ A) จัดหาสารต้นกำเนิดของสารเคลือบ ซึ่งเลือกมาจากโลหะ หรือที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของสารนั้น แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้น อย่างแน่แท้ โดยวิธีนี้จะทำให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบอยู่ในรูปของเหลว B) ดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกันและอย่างต่อเนื่อง i) ฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบจะเกิดเป็นไอ ii) ปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในช่องทำให้สารกลายเป็นไอ ในปริมาณเพียงพอที่จะเพิ่มการเคลื่อนย้ายมวลของไอสารต้นกำเนิดของสารเคลือบ และด้วยเหตุนี้จึงเป็นสาเหตุให้เร่งสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวให้การเป็นไอได้เร็วขึ้น iii) ให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว ไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบและก๊าซผสม จนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิของขั้นตอน A แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบนี้ และ iv) ผสมสารสารต้นกำเนิดของสารเคลือบ ไอ และก๊าซผสม โดยที่ สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวจะกลายเป็นไออย่างสมบูรณ์ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐาน เพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอซึ่งมีความเข้มข้นของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบในก๊าซผสมสูงและสม่ำเสมอ C) ลำเลียงกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาออกจากช่องระเหยสารให้เป็นไอ และ D) ทำให้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าว สัมผัสกับวัสดุรองรับที่เป็นแถบแก้วลอย ซึ่งรักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ 750 องศาฟาเรนไฮท์ เป็นอย่างน้อย 9. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 8 โดยที่ การสัมผัสดังกล่าวของกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าวกับวัสดุรองรับเกิดขึ้นในสภาวะที่มีออกซิเจน 1 0. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 8 โดยที่ การสัมผัสดังกล่าวของกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าว กับวัสดุรองรับดังกล่าวเกิดขึ้นขณะที่แถบดังกล่าวถูกพยุงไว้บนอ่างของโลหะหลอมเหลว และมีอุณหภูมิในช่วงตั้งแต่ประมาณ 1,110 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 1,250 องศาฟาเรนไฮท์ 1 1. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 8 โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบนี้เลือกมาจากหมู่ที่ประกอบด้วย ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ เตตราเอทธอกซีไซเลน, ไดเอทธิลทินไดคลอไรด์, ไดบิวทิลทินไดอาซีเตท, เตตราเมทธิลทิน, เมทธิลทิลไตรคลอไรด์, ไตรเอทธิลทินคลอไรด์,ไตรเมทธิลทินคลอไรด์, เตตราบิวทิลติเตเนท, ติเตเนียมเตตราคลอไรด์, ติเตเนียมเตตราไอโซโปรพอกไซด์, ไตรเอทธิลอาลู มินัม, ไดเอทธิลอาลูมินัมคลอไรด์, ไตรเมทธิลอาลูมินัม,อาลูมินัมอาซีติลอาซีโตเนท, อาลูมินัมเอทธิลเลท, ไดเอทธิลไดคลอโรไซเลน, เมทธิลไตรเอทธอกซีไซเลน, ซิงค์อาซีติลอาซีโตเนท, ซิงค์อาซีเตท และของผสมของสารเหล่านี้ 1 2. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบนี้ คือไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ 1 3. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบนี้ คือไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ 95 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก และเมทธิลไตรคลอไรด์ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1 4. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่ก๊าซ ผสมนี้เลือกมาจากหมู่ที่ประกอบด้วยฮีเลียม, ไนโตรเจน, ไฮโตรเจน อาร์กอน และของผสมของก๊าซเหล่านี้ 1 5. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่ มีการฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ที่อุณหภูมิตั้งแต่ประมาณ 70 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 530 องศาฟาเรนไฮท์ 1 6. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่มีการให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบ ไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบ และก๊าซผสมในช่องระเหยสารให้เป็นไอ จนถึงอุณหภุมิตั้งแต่ประมาณ 95 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 555 องศาฟาเรนไฮท์ 1 7. