TH80357A - เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุน - Google Patents

เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุน

Info

Publication number
TH80357A
TH80357A TH501004345A TH0501004345A TH80357A TH 80357 A TH80357 A TH 80357A TH 501004345 A TH501004345 A TH 501004345A TH 0501004345 A TH0501004345 A TH 0501004345A TH 80357 A TH80357 A TH 80357A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
magnetic
tooth
teeth
axis
housing
Prior art date
Application number
TH501004345A
Other languages
English (en)
Other versions
TH63210B (th
TH80357B (th
Inventor
ฮิโน่ ฮารุโยชิ
มุโรตะ เคอิโกะ
Original Assignee
นายสัตยะพล สัจจเดชะ
นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายสัตยะพล สัจจเดชะ, นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์ filed Critical นายสัตยะพล สัจจเดชะ
Publication of TH80357B publication Critical patent/TH80357B/th
Publication of TH80357A publication Critical patent/TH80357A/th
Publication of TH63210B publication Critical patent/TH63210B/th

Links

Abstract

DC60 (04/10/56) เพื่อจัดให้มีเครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่มีขนาดเล็กและแข็งแรงซึ่งมีกลไกที่ สามารถแปรผันลักษณะพิเศษในการส่งออกได้โดยไม่มีการสูญเสียกำลังทางกลเพิ่มขึ้น หรือไม่มีการใช้กำลังไฟฟ้าอย่างไร้ประโยชน์โดยไม่มีส่วนส่งเสริมให้แรงบิดเพิ่มมากขึ้น ตัวหมุน 71 จะมีแม่เหล็กขั้ว N และแม่เหล็กขั้ว S ที่ถูกจัดวางโดยสลับกันและ อยู่ ในลักษณะตรึงติดกับที่ผิวหน้าตอนปลาย 81a ที่หันหน้าเข้าหาตัวหมุน 71 ของฟันซี่ ที่หนึ่ง 81 แต่ละซี่ที่มีตำแหน่งอยู่บนส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง 83 จะกว้างกว่าผิวหน้าที่ อยู่ตรงข้าม 81b และชุดขดลวด 82 ที่ไม่ได้แสดงไว้ในรูปจะพันรอบส่วนที่อยู่ระหว่าง ผิวหน้าตอนปลายทั้งสอง 81a, 81b ส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง 87 จะมีซี่ฟันชุดที่สอง 84 ที่มีจำนวนเท่ากันกับซี่ฟันชุดที่หนึ่ง 81 และจะไม่มีชุดขดลวดซี่ฟันชุดที่สอง 84 จะถูก จัดวางให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลาย 81b ของฟันซี่ที่หนึ่งที่สอดคล้อง 81 และฟัน ซี่ที่สอง 84 แต่ละซี่จะเลื่อนกลับไปมาระหว่างตำแหน่งอ้างอิงที่ซึ่งฟันซี่ที่สองจะหันหน้า เข้าหาฟันซี่ที่หนึ่งที่สอดคล้อง 81b กับตำแหน่งที่เลื่อนได้สูงสุดที่มีตำแหน่งอยู่ที่ ศูนย์กลางระหว่างผิวหน้าตอนปลายแต่ละด้าน 81b พอดี ในตำแหน่งอ้างอิงกระแสไหล ของเส้นแรงแม่เหล็กที่เข้ม 98 จะไหลเข้าไปยังฟันซี่ที่หนึ่งทั้งหมด 81 จากแม่เหล็ก 79 แต่ละตัวในตำแหน่งที่เลื่อนได้สูงสุด จะมีเพียงกระแสไหลของเส้นแรงแม่เหล็กที่อ่อน แรงลง 99 เท่านั้นที่ไหลอยู่บนผิวหน้าตอนปลาย 81a ของฟันซี่ที่หนึ่ง 81 แต่ละซี่ ปริมาณกึ่งกลางของกระแสไหลของเส้นแรงแม่เหล็กจะเกิดขึ้นในตำแหน่งการเคลื่อนที่ที่ อยู่ตรงกลาง รูปเขียนที่เลือก รูปที่ 13 เพื่อจัดให้มีเครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่มีขนาดเล็กและแข็งแรงซึ่งมีกลไกที่ สามารถแปรผันลักษณะพิเศษในการส่งออกได้โดยไม่มีการสูญเสียกำลังทางกลเพิ่มขึ้น หรือไม่มีการใช้กำลังไฟฟ้าอย่างไร้ประโยชน์โดยไม่มีส่วนส่งเสริมให้แรงบิดเพิ่มมากขึ้น ตัวหมุน 71 จะมีแม่เหล็กขั้ว N และแม่เหล็กขั้ว S ที่ถูกจัดวางโดยสลับกันและอยู่ ในลักษณะตรึงติดกับที่ ผิวหน้าตอนปลาย 81a ที่หันหน้าเข้าหาตัวหมุน 71 ของฟันซี่ ที่หนึ่ง 81 แต่ละซี่ที่มีตำแหน่งอยู่บนส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง 83 จะกว้างกว่าผิวหน้าที่ อยู่ตรงข้าม 81b และชุดขดลวด 82 ที่ไม่ได้แสดงไว้ในรูปจะพันรอบส่วนที่อยู่ระหว่าง ผิวหน้าตอนปลายทั้งสอง 81a, 81b ส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง 87 จะมีซี่ฟันชุดที่สอง 84 ที่มีจำนวนเท่ากันกับซี่ฟันชุดที่หนึ่ง 81 และจะไม่มีชุดขดลวดซี่ฟันชุดที่สอง 84 จะถูก จัดวางให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลาย 81b ของฟันซี่ที่หนึ่งที่สอดคล้อง 81 และฟัน ซี่ที่สอง 84 แต่ละซี่จะเลื่อนกลับไปมาระหว่างตำแหน่งอ้างอิงที่ซึ่งฟันซี่ที่สองจะหันหน้า เข้าหาฟันซี่ที่หนึ่งที่สอดคล้อง 81b กับตำแหน่งที่เลื่อนได้สูงสุดที่มีตำแหน่งอยู่ที่ ศูนย์กลางระหว่างผิวหน้าตอนปลายแต่ละด้าน 81b พอดี ในตำแหน่งอ้างอิง กระแสไหล ของเส้นแรงแม่เหล็กที่เข้ม 98 จะไหลเข้าไปยังฟันซี่ที่หนึ่งทั้งหมด 81 จากแม่เหล็ก 79 แต่ละตัว ในตำแหน่งที่เลื่อนได้สูงสุด จะมีเพียงกระแสไหลของเส้นแรงแม่เหล็กที่อ่อน แรงลง 99 เท่านั้นที่ไหลอยู่บนผิวหน้าตอนปลาย 81a ของฟันซี่ที่หนึ่ง 81 แต่ละซี่ ปริมาณกึ่งกลางของกระแสไหลของเส้นแรงแม่เหล็กจะเกิดขึ้นในตำแหน่งการเคลื่อนที่ที่ อยู่ตรงกลาง รูปเขียนที่เลือก รูปที่ 13

