TH94918A - ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว - Google Patents

ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว

Info

Publication number
TH94918A
TH94918A TH801001125A TH0801001125A TH94918A TH 94918 A TH94918 A TH 94918A TH 801001125 A TH801001125 A TH 801001125A TH 0801001125 A TH0801001125 A TH 0801001125A TH 94918 A TH94918 A TH 94918A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
liquid
push rod
chamber
stop
far end
Prior art date
Application number
TH801001125A
Other languages
English (en)
Other versions
TH70387B (th
TH94918B (th
Inventor
อิกุชิมะ กาซุมาซะ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH94918A publication Critical patent/TH94918A/th
Publication of TH94918B publication Critical patent/TH94918B/th
Publication of TH70387B publication Critical patent/TH70387B/th

Links

Abstract

DC60 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดเตรียมเทคนิคในการปล่อยหยดของเหลวซึ่งจะทำให้ส่วนปลายด้านไกล ของแกนดันยังคงอยู่ในสภาพที่ไม่ได้มาสัมผัสกับผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวระหว่างการ ปฏิบัติงานในการปล่อยซึ่งหากกล่าวอย่างจำเพาะเจาะจงยิ่งขึ้นก็จะเกี่ยวข้องกับชุดอุปกรณ์ปล่อยหยด ของเหลวและวิธีการที่สามารถปล่อยวัสดุได้อย่างเป็นที่น่าพอใจแม้ว่าจะเป็นวัสดุเหลวที่มีส่วนประกอบ ของตัวเติม อย่างเช่น สารเหลวข้นสำหรับบัดกรี วิถีทางสำหรับแก้ไขปัญหา: ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลวโดยที่ชุดอุปกรณ์ ดังกล่าวประกอบด้วยห้องบรรจุของเหลวซึ่งมีช่องปล่อยที่จะมีการปล่อยวัสดุเหลวผ่าน, รูลอดที่เชื่อมต่อ กับห้องบรรจุของเหลว, แกนดันที่สอดผ่านรูลอดดังกล่าวและมีส่วนปลายด้านไกลซึ่งถูกขยับไปข้างหน้า และถอยกลับภายในห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว, กลไกในการขยับแกนดันสำหรับทำให้แกนดัน ดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับและกลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดันสำหรับกำหนด ตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันโดยที่แกนดันดังกล่าวจะถูกขยับไปข้างหน้าและถูกใช้ ปฏิบัติงานเพื่อให้หยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในสภาพที่ไม่มีการสัมผัสกันระหว่างส่วนปลายด้านไกล ของแกนดันและผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวซึ่งจะทำให้วัสดุเหลวมีแรงเฉื่อยที่จะปล่อยวัสดุ เหลวออกมาในสภาพที่เป็นหยดของเหลวโดยที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดันดังกล่าวจะ กำหนดตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันเมื่อหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าตรงบริเวณใกล้กับ ผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ในทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า:

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 20/06/2562 ไม่มีข้อถือสิทธิ ------------------------------------------------------------------------------------- ------07/12/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 5 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวที่ประกอบด้วยห้องบรรจุของเหลวซึ่งมีช่องปล่อยที่จะมีการ ปล่อยวัสดุเหลวผ่าน, รูลอดที่เชื่อมต่อกับห้องบรรจุของเหลว, แกนดันที่สอดผ่านรูลอดดังกล่าว และ มีส่วนปลายด้านไกลซึ่งถูกขยับไปข้างหน้าและถอยกลับภายในห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว, กลไกใน การขยับแกนดันสำหรับทำให้แกนดันดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับและกลไกในการ กำหนดตำแหน่งของแกนดันสำหรับกำหนดตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันโดยที่แกนดัน ดังกล่าวจะถูกขยับไปข้างหน้าและถูกใช้ปฏิบัติงานเพื่อให้หยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในสภาพที่ไม่มี การสัมผัสกันระหว่างส่วนปลายด้านไกลของแกนดันและผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวซึ่งจะทำ ให้วัสดุเหลวมีแรงเฉื่อยที่จะปล่อยวัสดุเหลวออกมาในสภาพที่เป็นหยดของเหลว