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่มีการฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ด้วยอัตราตั้งแต่ประมาณ 0.5 ถึงประมาณ 120 ปอนด์ต่อชั่วโมง 1 8. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่มีการปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ที่ความดันตั้งแต่ประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว 1 9. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 11 โดยที่มีการปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ด้วยอัตราตั้งแต่ประมาณ 100 ถึงประมาณ 400 ลิตรมาตรฐานต่อนาที 2 0. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอประกอบด้วยขั้นตอนของ A) ให้สารต้นกำเนิดเลือกมาจากหมู่ที่ประกอบด้วยไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ เตตราเอทธอกซีไซเลน ไดเอทธิลทินไดคลอไรด์ ไดบิวทิลทินไดอาซีเตท เตตราเมทธิลทิน เมทธิลทินไตรคลอไรด์ ไตรเอทธิลทินคลอไรด์ ไตรเมทธิลทินคลอไรด์ เตตราบิวทิลทิเตเนทติเตเนียมเตตราคลอไรด์ ติเตเนียมเตตราไอโซโปรพอกไซด์ เตตราเอทธิลอาลูมินัม ไดเอทธิลอาลูมินัมคลอไรด์ไตรเมทธิลอาลูมินัม อาลูมินัมอาซีติล อาซีโตเนท อาลูมินัมเอทธิลเลท ไดเอทธิลไดคลอโรไซเลน เมทธิลไตรเอทธอกซีไซเลนซิงค์อาซีติลอาซีโตเนท ซิงค์โปรปิโอเนท และของผสมของสารเหล่านี้ ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของสาร แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิของการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารอยู่พอสมควร และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 70 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 530 องศาฟาเรนไฮท์ โดยวิธีนี้จะทำให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบอยู่ในรูปของเหลว B) ดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกันและอย่างต่อเนื่อง i) ฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว ด้วยอัตราตั้งแต่ประมาณ 0.5 ถึงประมาณ 120 ปอนด์ต่อชั่วโมง เข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอที่กำหนดส่วนด้วยผนังรอบนอกหนึ่งด้านเป็นอย่างน้อย โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวนี้จะเกิดเป็นไอ ii) ปล่อยก๊าซผสมที่เลือกจากหมู่ ที่ประกอบด้วย ฮีเลียมไนโตรเจน ไฮโดรเจน อาร์กอน และของผสมของก๊าซเหล่านี้ เข้าไปยังช่องระเหยสารให้เป็นไอในปริมาณที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 25 ถึงประมาณ 500 ลิตรมาตรฐานต่อนาที ที่ความดันตั้งแต่ประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว iii) ให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว ไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบและก๊าซผสม จนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิของขั้นตอน A แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารต้นกำเนิด และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 95 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 555 องศาฟาเรนไฮท์ iv) ทำการผสมสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลว ไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบ และก๊าซผสม รวมทั้งทำการจ่ายสารต้นกำเนิดที่เป็นของเหลวออกเป็นฟิล์มบางตามผนังของช่องดังกล่าวด้วย โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวนี้กลายเป็นไออย่างสมบูรณ์ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้น เพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่กลายเป็นไอ ซึ่งมีความเข้มข้นของสารต้น กำเนิดของสารเคลือบสูงและสม่ำเสมอ และ C) ทำการส่งกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาจากช่องระเหยสารให้เป็นไอ D) ทำให้กระแสก๊าซของสารตั้งแต่ดังกล่าว สัมผัสกับวัสดุรองรับที่เป็นแบบแก้วลอย ซึ่งรักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ 750 องศาฟาเรนไฮท์ เป็นอย่างต่ำ 2 1. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอประกอบด้วยขั้นตอนของ A) ให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นโลหะ ซึ่งเลือกมาจากหมู่ที่ประกอบด้วย ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ เตตราเอทธอกซีไซเลน ไดเอทธิลไดคลอไรด์ ไดบิวทิลไดอาซีเตท เตตราเมทธิลทินเมทธิลทินไตรคลอไรด์ ไตรเอทธิลทินคลอไรด์ ไตรเมทธิลทินคลอไรด์ เตตราบิวทิลทิเตเนท ติเตเนียมเตตราคลอไรด์ ติเตเนียมเตตราไอโซโปรพอกไซด์ เตตราเอทธิลอาลูมินัม ไดเอทธิลอาลูมินัมคลอไรด์ ไตรเมทธิลอาลูมินัม อาลูมินัมอาซิติลอาซิโตเนท อาลูมินัมเอทธิลเลท ไดเอทธิลไดคลอโรไซเลน เมทธิลไตรเอทธอกซีไซเลน ซิงค์อาซีติลอาซีโดเนท ซิงค์โปรปิโอเนท และ ของผสมของสารเหล่านี้ ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของสารแต่ต่ำกว่าอุณหภูมิของการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารอยู่อย่างแน่แท้ และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 70 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 530 องศาฟาเรนไฮท์ โดยวิธีนี้จะทำให้สารต้นกำเนิดของสารเคลือบอยู่ในรูปของเหลว B) ดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกันและอย่างต่อเนื่อง i) ทำการฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดโลหะที่เป็นของเหลว ด้วยอัตราตั้งแต่ประมาณ 0.5 ถึงประมาณ 120 ปอนด์ต่อชั่วโมง เข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ที่กำหนดส่วนด้วยผนังรอบนอกหนึ่งด้านเป็นอย่างน้อย โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวนี้จะเกิดเป็นไอ ii) ปล่อยก๊าซผสมที่เลือกจากหมู่ที่ประกอบด้วย ฮีเลียมไนโตรเจน ไฮโดรเจน อาร์กอน และของผสมของก๊าซเหล่านี้ เข้าไปยังช่องระเหยสารให้เป็นไอ ในปริมาณที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 25 ถึง 500 ลิตรมาตรฐานต่อนาที ที่ความดันตั้งแต่ประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว iii) ให้ความร้อนแก่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดโลหะที่เป็นของเหลวไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดโลหะ และก๊าซผสม จนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิของขั้นตอน A แต่ต่ำกว่าอุณหภุมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารต้นกำเนิด และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 95 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 555 องศาฟาเรนไฮท์ iv) ทำการผสมสารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดที่เป็นของเหลวไอของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดโลหะ และก๊าซผสม รวมทั้งทำการจ่ายสารต้นกำเนิดที่เป็นของเหลวออกเป็นฟิล์มบางตามผนังของช่องดังกล่าวด้วย โดยที่สารต้นกำเนิดของสารเคลือบชนิดโลหะที่เป็นของเหลวนี้กลายเป็นไออย่างสมบูรณ์ ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนั้นเพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอ ซึ่งมีความเข้มข้นของสารต้นกำเนิดของสารเคลือบสูงและสม่ำเสมอ และ C) ทำการส่งกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาออกจากช่องระเหยสารให้เป็นไอ D) ทำให้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าว สัมผัสกับวัสดุรองรับที่เป็นแถบแก้วลอย ซึ่งรักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ 750 องศาฟาเรนไฮท์ เป็นอย่างต่ำ 2 2. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 21 โดยที่ช่องระเหยสารให้เป็นไอนั้น ประกอบด้วย เครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน 2 3. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 22 โดยที่เครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนนั้น มีส่วนประกอบที่รวมถึง ช่องทางเข้าด้านบนที่ปลายข้างหนึ่งของเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน และช่องทางเข้าด้านล่างที่ปลายเดียวกันของเครื่องระเหย เมื่อเทียบกับช่องทางเข้าด้านบน โดยที่มีการฉีดสารต้นกำเนิดของสารเคลือบที่เป็นของเหลวเข้าไปในเครื่องระเหย ผ่านช่องทางเข้าด้านบนและมีการปล่อยก๊าซผสมเข้าไปในเครื่องระเหยผ่านช่องทางเข้าด้านล่างอีกด้วย 2 4. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 23 โดยที่ก๊าซผสมนี้เลือกมาจากหมู่ที่ประกอบด้วยฮีเลียม ไนโตรเจน และของผสมของก๊าซนั้น 2 5. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอประกอบด้วยขั้นตอนของ A) ให้ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ ที่อุณหภูมิในช่วงตั้งแต่ประมาณ 225 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 375 องศาฟาเรนไฮท์ โดยวิธีนี้จะทำให้ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์อยู่ในรูปของเหลว B) ดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกันและอย่างต่อเนื่อง i) ทำการฉีดไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ ที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ด้วยอัตราประมาณ 1 ถึงประมาณ 75 ปอนด์ต่อชั่วโมง เข้าไปในเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนที่กำหนดบางส่วน ด้วยผนังรอบนอกอย่างน้อยหนึ่งด้านซึ่งไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลวนั้นจะเกิดเป็นไอสาร ii) ปล่อยก๊าซผสมที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ฮีเลียมไนโตรเจน และของผสมของก๊าซทั้งสองเข้าไปยังเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน ด้วยปริมาณในช่วงตั้งแต่ 25 ถึงประมาณ 500 ลิตรมาตรฐานต่อนาที ที่ความดันตั้งแต่ประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ดังนี้ แล้วจะทำให้ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลวกลายเป็นไอได้เร็วขึ้น iii) ให้ความร้อนแก่ไดเมทธิลไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลว ไอของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ และก๊าซผสมจนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิของขั้นตอน A แต่ต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 250 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 400 องศาฟาเรนไฮท์ iv) ผสมไดเมทธิลไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลว ไอของไดเมทธิลทินไดออลไรด์ และก๊าซผสม โดยที่รวมถึงการจ่ายไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลว ออกเป็นฟิล์มบางตามผนังของเครื่องระเหยดังกล่าว โดยวิธีนี้ไดเมทธิลไดคลอไรด์ที่เป็นของเหลวกลายเป็นไออย่างสมบูรณ์แล้วที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิการกลายเป็นไอมาตรฐานของสารนี้ เพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่เป็นไอ ซึ่งมีความเข้มข้นของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์สูงและสม่ำเสมอในก๊าซผสม C) ทำการส่งกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาออกจากเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนและให้สัมผัสกับวัสดุรองรับ 2 6. กระบวนการเคลือบสารเคลือบบนแก้ว ที่ประกอบด้วย A) ทำให้เกิดกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่ทำให้เป็นไอ รวมทั้งของผสมของไอของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ และก๊าซผสม ที่เตรียมได้ตามข้อถือสิทธิ 25 และ B) ทำให้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าว สัมผัสกับวัสดุรองรับที่เป็นแถบแก้วลอย ซึ่งรักษาระดับอุณหภูมิไว้ที่ 750 องศาฟาเรนไฮท์ เป็นอย่างน้อย 2 7. กระบวนการเคลือบสารเคลือบบนแก้ว ตามข้อถือสิทธิ 26 โดยที่การสัมผัสดังกล่าวของกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าวกับแถบแก้ว เกิดขึ้นในสภาวะที่มีออกซิเจน และขณะที่แถบดังกล่าวถูกพยุงอยู่บนล่างของโลหะหลอมเหลว และมีอุณหภูมิในช่วงตั้งแต่ประมาณ 1,100 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 1,250 องศาฟาเรนไฮท์ 2 8. กระบวนการสำหรับเคลือบสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอประกอบด้วยขั้นตอน A) ให้ของผสมที่ประกอบด้วยไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ 95 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และเมทธิลทินไตรคลอไรด์ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิในช่วงตั้งแต่ประมาณ 225 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 375 องศาฟาเรนไฮท์ โดยวิธีนี้จะทำให้ของผสมอยู่ในรูปของเหลว B) ดำเนินขั้นตอนต่อไปนี้พร้อมกัน และอย่างต่อเนื่อง i) ทำการฉีดไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลไตรคลอไรด์ที่เป็นของเหลวเข้าไปในช่องระเหยสารให้เป็นไอ ด้วยอัตราประมาณ 1 ถึงประมาณ 75 ปอนด์ ต่อชั่วโมง เข้าไปในเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนที่กำหนดส่วน ด้วยผนังรอบนอกอย่างน้อยหนึ่งด้าน โดยที่ของผสมที่เป็นของเหลวนั้นจะเกิดเป็นไอสาร ii) ปล่อยก๊าซผสมที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ฮีเลียม ไนโตรเจน และของผสมของก๊าซทั้งสองเข้าไปยังเครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอน ด้วยปริมาณในช่วงตั้งแต่ 25 ถึงประมาณ 