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 20 มิถุนายน 2560
1. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนที่หมุนรอบแกนของเพลาหมุนในทิศทางการหมุนที่หนึ่ง และ เรือนแม่เหล็กที่ถูกจัดวางให้หันหน้าเข้าหาตัวหมุน โดยที่ตัวหมุนและเรือนแม่เหล็กอย่างใดอย่างหนึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนอย่าง น้อยสองส่วนในทิศทางแกนซึ่งอย่างน้อยส่วนที่หนึ่งจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนจะเลื่อน ได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของทิศทางการหมุนที่หนึ่งที่ สัมพันธ์กับส่วนที่สองจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนในลักษณะที่ว่าช่องว่างระหว่างส่วนที่ หนึ่งและส่วนที่สองจะทำให้เกิดความต้านทานแม่เหล็กซึ่งแปรผันได้ โดยที่ส่วนที่หนึ่งจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง ซึ่งฟันแต่ละซี่ ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีผิวหน้าตอนปลายที่อยู่ตรงข้ามกับตัวหมุนและผิวหน้าตอนปลาย ด้านที่สองที่หันหน้าหนีออกไปจากผิวหน้าตอนปลาย ซึ่งฟันแต่ละซี่จากฟันชุดที่หนึ่งจะมี ชุดขดลวดที่พันรอบผิวหน้าด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของมัน และ ส่วนที่สองจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่สองซึ่งมีฟันชุดที่สอง โดยที่ฟันชุดที่สองจะมี ส่วนปลายที่หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของฟันชุดที่หนึ่ง ---------- แก้ไข 04/10/2559
1. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนที่หมุนรอบแกนของเพลาหมุนในทิศทางการหมุนที่หนึ่ง และ เรือนแม่เหล็กที่ถูกจัดวางให้หันหน้าเข้าหาตัวหมุน โดยที่ตัวหมุนและเรือนแม่เหล็กอย่างใดอย่างหนึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนอย่าง น้อยสองส่วนในทิศทางแกนซึ่งอย่างน้อยส่วนที่หนึ่งจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนจะเลื่อน ได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของทิศทางการหมุนที่หนึ่งที่ สัมพันธ์กับส่วนที่สองจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนในลักษณะที่ว่าช่องว่างระหว่างส่วนที่ หนึ่งและส่วนที่สองจะทำให้เกิดความต้านทานแม่เหล็กซึ่งแปรผันได้ โดยที่ส่วนที่หนึ่งจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง ซึ่งฟันแต่ละซี่ ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีผิวหน้าตอนปลายที่อยู่ตรงข้ามกับตัวหมุนและผิวหน้าตอนปลาย ด้านที่สองที่หันหน้าหนีออกไปจากผิวหน้าตอนปลาย ซึ่งฟันแต่ละซึ่งจากฟันชุดที่หนึ่งจะมี ชุดขดลวดที่พันรอบผิวหน้าด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของมัน และ ส่วนที่สองจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่สองซึ่งมีฟันชุดที่สอง โดยที่ฟันชุดที่สองจะมี ส่วนปลายที่หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของฟันชุดที่หนึ่ง
2. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่การเคลื่อนที่ของ ส่วนที่หนึ่งที่สัมพันธ์กับส่วนที่สองจะเป็นการเคลื่อนที่กลับไปมาภายในมุมที่กำหนดไว้ ล่วงหน้าแล้ว
3. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่มุมหมุนของส่วนที่ หนึ่งที่สัมพันธ์กับส่วนที่สองจะเล็กกว่ามุมพิทช์ซึ่งถูกกำหนดโดยฟันที่อยู่ติดกันสองซี่ของ ฟันชุดที่สอง
4. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ส่วนที่หนึ่งและส่วน ที่สองจะเป็นตัวหมุน ทั้งนี้ส่วนที่หนึ่งจะเป็นส่วนของตัวหมุนที่หนึ่งซึ่งมีชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กชุดที่ หนึ่ง ซึ่งชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กแต่ละชิ้นของชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กชุดที่หนึ่งจะมี ผิวหน้าตอนปลายซึ่งหันหน้าเข้าหาเรือนแม่เหล็ก และผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองซึ่งหัน หน้าออกไปจากผิวหน้าตอนปลาย และ ส่วนที่สองจะเป็นส่วนของตัวหมุนที่สองซึ่งมีชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กชุดที่สองที่ มีส่วนปลายที่ถูกจัดวางให้อยู่ตรงข้ามกับผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของชิ้นประกอบที่ เป็นแม่เหล็กชุดที่หนึ่ง
5. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 4 โดยที่มุมหมุนของส่วนที่ หนึ่งที่สัมพันธ์กับส่วนที่สองจะเล็กกว่ามุมพิทช์ที่กำหนดไว้โดยชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็ก ที่อยู่ติดกันสองชิ้นของชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กชุดที่สอง
6. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนซึ่งมีส่วนที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวนที่หมุนในทิศทางที่หนึ่งรอบแกนของ เพลาหมุน แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมี ส่วนซึ่งมีผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งถูกวางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนที่มีหน้าตัดเป็น รูปวงแหวน และผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองหันไปในทิศทางที่โดยทั่วไปแล้วตรงข้ามกับ ผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่ง และฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีชุดขดลวดที่พันรอบ ผิวหน้าด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของส่วนดังกล่าว และ แกนเรือนแม่เหล็กที่สองซึ่งมีฟันชุดที่สอง โดยที่ฟันชุดที่สองจะมีส่วนปลายที่ถูก วางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองที่สอดคล้องกันของฟันชุดที่ หนึ่งของแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง ซึ่งแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและแกนเรือนแม่เหล็กที่สอง จะถูกวางตำแหน่งในแนวแกนตามแกนของเพลาหมุนและอยู่ใกล้กันโดยที่ส่วนอย่างน้อย ส่วนหนึ่งของฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งสามารถจะถูกวางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วน ที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวนของตัวหมุนตามแนวแกนและอยู่ตรงข้ามกับฟันอย่างน้อยซี่ หนึ่งของฟันชุดที่สองของแกนเรือนแม่เหล็กที่สองตามแนวแกน โดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองสามารถจะเลื่อนได้อย่างน้อยในทิศทางที่หนึ่งหรือ ในทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับ
7. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่แกนเรือนแม่เหล็ก ที่สองจะเลื่อนได้ในทิศทางที่หนึ่งหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุนและยัง สามารถเลื่อนได้ในทิศทางแกนของตัวหมุนได้ด้วย
8. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟัน ชุดที่หนึ่งจะมีสิวนที่ยื่นออกมาที่ผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของมันที่ถูกจัดโครงแบบ เพื่อให้ชิดกับผิวหน้าด้านข้างของฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่สอง
9. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟัน ชุดที่หนึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนที่หนึ่งซึ่งมีชุดขดลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวงของ มันและส่วนที่สองซึ่งไม่มีชุดขดลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวงของมัน และฟันชุดที่ สองจะรวมถึงฟันที่สอดคล้องกับส่วนที่หนึ่งของฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่ง และฟันอื่นๆ ที่สอดคล้องกับส่วนที่สองของฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่ง 1
0. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่ผิวหน้าตรงข้ามที่ สอดคล้องกันของตัวหมุนและฟันชุดที่หนึ่งจะถูกประกอบขึ้นเพื่อให้ทอดออกไปตามแนว เฉียงในลักษณะที่ว่าด้านในของผิวหน้าตรงข้ามของตัวหมุนซึ่งถูกวางตำแหน่งตามแนว รัศมีให้ใกล้กับแกนของเพลาหมุนมากกว่าจะหนากว่าด้านนอกของมัน 1
1. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่เมื่อฟันชุดที่สอง ถูกวางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับฟันชุดที่หนึ่งโดยตรง ความต้านทานแม่เหล็กระหว่าง ฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่หนึ่งและฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่สองที่หันหน้าเข้าหาโดยตรงจะน้อย กว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างฟันที่อยู่ติดกันของฟันชุดที่หนึ่ง และเมื่อฟันชุดที่สอง เคลื่อนที่เพื่อให้ฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่สองถูกวางในตำแหน่งระหว่างฟันที่อยู่ติดกันของฟัน ชุดที่หนึ่ง ความต้านทานแม่เหล็กระหว่างฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่สองและฟันที่อยู่ติดกัน ของฟันชุดที่หนึ่งจะมากกว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างฟันที่อยู่ติดกันของฟันชุดที่ หนึ่ง 1
2. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 11 โดยที่ความต้านทาน แม่เหล็กสามารถจะถูกปรับได้โดยระยะทางระหว่างฟันที่อยู่ติดกันของฟันชุดที่หนึ่งหรือ ระยะทางระหว่างฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่หนึ่งและฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่สอง 1
3. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 ซึ่งยังประกอบด้วย กลไกที่ใช้ส่งกำลังขับดันการเคลื่อนไหวสำหรับเลื่อนแกนเรือนแม่เหล็กที่สองในทิศทางที่ หนึ่งหรือในทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับ 1
4. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่การเคลื่อนที่ของ แกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่สัมพันธ์กับแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะเป็นการเคลื่อนที่กลับไป มาภายในมุมที่กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้วในทิศทางที่หนึ่งหรือในทิศทางในการหมุนแบบ ย้อนกลับ 1
5. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่การเคลื่อนที่ของ แกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่สัมพันธ์กับแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะเป็นการเคลื่อนที่หมุนโดย ไม่ต่อเนื่องสม่ำเสมอในทิศทางที่หนึ่ง 1
6. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่ฟันชุดที่หนึ่งและ ชุดขดลวดจะถูกหล่อให้เป็นหน่วยเดียวกัน 1
7. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 6 โดยที่ฟันชุดที่สอง และ ชุดขดลวดจะถูกหล่อให้เป็นหน่วยเดียวกัน 1
8. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้: ตัวหมุนซึ่งมีส่วนที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวนที่หมุนในทิศทางที่หนึ่งรอบแกนของ เพลาหมุน แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมี ส่วนที่มีผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่ถูกวางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนที่มีหน้าตัดเป็น รูปวงแหวน และผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองที่หันไปในทิศทางที่โดยทั่วไปแล้วอยู่ตรงข้าม กับผิวหน้าตอนปลายที่หนึ่ง โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีชุดขดลวดที่พันรอบ ผิวหน้าด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของส่วนดังกล่าว และ แกนเรือนแม่เหล็กที่สองซึ่งมีฟันชุดที่สอง โดยที่ฟันชุดที่สองจะมีส่วนปลายที่ถูก วางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองที่สอดคล้องกันของฟันชุดที่ หนึ่งของแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง โดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองจะเลื่อนได้อย่างน้อยในทิศทางที่หนึ่งหรือในทิศทาง ในการหมุนแบบย้อนกลับ และโดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองยังสามารถเลื่อนได้ในทิศทาง แกนของตัวหมุนอีกด้วย 1
9. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนซึ่งมีส่วนที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวนที่หมุนในทิศทางที่หนึ่งรอบแกนของ เพลาหมุน แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง โดยที่ฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมี ส่วนที่มีผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่ถูกวางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับส่วนที่มีหน้าตัดเป็น รูปวงแหวน และผิวหน้าตอนปลายด้านที่ลองที่หันไปในทิศทางที่โดยทั่วไปแล้วอยู่ตรงข้าม กับผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่ง โดยที่ฟันซี่หนึ่งของฟันชุดที่หนึ่งจะมีชุดขดลวดที่พันรอบ ผิวหน้าด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของส่วนดังกล่าว และ แกนเรือนแม่เหล็กที่สองซึ่งมีฟันชุดที่สอง โดยที่ฟันชุดที่สองจะมีส่วนปลายที่ถูก วางตำแหน่งให้อยู่ตรงข้ามกับผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองที่สอดคล้องกันของฟันชุดที่ หนึ่งของแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง ซึ่งฟันแต่ละซี่ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีส่วนที่ยื่นออกมาที่ ผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของมันที่ถูกจัดโครงแบบให้ชิดกับผิวหน้าด้านข้างของฟันแต่ ละซี่ของฟันชุดที่สอง โดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองเลื่อนอย่างน้อยที่สุดในทิศทางที่หนึ่ง หรือในทิศทาง ในการหมุนแบบย้อนกลับ 2