โดยที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดันดังกล่าวจะกำหนดตำแหน่งของส่วนปลาย ด้านไกลของแกนดันเมื่อหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าตรงบริเวณใกล้กับผนังภายในของห้องบรรจุ ของเหลวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ในทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน เมื่อหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันจะไปอยู่ใกล้กับผนังภายในและช่องปล่อยของห้องบรรจุ ของเหลวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ในทิศแกนดันดังกล่าวที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 3. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่ผนังภายในของส่วนปลาย ด้านไกลของห้องบรรจุของเหลวถูกจัดทำเป็นรูปกรวยโดยมีการจัดทำช่องปล่อยไว้ตรงส่วนปลาย ด้านหน้าสุดของห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว 4. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยมีการจัดทำผนังภายในของ ส่วนปลายด้านไกลของห้องบรรจุของเหลวให้เป็นพื้นผิวแบนราบซึ่งมีช่องปล่อย 5. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่กลไกในการกำหนด ตำแหน่งของแกนดังกล่าวประกอบด้วยส่วนประชิดด้านหน้า (43) ที่ถูกจัดเตรียมไว้บนแกนดันและ ตัวหยุดส่วนหน้า (51) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิดด้านหน้า (43) ดังกล่าวโดยที่ ตำแหน่งหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันจะถูกกำหนดโดยการที่ส่วนประชิดด้านหน้า (43) ไปอยู่ชิดกับตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าว 6. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 5 โดยที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของ แกนดันประกอบด้วยชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งสามารถทำให้ชิ้นส่วนดังกล่าวอยู่ในตำแหน่งที่เคลื่อนที่ ไปข้างหน้าและถอยกลับได้โดยที่ตำแหน่งหยุดสำหรับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันสามารถ ปรับแต่งได้โดยใช้ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ในการทำให้ตัวหยุดส่วนหน้ามีการเคลื่อนตำแหน่งไปข้างหน้า และถอยกลับ หน้า 2 ของจำนวน 5 หน้า 7. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว ประกอบด้วยตัวระบุตำแหน่งสำหรับระบุตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) 8. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลว ดังกล่าวจะมีส่วนประกอบเพิ่มเติมคือตัวชิ้นส่วนหลักซึ่งมีรูลอด (24) และห้องลูกสูบ (61) ซึ่งมีการ สอดแกนดันเข้าไปและบล็อกปล่อยวัสดุเหลวซึ่งมีช่องปล่อย, ห้องบรรจุของเหลว, ช่องจ่ายวัสดุเหลว, รูลอด (26) ซึ่งมีการสอดแกนดันผ่านเข้าไป โดยที่แกนดันดังกล่าวมีก้านแกนดันและส่วนประชิดด้านหน้า (43) ซึ่งมีความกว้างมากกว่า ก้านแกนดันและถูกจัดเตรียมไว้ในห้องลูกสูบ (61) และ โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าวมีรูลอด (34) ซึ่งมีการสอดแกนดันผ่านเข้าไปและ ถูกจัดเตรียมไว้ระหว่างตัวชิ้นส่วนหลักและบล็อกปล่อยวัสดุเหลว 9. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่ตัวหยุดส่วนหน้า (51) คือพื้นผิว ของห้องลูกสูบ (61) ที่ถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับพื้นผิวของส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้านที่เป็นทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 1 0. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่ตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า สามารถปรับแต่งได้โดยการขยับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ไปข้างหน้าและถอยกลับเพื่อปรับ ระยะทางระหว่างตัวชิ้นส่วนหลักและบล็อกปล่อยวัสดุเหลว 1 1. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลว ดังกล่าวมีส่วนประกอบเพิ่มเติมคือชิ้นส่วนฐานสำหรับติดตั้งตัวชิ้นส่วนหลักเพื่อให้สามารถขยับ ตำแหน่งของตัวชิ้นส่วนหลักดังกล่าวไปข้างหน้าและถอยกลับได้และมีการติดตั้งบล็อกปล่อยวัสดุเหลว เข้าไปในตำแหน่งที่ตายตัว 1 2. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าว ประกอบด้วยส่วนปลายด้านหลังของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งยื่นเข้าไปในห้องลูกสูบ (61) และสามารถปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า (51) ได้โดยการขยับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ไปข้างหน้าและถอยหลัง 1 3. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งเมื่อมีการขยับตำแหน่งของชิ้นส่วน เคลื่อนที่ (30) ไปข้างหน้าและถอยหลังก็จะสามารถปรับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดัน ดังกล่าวได้จนกระทั่งไปถึงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันจะ มาสัมผัสกับผนังภายในของห้องบรรจุของเหลว 1 4. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ปิดช่องปล่อยตรงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) หน้า 3 ของจำนวน 5 หน้า 1 5. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่แกนดันจะมีส่วนประชิด ด้านหลัง (45) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่บนด้านที่เป็นทิศที่ส่วนประชิดด้านหน้า (43) ถอยกลับและ โดยที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดันดังกล่าวประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหลัง (52) ซึ่งสามารถจำกัดขอบเขตของการเคลื่อนที่ในลักษณะถอยกลับของแกนดันโดยการที่มาอยู่ชิดกับส่วน ประชิดด้านหลัง (45) และกลไกในการขยับตัวหยุดส่วนหลังสำหรับทำให้ตัวหยุดส่วนหลัง (52) ดังกล่าว เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับ 1 6. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 13 ซึ่งจากที่กล่าวไปแล้วยังประกอบด้วย ชิ้นส่วนที่คืนสภาพได้สำหรับโยกแกนดันไปในทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 1 7. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่ห้องบรรจุของเหลว ดังกล่าวมีช่องจ่ายวัสดุเหลวซึ่งจะมีการจ่ายวัสดุเหลวออกมาและชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวจะมี ส่วนประกอบเพิ่มเติมคือเครื่องควบคุมการป้อนของเหลวสำหรับจ่ายวัสดุเหลวไปยังช่องจ่ายวัสดุเหลว พร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 1 8. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่งจากที่กล่าวไปแล้ว ยังประกอบด้วยกลไกควบคุมแรงดันสำหรับเพิ่มแรงดันและลดแรงดันแก่วัสดุเหลวในห้องบรรจุ ของเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 1 9. วิธีการปล่อยหยดของเหลวเพื่อให้แรงเฉื่อยมากระทำกับวัสดุเหลวโดยการทำให้แกนดัน เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันดังกล่าวในสภาพที่ไม่ส่วนปลาย ด้านไกลของแกนดันและผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวจะไม่มาสัมผัสกันซึ่งจะทำให้วัสดุ เหลวลอยและหลุดออกไปในสภาพที่เป็นหยดของเหลว โดยมีการจัดเตรียมห้องบรรจุของเหลวที่มีช่องปล่อยและแกนดันที่มีส่วนปลายด้านไกลซํ่ง ถูกทำให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับภายในห้องบรรจุของเหลวดังกล่าวและ ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันดังกล่าวถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ใกล้กับผนังภายใน ของห้องบรรจุของเหลวซึ่งอยู่ในทิศที่แกนดันดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเมื่อถูกหยุดไม่ให้เคลื่อนที่ ไปข้างหน้า 2 0. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน ดังกล่าวถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ใกล้กับผนังภายในและช่องปล่อยของห้องบรรจุของเหลวซึ่งถูกจัดให้ อยู่ในทิศที่แกนดันดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเมื่อถูกหยุดไม่ให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2 1. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19หรือ20 โดยมีการจัดเตรียมส่วนประชิดด้านหน้า (43) ซึ่งถูกจัดเตรียมไว้บนแกนดัน หน้า 4 ของจำนวน 5 หน้า มีการจัดเตรียมตัวหยุดส่วนหน้า (51)ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิด ด้านหน้า (43) ดังกล่าวและ มีการกำหนดตำแหน่งหยุดในขณะที่แกนดันเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยการนำส่วนประชิด ด้านหน้า (43) มาอยู่ชิดกับตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าว 2 2. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 21 โดยมีการจัดเตรียมชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งสามารถขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้าและถอยกลับได้และ มีการปรับตำแหน่งหยุดในขณะที่แกนดันกำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยการขยับตำแหน่ง ในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของตัวหยุดส่วนหน้า (51) ภายในชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว 2 3. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าวมีตัว ระบุตำแหน่งสำหรับระบุตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) และวิธีการดังกล่าวมีขั้นตอนเพิ่มเติมคือการ ปรับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) โดยยึดถือตามค่าที่ระบุโดยตัวระบุตำแหน่งดังกล่าว 2 4.วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยมีการจัดเตรียมห้องถูกสูบ (61) ที่ประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหน้า (51) ตรงพื้นผิวของ ห้องดังกล่าวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับพื้นผิวของส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้าน ที่เป็นทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและ มีการปรับตำแหน่งของห้องลูกสูบ (61) โดยการขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และถอยกลับของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) เพื่อจะได้ปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า (51) 2 5. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่ส่วนปลายด้านหลังของชิ้นส่วน เคลื่อนที่ (30)ประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหน้า (51)ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับพื้นผิวของ ส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้านที่เป็นทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและ โดยที่วิธีการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมคือการปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วน หน้า (51)โดยการขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว 2 6. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยมีการปรับตำแหน่งหยุดในขณะที่แกน ดันเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยอาศัย หน้า 5 ของจำนวน 5 หน้า ขั้นตอนที่หนึ่งซึ่งเป็นการทำให้ตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันอยู่ในตำแหน่ง ที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันมาสัมผัสกับผนังภายในของห้องบรรจุ ของเหลวและทำให้ส่วนประชิดด้านหน้า (43) และตัวหยุดส่วนหน้า (51) อยู่ในสภาพที่อยู่ชิดกันและ ขั้นตอนที่สองซึ่งเป็นการทำให้ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับเป็น ระยะทางที่ต้องการในขณะที่ยังคงรักษาสภาพที่อยู่ชิดกันระหว่างส่วนประชิดด้านหน้า (43) และ ตัว หยุดส่วนหน้า (51) เพื่อกำหนดตำแหน่งให้ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันอยู่ในระยะที่ต้องการจาก ตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) 2 7. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ปิดช่องปล่อยตรงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งเป็นบริเวณที่ส่วนปลายด้านไกลของ แกนดันจะมาสัมผัสกับผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวและในขั้นตอนที่หนึ่งก็จะตัดสินว่าตำแหน่ง ของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันดังกล่าวอยู่ในตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) หรือไม่โดยพิจารณาจากการ ที่มีหรือไม่มีวัสดุเหลวไหลออกไปภายนอกโดยผ่านช่องปล่อยดังกล่าว 2 8. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่แกนดันดังกล่าวมีส่วนประชิดด้านหลัง (45) อยู่บนด้านที่เป็นทิศที่ถอยกลับของส่วน ประชิดด้านหน้า (43) มีการจัดเตรียมตัวหยุดส่วนหลัง (52) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิด ด้านหลัง (45) และสามารถขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของส่วนประชิด ด้านหลังดังกล่าวได้และ มีการจำกัดขอบเขตของการเคลื่อนที่แบบถอยกลับของแกนดันโดยการทำให้ส่วนประชิด ด้านหลัง (45) มาอยู่ชิดกับตัวหยุดส่วนหลัง (52) 2 9. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19 หรือ 20 โดยที่ห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว มีช่องจ่ายวัสดุเหลวที่มีการจ่ายวัสดุเหลวและมีการจ่ายวัสดุเหลวไปยังช่องจ่ายวัสดุเหลวพร้อมกับการ เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 3 0. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19หรือ20โดยที่วัสดุเหลวดังกล่าวคือวัสดุ เหลวที่มีส่วนประกอบของตัวเติม 3 1. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19 หรือ 20 โดยที่วัสดุเหลวดังกล่าวมีการเพิ่ม แรงดันและลดแรงดันในห้องบรรจุของเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของ แกนดัน ------------ 1. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวที่ประกอบด้วยห้องบรรจุของเหลวซึ่งมีช่องปล่อยที่จะมี การปล่อยวัสดุเหลวผ่าน, รูลอดที่เชื่อมต่อกับห้องบรรจุของเหลว, แกนดันที่สอดผ่านรูลอดดังกล่าวและ มีส่วนปลายด้านไกลซึ่งถูกขยับไปข้างหน้าและถอยกลับภายในห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว, กลไกใน การขยับแกนดันสำหรับทำให้แกนดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับและกลไกในการ กำหนดตำแหน่งของแกนดันสำหรับกำหนดตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันโดยที่แกนดัน กังกล่าวจะถูกขยับไปข้างหน้าและถูกใช้ปฏิงานเพื่อให้หยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในสภาพที่ไม่มี การสัมผัสกันระหว่างส่วนปลายด้านไกลของแกนดันและผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวซึ่งจะทำ ให้วัสดุเหลวมีแรงเฉื่อยที่จะปล่อยวัสดุเหลวออกมาในสภาพที่เป็นหยดของเหลว โดยที่กลไกในการกำหนดตกแหน่งของแกนดันดังกล่าวจะกำหนดตำแหน่งของส่วนปลาย ด้านไกลของแกนดันเมื่อหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าตรงบริเวณใกล้กับผนังภายในห้องบรรจุ ของเหลวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ในทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน เมื่อหยุดการเลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันจะไปอยู่ใกล้กับผนังภายในและช่องปล่อยของห้องบรรจุ ของเหลวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ในทิศแกนดังกล่าวที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 3. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1หรือ 2 โดยที่ผนังภายในของส่วนปลาย ด้านไกลของห้องบรรจุของเหลวถูกจัดทำเป็นรูปกรวยโดยมีการจัดทำช่องปล่อยไว้ตรงส่วนปลาย ด้านหน้าสุดของห้องบรรจุของเหลวดังกล่าว 4. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 1หรือ 2 โดยมีการจัดทำผนังภายในของ ส่วนปลายด้านไกลของห้องบรรจุของเหลวให้เป็นพื้นผิวแบนราบซึ่งมีช่องปล่อย 5. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 โดย ที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดังกล่าวประกอบด้วยส่วนประชิดด้านหน้า (43) ที่ถูกจัดเตรียม ไว้บนแกนดันและตัวหยุดส่วนหน้า (51) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิดด้านหน้า (43) ดังกล่าวโดยที่ตำแหน่งหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันจะถูกกำหนดโดยการที่ส่วน ประชิดด้านหน้า (43) ไปอยุ่ชิดกับตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าว 6. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 5 โดยที่กลไกมในการกำหนดตำแหน่งของ แกนดันประกอบด้วยชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งสามารถทำให้ชิ้นส่วนดังกล่าวอยู่ในตำแหน่งที่เคลื่อนที่ ไปข้างหน้าและถอยกลับได้โดยที่ตำแหน่งหยุดสำหรับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันสามารถ ปรับแต่งได้โดยใช้ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ในการทำให้ตัวหยุดส่วนหน้ามีการเคลื่อนตำแหน่งไป ข้างหน้าและถอยกลับ 7. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว ประกอบด้วยตัวระบุตำแหน่งสำหรับระบุตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) 8. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 6 หรือ 7 โดยที่ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยด ของเหลวดังกล่าวจะมีส่วนประกอบเพิ่มเติมคือตัวชิ้นส่วนหลักซึ่งมีรูลอด (24) และห้องลูกสูบ (61) ซึ่ง มีการสอดแกนดันเข้าไปและบล็อกปล่อยวัสดุเหลวซึ่งมีช่องปล่อย, ห้องบรรจุของเหลว, ช่องจ่ายวัสดุ เหลว, รูลอด (26) ซึ่งมีการสอดแกนดันผ่านเข้าไป โดยที่แกนดันดังกล่าวมีก้านแกนดันและส่วนประชิดด้านหน้า (43) ซึ่งมีความกว้าง มากกว่ากเานแกนดันและถูกจัดเตรียมไว้ในห้องลูกสูบ (61) และ โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าวมีรูลอด (34) ซึ่งมีการสอดแกนดันผ่านเข้าไปและถูก จัดเตรียมไว้ระหว่างตัวชิ้นส่วนหลักแลกบล็อกปล่อยวัสดุเหลว 9. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 6 ถึง 8 โดยที่ ตัวหยุดส่วนหน้า (51) คือพื้นผิวของห้องลูกสูบ (61) ที่ถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับพื้นผิวของ ส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้านที่เป็นทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 1 0. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 6 ถึง 9 โดยที่ ตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้าสามารถปรับแต่งได้โดยการขยับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ไป ข้างหน้าและถอยกลับเพื่อปรับระยะทางระหว่างตัวชิ้นส่วนหลักและบล็อกปล่อยวัสดุเหลว 1 1. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลว ดังกล่าวมีส่วนประกอบเพิ่เตอมคือชิ้นส่วนฐานสำหรับติดตั้งตัวชิ้นส่วรนหลักเพื่อให้สามารถขยับ ตำแหน่งของตัวชิ้นส่วนหลักดังกล่าวไปข้างหน้าและถอยกลับได้และมีการติดตั้งบล็อกปล่อยวัสดุเหลว เข้าไปในตำแหน่งที่ตายตัว 1 2. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 6 ถึง 8 โดย ที่ตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าวประกอบด้วยส่วนปลายด้านหลังของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งยื่นเข้า ไปในห้องลูกสูบ (61) และสามารถปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า (51) ได้โดยการขยับตำแหน่ง ของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ไปข้างหน้าและถอยหลัง 1 3. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 6 ถึง 12 ซึ่ง เมื่อมีการขยับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ไปข้างหน้าและถอยหลังก็จะสามารถปรับตำแหน่งใน การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันกังกล่าวได้จนกระทั่งไปถึงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งตำแหน่ง ของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันจะมาสัมผัสกัผนังภายในของห้องบรรจุอของเหลว 1 4. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 12 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ปิดช่องปล่อยตรงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) 1 5. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 14 โดย ที่แกนดันจะมีส่วนประชิดด้านหลัง (45) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่บนด้านที่เป็นทิศที่ส่วนประชิด ด้านหน้า (43) ถอยกลับและ โดยที่กลไกในการกำหนดตำแหน่งของแกนดันดังกล่าวประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหลัง (52) ซึ่งสามารถจำกัดขอบเขตของการเคลื่อนท่ในลักษณะถอยกลับของแกนดันโดยการที่มาอยู่ชิดกับ ส่วนประชิดด้านหลัง (45) และกลไกในการขยับตัวหยุดส่วนหลังสำหรับทำให้ตัวหยุดส่วนหลัง (52) ดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับ 1 6. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 15 ซึ่ง จากที่กล่าวไปแล้วยังประกอบด้วยชิ้นส่วนที่คืนสภาพได้สำหรับโยกแกนดันไปในทิศที่เคลื่อนที่ไป ข้างหน้า 1 7. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 16 โดย ที่ห้องบรรจุของเหลวดังกล่าวมีช่องจ่ายวัสดุเหลวซึ่งจะมีการจ่ายวัสดุเหลวออกมาและชุดอุปกรณ์ปล่อย หยดของเหลวจะมีส่วนประกอบเพิ่มเติมคือเครื่องควบคุมการป้อนของเหลวสำหรับจ่ายวัสดุเหลวไปยัง ช่องจ่ายวัสดุเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 1 8. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 17 ซึ่ง จากที่กล่าวไปแล้วยังประกอบด้วยกลไกควบคุมแรงดันสำหรับเพิ่มแรงดันและลดแรงดันแก่วัสดุเหลว ในห้องบรรจุของเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 1 9. วิธีการปล่อยหยดของเหลวเพื่อให้แรงเฉื่อยมากระทำกับวัสดุเหลวโดยการทำให้แกนดัน เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและหยุดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของแกนดันดังกล่าวในสภาพที่ไม่ส่วนปลายด้าน ไกลของแกนดันและผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวจะไม่มาสัมผัสกันซึ่งจะทำให้วัสดุเหลวลอย และหลุดออกไปในสภาพที่เป็นหยดของเหลว โดยมีการจัดเตรียมห้องบรรจุของเหลวที่มีช่องปล่อยและแกนดันที่มีส่วนปลายด้านไกลซึ่ง ถูกทำให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับภายในห้องบรรจุของเหลวดังกล่าวและ ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันดังกล่าวถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่กับผนังภายในของ ห้องบรรจุของเหลวซึ่งอยู่ในทิศที่แกนดันดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเมื่อถูกหนุดไม่ให้เคลื่อนที่ไป ข้างหน้า 2 0. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19 โดยส่วนปลายด้านไกลของแกนดัน ดังกล่าวถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ใกล้กับผนังภายในและช่องปล่อยของห้องบรรจุของเหลวซึ่งถูกจัดให้ อยู่ในทิศที่แกนดันดังกล่าวเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเมื่อถูกหยุดไม่ให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า 2 1. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 19 หรือ 20 โดยมีการจัดเตรียมส่วนประชิดด้านหน้า (43) ซึ่งถูกจัดเตรียมไว้บนแกนดัน มีการจัดเตรียมตัวหยุดส่วนหน้า (51) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิด ด้านหน้า (43) ดังกล่าวและ มีการกำหนดตำแหน่งหยุดในขณะที่แกนดันเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยการนำส่วนประชิด ด้านหน้า (43) มาอยู่ชิดกับตัวหยุดส่วนหน้า (51) ดังกล่าว 2 2. โดยมีการจัดเตรียมชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ซึ่งสามารถขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไป ข้างหน้าและถอยกลับได้และ มีการปรับตำแหน่งหยุดในขณะที่แกนดันกำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยการขยับตำแหน่งใน การเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของตัวหยุดส่วนหน้า (51) ภายในชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว 2 3. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าวมีตัว ระบุตแหน่งสำหรับระบุตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) และวิธีการดังกล่าวมีขั้นตอนเพิ่มเติมคือ การปรับตำแหน่งของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) โดยยึดถือตามค่าที่ระบุโดยตัวระบุตำแหน่งดังกล่าว 2 4. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 หรือ 23 โดยมีการจัดเตรียมห้องลูกสูบ (61) ที่ประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหน้า (51) ตรงพื้นผิวของ ห้องดังกล่าวซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับพื้นผิวของส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้านที่ เป็นทิศที่เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและ มีการปรับตำแหน่งของห้องลูกสูบ (61) โดยการขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และถอยกลับของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) เพื่อจะได้ปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า (51) 2 5. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 22 หรือ 23 โดยที่ส่วนปลายด้านหลังของ ชิ้นส่วนเคลื่อนี่ (30) ประกอบด้วยตัวหยุดส่วนหน้า (51) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับ พื้นผิวของส่วนประชิดด้านหน้า (43) บนด้านี่เป็นทิศทีเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและ วิธีการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมคือการปรับตำแหน่งของตัวหยุดส่วนหน้า (51) โดยการขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของชิ้นส่วนเคลื่อนที่ (30) ดังกล่าว 2 6. วิธีการปล่อบหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 22 ถึง 25 โดยมี การปรับตำแหน่งหยุดในขณะที่แกนดันเคลื่อนที่ไปข้างหน้าโดยอาศัย ขั้นตอนที่หนึ่งซึ่งเป็นการทำให้ตำแหน่งของส่วนปลายด้านไกลของแกนดันอยู่ในตำแหน่ง ที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันมาสัมผัสกับผนังภายในของห้อง บรรจุของเหลวและทำให้ส่วนประชิดด้านหน้า (43) และตัวหยุดส่วนหน้า (51) อยู่ในสภาพที่อยู่ชิดกัน และ ขั้นตอนที่สองซึ่งเป็นการทำให้ชิ้นส่วนเคลื่อนท่ (30) เคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับ เป็นระยะทางที่ต้องการในขณะที่ยังคงรักษาสภาพที่อยู่ชิดกันระหว่างส่วนประชิดด้านหน้า (43) และตัว หยุดส่วนหน้า (51) เพื่อกำหนดตำแหน่งให้ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันอยู่ในระยะที่ต้องการจาก ตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) 2 7. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิที่ 26 โดยที่ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันถูก สร้างขึ้นเพื่อให้ปิดช่องปล่อยตรงตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) ซึ่งเป็นบริเวณที่ส่วนปลายด้านไกลของแกน ดันจะมาสัมผัสกับผนังภายในของห้องบรรจุของเหลวและในขั้นตอนที่หนึ่งก็จะตัดสินว่าตำแหน่งของ ส่วนปลายด้านไกลของแกนดันดังกล่าวอยู่ในตำแหน่งที่สัมผัสกัน (12) หรือไม่โดยพิจารณาจากการที่มี หรือไม่มีวัสดุเหลวไหลออกไปภายนอกโดยผ่านช่องปล่อยดังกล่าว 2 8. ชุดอุปกรณ์ปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 27 โดยที่แกนดันดังกล่าวมีส่วนประชิดด้านหลัง (45) อยู่บนด้านที่เป็นทิศที่ถอยกลับของส่วน ประชิดด้านหน้า (43) มีการจัดเตรียมตัวหยุดส่วนหลัง (52) ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนประชิด ด้านหลัง (45) และสามารถขยับตำแหน่งในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของส่วนประชิด ด้านหลังดังกล่าวได้และ มีการจำกัดขอบเขตของการเคลื่อนที่แบบถอยกลับของแกนดันโดยการทำให้ส่วนประชิด ด้านหลัง (45) มาอยู่ชิดกับตัวหยุดส่วนหลัง (52) 2 9. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 28 โดยที่ ห้องบรรจุของเหลวดังกล่าวมีช่องจ่ายวัสดุเหลวที่มีการจ่ายวัสดุเหลวและมีการจ่ายวัสดุเหลวไปยังช่อง จ่ายวัสดุเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและถอยกลับของแกนดัน 3 0. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 29 โดยที่ วัสดุเหลวดังกล่าวคือวัสดุเหลวที่มีส่วนประกอบของตัวเติม 3
1. วิธีการปล่อยหยดของเหลวตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 30 โดยที่ วัสดุเหลวดังกล่าวมีการเพิ่มแรงดันและลดแรงดันในห้องบรรจุของเหลวพร้อมกับการเคลื่อนที่ไป ข้างหนเาและถอยกลับของแกนดัน
TH801001125A 2008-03-06 ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว TH70387B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH94918A true TH94918A (th) 2009-03-27
TH94918B TH94918B (th) 2009-03-27
TH70387B TH70387B (th) 2019-06-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP6339637B2 (ja) 個別量の高粘性液体の噴射
JP4663894B2 (ja) 液滴の形成方法および液滴定量吐出装置
JP5986727B2 (ja) 液体材料の吐出装置および方法
US9156054B2 (en) Method and apparatus for discharging liquid material
EP2444162B1 (en) Device and method for discharging constant amount of high-viscosity material
ES2735286T3 (es) Dispositivo y método para la descarga de gotas
HK1140720A1 (en) Liquid droplet discharging device and method
CN103688142A (zh) 液滴分配器
CN100457290C (zh) 液体的排出方法及其装置
CN1826183B (zh) 液滴放出方法及其装置
JP4548030B2 (ja) 液体定量吐出装置
JP2000312851A (ja) 接着剤吐出装置
TH94918A (th) ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว
TH70387B (th) ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว
JP4036431B2 (ja) 液材の吐出方法およびその装置
JP6745262B2 (ja) ノンインパクト噴射吐出モジュール及び方法
JP6839834B2 (ja) 流体吐出装置
KR101688904B1 (ko) 액체 재료 토출 방법, 장치 및 프로그램을 기억한 기억 매체
JP6285510B2 (ja) 液体材料の吐出装置および方法
JP4618739B2 (ja) 液材の吐出方法およびその装置
TH94918B (th) ชุดอุปกรณ์และวิธีการปล่อยหยดของเหลว