500 ลิตรมาตรฐานต่อนาที ที่ความดันตั้งแต่ประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ดังนี้แล้วจะทำให้ของผสมที่เป็นของเหลวกลายเป็นไอได้เร็วขึ้น iii) ให้ความร้อนแก่ของผสม ของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ ที่เป็นของเหลว ของผสมของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ ที่กลายเป็นไอ และก๊าซผสมจนถึงอุณหภูมิที่สูงกว่าอุณหภูมิของขั้นตอน A และอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 250 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 400 องศาฟาเรนไฮท์ iv) ผสมของผสมของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ที่เป็นของเหลว ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ที่กลายเป็นไอแล้ว และก๊าซผสมโดยที่รวมถึงการจ่ายไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ที่เป็นของเหลว ออกเป็นฟิล์มบางตามผนังของเครื่องระเหยดังกล่าว โดยวิธีนี้ ของผสมของไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ที่เป็นของเหลวกลายเป็นไออย่างสมบูรณ์แล้ว เพื่อเตรียมกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่เป็นที่มีความเข้มข้นสูงและสม่ำเสมอ ซึ่งประกอบด้วย ไดเมทธิลทินไดคลอไรด์ 95 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และเมทธิลทินไตรคลอไรด์ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก C) ทำการส่งกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาออกจาก เครื่องระเหยแบบแผ่นบางในแนวนอนและให้สัมผัสกับวัสดุรองรับ 2 9. กระบวนการเคลือบสารเคลือบทินออกไซด์บนแก้ว ซึ่งประกอบด้วย A) การทำให้เกิดกระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอ รวมทั้งไดเมทธิลทินไดคลอไรด์-เมทธิลทินไตรคลอไรด์ และของผสมของก๊าซผสมที่เตรียมได้จากตามข้อถือสิทธิ 28 และ B) ทำให้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าว สัมผัสกับวัสดุรองรับแก้วลอย ในสภาวะที่มีออกซิเจน ขณะที่แถบดังกล่าวถูกพยุงไว้บนอ่างโลหะหลอมเหลว ที่อุณหภูมินช่วงตั้งแต่ประมาณ 1,100 องศาฟาเรนไฮท์ ถึงประมาณ 1,250 องศาฟาเรนไฮท์ 3 0. กระบวนการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอตามข้อถือสิทธิ 27 โดยที่มีการใช้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่เป็นไอ เพื่อก่อรูปเป็นสารเคลือบบนแก้ว ด้วยอัตราการเติบโต ถึงประมาณ 2,200 อังสตรอมต่อวินาที 3
1. กระบวนการเคลือบสารเคลือบทินออกไซด์บนแก้ว ตามข้อถือสิทธิ 29 โดยที่มีการใช้กระแสก๊าซของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่กลายเป็นไอ เพื่อก่อรูปสารเคลือบทินออกไซด์เคลือบลงบนแถบแก้ว ด้วยอัตราการเติบโตถึงประมาณ 2,200 อังสตรอมต่อวินาที
TH9001001521A 1990-10-16 วิธีการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอที่ใช้ ในการเคลือบ ด้วยไอสารเคมี TH8527B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH9846A true TH9846A (th) 1991-11-01
TH9846EX TH9846EX (th) 1991-11-01
TH8527B TH8527B (th) 1998-10-30

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR0147042B1 (ko) 화학적 증착용 증기상 반응물의 제조 방법
KR100577945B1 (ko) 유리에산화주석코팅을형성하는방법
US6521295B1 (en) Chemical vapor deposition of antimony-doped metal oxide and the coated article made thereby
KR950000690B1 (ko) 플로우트 유리(float glass)상에 산화 금속 코우팅 부착을 위한 장치 및 방법
EP1034146B1 (en) Improvements in coating glass
US5393563A (en) Formation of tin oxide films on glass substrates
KR20000029951A (ko) 판글래스상에산화주석및산화티타늄코팅을증착시키는방법과그에따라코팅된글래스
JP2001502381A (ja) 酸化アルミニウムの化学蒸着法
WO2005092809A1 (en) Method for depositing gallium oxide coatings on flat glass
TH9846A (th) วิธีการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอที่ใช้ ในการเคลือบ ด้วยไอสารเคมี
TH8527B (th) วิธีการสำหรับเตรียมสารเข้าทำปฏิกิริยาในรูปไอที่ใช้ ในการเคลือบ ด้วยไอสารเคมี
US5906861A (en) Apparatus and method for depositing borophosphosilicate glass on a substrate
Gordon et al. Chemical vapor deposition and properties of amorphous aluminum oxide films
JPH01123074A (ja) 気相化学反応原料の供給方法
KR20010066533A (ko) 안정한 코팅용 기화물 생성방법 및 장치
MXPA98000254A (en) Method for forming a tin oxide coating on vid
MXPA98002841A (en) Coating of glass