0. มอเตอร์ไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วย โรเตอร์ที่ถูกจัดเรียงให้หมุนรอบแกนของเพลาหมุน โดยที่โรเตอร์จะมีส่วนที่เป็น แม่เหล็กถาวรหลายอัน; และ เรือนแม่เหล็กถูกจัดวางไว้เพื่อให้หันเข้าหาโรเตอร์ โดยที่เรือนแม่เหล็กมีส่วนที่เป็น ส่วนเรือนแม่เหล็กหลายส่วน โดยที่แต่ละส่วนจะมีขดลวด; โดยที่ ส่วนเรือนแม่เหล็กแต่ละส่วนจากหลายส่วนจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนเรือนแม่เหล็ก สองส่วนเป็นอย่างน้อยที่รวมถึงส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีส่วนที่เป็นส่วนปลายที่หนึ่งที่ ถูกจัดเรียงให้หันเข้าหาแม่เหล็กถาวรหลายอันและส่วนปลายที่สองที่อยู่ตรงกันข้ามกับ ส่วนปลายที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง; ส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองส่วนใดส่วนหนึ่งสามารถ เคลื่อนที่ได้โดยสัมพัทธ์กับส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองอีกส่วน หนึ่งเพื่อเปลี่ยนความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งกับส่วนเรือน แม่เหล็กที่สอง; การเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองจะ เปลี่ยนฟลักซ์แม่เหล็กที่ไหลโดยผ่านโรเตอร์และเรือนแม่เหล็กระหว่างสถานะในการไหล ของฟลักซ์ แม่เหล็กที่หนึ่งและสถานะในการไหลของฟลักซ์แม่เหล็กที่สอง; สถานะในการไหลของ ฟลักซ์แม่เหล็กที่หนึ่งถูกกำหนดขอบเขตโดยความต้านทาน แม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งส่วนที่อยู่ ประชิดกันซึ่งมากกว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่สองของส่วนเรือน แม่เหล็กที่หนึ่งกับส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง โดยที่ว่าฟลักซ์แม่เหล็กระหว่างแม่เหล็กถาวรที่ อยู่กัดไปจะไหลผ่านส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันโดยผ่านส่วนเรือนแม่เหล็กที่ สองที่อยู่ประชิดกันเพื่อให้ฟลักซ์ แม่เหล็กไหลผ่านพื้นที่ว่างระหว่างส่วนปลายที่หนึ่ง ที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันได้ยาก; และ สถานะในการไหลของฟลักซ์แม่เหล็กที่สองจะถูกกำหนดขอบเขตโดยความ ต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่ อยู่ประชิดกันซึ่งน้อยกว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่สองของส่วนเรือน แม่เหล็กที่หนึ่งกับส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง โดยที่ว่าฟลักซ์แม่เหล็กระหว่างแม่เหล็กถาวรที่ อยู่ถัดไปจะไหลผ่านส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่อยู่ ประชิดกันเพื่อให้ฟลักซ์แม่เหล็กไหลผ่านส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งโดยผ่านส่วนเรือน แม่เหล็กที่สองได้ยาก 2
1. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่ในส่วนเรือนแม่เหล็กแต่ละส่วน จากหลายส่วน ผิวหน้าตอนปลายที่หนึ่งของส่วนปลายที่หนึ่งของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง จะใหญ่กว่าผิวหน้าตอนปลายที่สองของส่วนปลายที่สองของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง โดย ที่ว่าช่องว่างระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่อยู่ ประชิดกันจะเล็กกว่าช่องว่างระหว่างส่วนปลายที่สองที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือน แม่เหล็กที่หนึ่ง 2
2. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่ในส่วนเรือนแม่เหล็กแต่ละส่วน จากหลายส่วน ผิวหน้าตอนปลายที่หนึ่งของส่วนปลายที่หนึ่งของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง จะใหญ่กว่าผิวหน้าตอนปลายที่สองของส่วนปลายที่สองของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง โดย ที่ว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็ก ที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันจะน้อยกว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่สองที่อยู่ ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง 2
3. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่ในส่วนเรือนแม่เหล็กแต่ละส่วน จากหลายส่วน ผิวหน้าตอนปลายที่หนึ่งของส่วนปลายที่หนึ่งของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง จะใหญ่กว่าผิวหน้าตอนปลายที่สองของส่วนปลายที่สองของส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่ง โดย ที่ว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็ก ที่หนึ่งที่อยู่ประชิดกันจะมากกว่าความต้านทานแม่เหล็กระหว่างส่วนปลายที่หนึ่งของส่วน เรือนแม่เหล็กที่หนึ่งกับแม่เหล็กถาวรที่อยู่ประชิดกับส่วนปลายที่หนึ่งของส่วนเรือน แม่เหล็กที่หนึ่ง 2
4. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่ส่วนปลายที่สองของส่วนเรือน แม่เหล็กที่หนึ่งจะหันเข้าหาส่วนเรือนแม่เหล็กที่สอง 2
5. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่การเคลื่อนที่สัมพัทธ์ของส่วน เรือนแม่เหล็กที่สองและส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะรวมถึงการเคลื่อนที่กลับไปมาภายใน มุมที่กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้วในทิศทางในการหมุนของโรเตอร์ 2
6. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 20 โดยที่ส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะมี ส่วนที่เป็นซี่ฟันเฟืองที่หนึ่งซึ่งขดลวดถูกจัดให้มีขึ้นบนนั้น, ส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองมีส่วนที่ เป็นซี่ฟันเฟืองที่สองที่มีส่วนที่เป็นผิวหน้าตอนปลายที่หนึ่งที่หันเข้าหาส่วนปลายที่สองของ ส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งและส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองส่วนใด ส่วนหนึ่งเคลื่อนที่ในทิศทางในการหมุนของโรเตอร์หรือทิศทางที่อยู่ตรงกันข้ามกับทิศทาง ในการหมุน 2
7. มอเตอร์ไฟฟ้าดังที่ระบุในข้อถือสิทธิ 26 โดยที่มุมหมุนของส่วนเรือนแม่เหล็กที่ หนึ่งที่สัมพัทธ์กับส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองจะเล็กกว่ามุมพิทช์ที่ถูกกำหนดขอบเขตโดยซี่ ฟันเฟืองที่สองที่อยู่ประชิดกันของส่วนเรือนแม่เหล็กที่สองที่ถูกจัดเรียงในทิศทางในการ หมุนของโรเตอร์ -----------------------------------------------
1. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนที่หมุนรอบแกนของเพลาหมุนในทิศทางการหมุนที่หนึ่ง และ เรือนแม่เหล็กที่ถูกจัดวางให้หันหน้าเข้าหาตัวหมุน โดยที่ตัวหมุนและเรือนแม่เหล็กอย่างใดอย่างหนึ่งจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนอย่าง น้อยสองส่วนในทิศทางแกนซึ่งอย่างน้อยส่วนที่หนึ่งจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนจะเลื่อน ได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของทิศทางการหมุนที่หนึ่งที่ สัมพันธ์กับส่วนที่สองจากส่วนอย่างน้อยสองส่วนในลักษณะที่ว่าช่องระหว่างส่วนที่ หนึ่งและส่วนที่สองจะทำให้เกิดความต้านทานแม่เหล็กซึ่งแปรผันได้ โดยที่ส่วนที่หนึ่งจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งซึ่งมีฟันชุดที่หนึ่ง ซึ่งฟันแต่ละซี่ ของฟันชุดที่หนึ่งจะมีผิวหน้าตอนปลายที่อยู่ตรงข้ามกับตัวหมุนและผิวหน้าตอนปลาย ด้านที่สองที่หันหน้าหนีออกไปจากผิวหน้าตอนปลาย ซึ่งฟันแต่ละซี่จากฟันชุดที่หนึ่งจะมี ส่วนปลายที่หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายด้านที่สองของฟันชุดที่หนึ่ง
2. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่การเคลื่อนที่ของ ส่วนหนึ่งที่สัมพันธ์กับอีกส่วนหนึ่งจะเป็นการเคลื่อนที่กลับไปมาภายในมุมที่กำหนดไว้ ล่วงหน้า
3. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ส่วนหนึ่งและอีก ส่วนหนึ่งเป็นเรือนแม่เหล็ก โดยที่ อีกส่วนหนึ่งจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีฟันซี่ที่หนึ่งหลายซี่ที่ซึ่งผิวหน้าตอน ปลายด้านหนึ่งที่สอดคล้องจะหันหน้าเข้าหาตัวหมุน และชุดขดลวดจะพันรอบผิวหน้า ด้านข้างตามแนวเส้นรอบวงของฟันซี่ที่หนึ่งแต่ละซี่ และ ส่วนหนึ่งจะเป็นแกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่มีฟันซี่ที่สองหลายซี่ที่ซึ่งส่วนปลายที่ สอดคล้องจะถูกตั้งตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายตรงกันข้ามที่สอดคล้องที่ มีอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามโดยสัมพันธ์กับผิวหน้าตอนปลายของฟันซี่ที่หนึ่งซึ่งหันหน้าเข้า หาตัวหมุน
4. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 3 โดยที่มุมในการหมุนของ ส่วนหนึ่งที่สัมพันธ์กับอีกส่วนหนึ่งจะเล็กกว่ามุมของช่องหนีบที่ถูกจำกัดขอบเขตโดยซี่ฟัน ที่อยู่ใกล้เคียงสองซี่ของฟันซี่ที่สอง
5. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ส่วนหนึ่งและอีก ส่วนหนึ่งเป็นตัวหมุน อีกส่วนหนึ่งจะเป็นส่วนตัวหมุนที่หนึ่งที่มีชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กที่หนึ่งหลายตัว ที่ซึ่งผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่สอดคล้องจะหันหน้าเข้าหาเรือนแม่เหล็ก และ ส่วนหนึ่งจะเป็นส่วนตัวหมุนที่สองที่มีชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กที่สองหลายตัวที่ ซึ่งส่วนปลายที่สอดคล้องจะถูกตั้งตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายอีกด้าน หนึ่งที่สอดคล้องของชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามโดย สัมพันธ์กับผิวหน้าตอนปลายที่หันหน้าเข้าหาเรือนแม่เหล็ก
6. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 5 โดยที่มุมในการหมุนของ ส่วนหนึ่งที่สัมพันธ์กับอีกส่วนหนึ่งจะเล็กกว่ามุมของช่องหนีบที่ถูกจำกัดขอบเขตโดยชิ้น ประกอบที่เป็นแม่เหล็กที่อยู่ใกล้เคียงสองตัวของชิ้นประกอบที่เป็นแม่เหล็กที่สอง
7. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนที่มีส่วนที่มี หน้าตัดเป็นรูปวงแหวนที่หมุนรอบแกนของเพลาหมุน, แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีฟันซี่ที่ หนึ่งหลายซี่ซึ่งแต่ละซี่จะมีส่วนที่ซึ่งผิวหน้าตอนปลายถูกตั้งตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาส่วน ที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวน และชุดขดลวดจะพันรอบผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวงด้านข้าง ของส่วน ยกเว้นผิวหน้าตอนปลายทั้งสองด้าน และแกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่มีฟันซี่ที่สอง หลายซี่ที่ซึ่งส่วนปลายที่สอดคล้องจะถูกตั้งตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลาย อีกด้านหนึ่งที่สอดคล้องของฟันซี่ที่หนึ่งของแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีอยู่ในทิศทางตรง กันข้ามโดยสัมพันธ์กับผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่หันหน้าเข้าหาตัวหมุน โดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองจะเลื่อนได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการ หมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน
8. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7 โดยที่แกนเรือนแม่เหล็ก ที่สองจะเลื่อนได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน และยังสามารถเลื่อนได้ในทิศทางตามแนวแกนของตัวหมุน
9. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7 โดยที่ฟันซี่ที่หนึ่งแต่ละซี่ จะมีส่วนยื่นที่ติดกับผิวหน้าด้านข้างของฟันซี่ที่สองแต่ละซี่ที่ผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่ หันหน้าเข้าหาส่วนปลายด้านหนึ่งของฟันซี่ที่สองแต่ละซี่ 1
0. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7 โดยที่ส่วนล่างของฟันซี่ ที่หนึ่งแต่ละซี่ที่หันหน้าเข้าหาส่วนที่มีหน้าตัดเป็นรูปวงแหวนของตัวหมุนจะถูกแบ่งออก เป็นส่วนหนึ่งที่มีชุดขดลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวง และอีกส่วนหนึ่งที่ไม่มีชุดขด ลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวง และ ฟันซี่ที่สองจะรวมถึงส่วนที่เป็นซี่ฟันที่สอดคล้องกับส่วนของฟันซี่ที่หนึ่งที่มีชุดขด ลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวง และซี่ฟันอื่นๆที่สอดคล้องกับอีกส่วนหนึ่งของฟันซี่ที่ หนึ่งที่ไม่มีชุดขดลวดบนผิวหน้าตามแนวเส้นรอบวง 1
1. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7 โดยที่ผิวหน้าตรงข้ามที่ สอดคล้องของตัวหมุนและฟันซี่ที่หนึ่งจะถูกสร้างให้ทอดออกไปตามแนวเฉียงในลักษณะ ที่ว่า ด้านในของผิวหน้าตรงข้ามของตัวหมุนที่มีตำแหน่งใกล้กับแกนของเพลาหมุนจะหนา และด้านนอกจะมีขนาดบาง 1
2. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนทรงกระบอกที่ หมุนรอบแกนของเพลาหมุน, แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีฟันซี่ที่หนึ่งหลายซี่ที่ซึ่งผิวหน้า ตอนปลายด้านหนึ่งจะมีตำแหน่งอยู่ภายในโครงแบบรูปทรงกระบอกของตัวหมุนทรง กระบอกเพื่อให้หันหน้าเข้าหาตัวหมุน และชุดขดลวดที่พันรอบผิวหน้าด้านข้างตามแนว เส้นรอบวงของฟันซี่ที่หนึ่งแต่ละซี่ ยกเว้นผิวหน้าตอนปลายทั้งสองด้าน และแกนเรือนแม่ เหล็กที่สองที่มีฟันซี่ที่สองหลายซี่ที่ซึ่งส่วนปลายด้านหนึ่งที่สอดคล้องจะถูกตั้งตำแหน่งให้ หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายอีกด้านหนึ่งที่สอดคล้องของฟันซี่ที่หนึ่งของแกนเรือนแม่ เหล็กที่หนึ่งที่มีอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามโดยสัมพันธ์กับผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งที่หัน หน้าเข้าหาตัวหมุน โดยที่ว่าแกนเรือนแม่เหล็กที่สองจะเลื่อนได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางใน การหมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน 1
3. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ ตัวหมุนทรงกระบอกที่ มีรูปทรงเหมือนเสาซึ่งหมุนรอบแกนของเพลาหมุน, แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีฟันซี่ที่ หนึ่งหลายซี่ที่ซึ่งผิวหน้าตอนปลายด้านหนึ่งจะมีตำแหน่งอยู่ที่ด้านนอกของตัวหมุนในทิศ ทางตามแนวรัศมีเพื่อหันหน้าเข้าหาตัวหมุน และชุดขดลวดจะพันรอบผิวหน้าด้านข้าง ตามแนวเส้นรอบวงของฟันซี่ที่หนึ่งแต่ละซี่ ยกเว้นผิวหน้าตอนปลายทั้งสองด้าน และแกน เรือนแม่เหล็กที่สองที่มีฟันซี่ที่สองหลายซี่ที่ซึ่งส่วนปลายด้านหนึ่งที่สอดคล้องจะถูกตั้ง ตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาผิวหน้าตอนปลายอีกด้านหนึ่งที่สอดคล้องของฟันซี่ที่หนึ่งของ แกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งที่มีอยู่ในทิศทางตรงกันข้ามโดยสัมพันธ์กับผิวหน้าตอนปลาย ด้านหนึ่งที่หันหน้าเข้าหาตัวหมุน และส่วนปลายอีกด้านหนึ่งที่สอดคล้องกันจะถูกยึดโดย ตัวกั้น โดยที่แกนเรือนแม่เหล็กที่สองจะเลื่อนได้ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการ หมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน 1
4. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 โดยที่เมื่อ ฟันซี่ที่สองถูกตั้งตำแหน่งให้หันหน้าเข้าหาฟันซี่ที่หนึ่งทั้งหมด ความฝืดแม่เหล็กที่มีอยู่ ระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันซี่ที่สองที่หันหน้าเข้าหาฟันซี่ที่หนึ่งทั้งหมดจะมีน้อยกว่าความฝืด แม่เหล็กที่มีอยู่ระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันอีกซี่หนึ่งในชุดฟันซี่ที่หนึ่งที่อยู่ใกล้เคียงกับฟันซี่ที่ หนึ่งดังกล่าว และเมื่อฟันซี่ที่สองเลื่อนในลักษณะที่ว่าฟันซี่ที่สองถูกวางไว้ที่ตำแหน่งตรง กลางระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันอีกซี่หนึ่งในชุดฟันซี่ที่หนึ่ง ความฝืดแม่เหล็กที่ผ่านทะลุฟัน ซี่ที่สองที่มีอยู่ระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันอีกซี่หนึ่งในชุดฟันซี่ที่หนึ่งที่อยู่ใกล้เคียงกับฟันซี่ที่ หนึ่งดังกล่าวจะมีมากกว่าความฝืดแม่เหล็กที่มีอยู่ระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับและฟันอีกซี่หนึ่ง ในชุดฟันซี่ที่หนึ่งที่อยู่ใกล้เคียงกับฟันซี่ที่หนึ่งดังกล่าว 1
5. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่ความฝืดแม่ เหล็กจะสามารถปรับได้โดยใช้ระยะห่างระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันอีกซี่หนึ่งในชุดฟันซี่ที่ หนึ่งที่อยู่ใกล้เคียงกับฟันซี่ที่หนึ่งดังกล่าว หรือระยะห่างระหว่างฟันซี่ที่หนึ่งกับฟันซี่ที่สอง 1
6. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 ซึ่งยัง ประกอบด้วยกลไกที่ใช้ส่งกำลังขับดันการเคลื่อนไหวสำหรับเลื่อนแกนเรือนแม่เหล็กที่สอง ในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการหมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน 1
7. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 โดยที่การ เคลื่อนที่ของแกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่สัมพันธ์กับแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะเป็นการ เคลื่อนที่กลับไปมาภายในมุมที่กำหนดไว้ล่วงหน้าในทิศทางในการหมุนหรือทิศทางในการ หมุนแบบย้อนกลับของตัวหมุน 1
8. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 โดยที่การ เคลื่อนที่ของแกนเรือนแม่เหล็กที่สองที่สัมพันธ์กับแกนเรือนแม่เหล็กที่หนึ่งจะเป็นการ เคลื่อนที่หมุนโดยไม่ต่อเนื่องสม่ำเสมอกันในทิศทางในการหมุนของตัวหมุน 1
9. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 โดยที่ฟันซี่ ที่หนึ่งหลายซี่และชุดขดลวดจะถูกหล่อให้เป็นหน่วยเดียวกัน 2
0. เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุนที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิ 7, 12 หรือ 13 โดยที่ฟันซี่ ที่สองหลายซี่และชุดขดลวดจะถูกหล่อให้เป็นหน่วยเดียวกัน
TH501004345A 2005-09-16 เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุน TH63210B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH80357B TH80357B (th) 2006-10-12
TH80357A true TH80357A (th) 2006-10-12
TH63210B TH63210B (th) 2018-06-22

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP4551623B2 (ja) リニアアクチュエータ
TWI559651B (zh) DC motor inner and outer ring stator structure
JP4408093B2 (ja) 回転電機
TW483219B (en) Stepping motor
JP2007318860A5 (th)
JP2007318860A (ja) 回転電機
JP2006280051A (ja) 駆動装置
TH80357A (th) เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุน
JP5441584B2 (ja) 電動機
TH63210B (th) เครื่องจักรไฟฟ้าแบบหมุน
JP4807119B2 (ja) 回転電機
JP2005045978A (ja) モータ
JP4770434B2 (ja) モータ
JPWO2018123830A1 (ja) 回転電機
JP2019041551A (ja) アキシャルギャップモータ
JP2007259531A5 (th)
CN204810094U (zh) 旋转电机
JP4682819B2 (ja) モータ
JP2018196263A (ja) ロータ及びモータ
JP3797488B2 (ja) 多極回転電機
JP5737835B2 (ja) 電磁駆動装置
JP7318556B2 (ja) ロータ
JP2017028799A (ja) モータ
JP2022019030A (ja) 回転電機
JP2021016216A (ja) ステッピングモータ