TH68931B - อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ - Google Patents

อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์

Info

Publication number
TH68931B
TH68931B TH1401000299A TH1401000299A TH68931B TH 68931 B TH68931 B TH 68931B TH 1401000299 A TH1401000299 A TH 1401000299A TH 1401000299 A TH1401000299 A TH 1401000299A TH 68931 B TH68931 B TH 68931B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
period
battery
current
crankshaft
configuration
Prior art date
Application number
TH1401000299A
Other languages
English (en)
Other versions
TH1401000299B (th
TH140362A (th
Inventor
ทาคายามะ เคชิ
ทาเคชิเกะ เท็ตสึโอะ
โอซาวะ โตชิฟูมิ
นิชิ ฮัตสึชิ
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายรุทร นพคุณ
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายรุทร นพคุณ, นายรุทร นพคุณ filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH1401000299B publication Critical patent/TH1401000299B/th
Publication of TH140362A publication Critical patent/TH140362A/th
Publication of TH68931B publication Critical patent/TH68931B/th

Links

Abstract

หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ เพื่อที่จะตรวจหาสถาานภาพของแบตเตอรี่โดยการใช้ประโยชน์การขับการหมุนย้อนกลับ ของเพลาข้อเหวี่ยง ณ เวลาที่สตาร์ทเครื่องยนต์ อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ 10 จะมี ECU 36 ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบเพื่อที่จะ ดำเนินการ ในการสตาร์ทเครื่องยนต์ E ควบคุมการโยกกลับที่ซึ่งมอเตอร์ 70 ที่ได้รับการขับโดยที่มี พื้นฐานจากกระแสแหล่งจ่ายจากแบตเตอรี่ 96 นั้นจะขับเพลาข้อเหวี่ยง 48 ในทิศทางการหมุน ย้อนกลับ และหลังจากการขับในทิศทางการหมุนย้อนกลับ จะขับเพลาข้อเหวี่ยง 48 ในทิศทาง การหมุนปกติ ECU 36 จะมี ตัวควบคุมแหล่งจ่าย 128 ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบเพื่อ ตั้งค่าอัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่หนึ่ง T1 ให้เป็นค่า ที่มากขึ้นที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่สอง T2 คาบเวลาที่หนึ่ง T1 ที่ขยายจากจุดเวลาที่ซึ่งการหมุน ย้อนกลับของเพลาข้อเหวี่ยง 48 ได้รับการเริ่มต้นจนถึงจุดเวลาที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า คาบเวลาที่สอง T2 ที่ขยายจากจุดเวลาที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า; และหน่วยการกำหนดหาสถานภาพแบตเตอรี่ 126 ที่ ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบเพื่อกำหนดหาสถานภาพของแบตเตอรี่ 96 โดยที่มีพื้นฐานจาก สภาพของแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ 96 ในคาบเวลาที่หนึ่ง T1 :

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :หน้า 1 ของจำนวน 4 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ที่ประกอบรวมด้วยตัวควบคุม (36) ที่ได้รับการสร้าง ขึ้นมาในโครงแบบเพื่อที่จะดำเนินการ เมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์ (E) ควบคุมการโยกกลับที่ซึ่งมอเตอร์ (70) ที่ได้รับการขับโดยที่มีพื้นฐานบนกระแสแหล่งจ่ายจากแบตเตอรี่ (96) นั้นจะขับเพลาข้อเหวี่ยง (48) ในทิศทางการหมุนย้อนกลับ และหลังจากการขับในทิศทางการหมุนย้อนกลับ จะขับ เพลาข้อเหวี่ยง (48) ในทิศทางการหมุนปกติ ที่ซึ่ง ตัวควบคุม (36) มี ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบเพื่อตั้งค่ากระแส หรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้เป็นค่า ที่มากกว่าค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่สอง (T2) คาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ที่ขยายจากจุดเวลาที่ซึ่งการหมุนย้อนกลับของเพลาข้อเหวี่ยง (48) ได้รับ การเริ่มต้นจนถึงจุดเวลาที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า คาบเวลาที่สอง (T2) ที่ขยายจากจุดเวลาที่ได้กำหนด ไว้ล่วงหน้า หน่วยการกำหนดหาสถานภาพแบตเตอรี่ (126) ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบ เพื่อกำหนดหาสถานภาพของแบตเตอรี่ (96) โดยที่มีพื้นฐานบนสภาพของแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) และ ตัวทำให้ได้มาซึ่งแรงดันไฟฟ้าแบตเตอรี่ (116) ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบ เพื่อตรวจหาและจัดเก็บค่าแรงดันไฟฟ้าจำนวนหนึ่งของแบตเตอรี่ (96) อย่างน้อยที่สุดในคาบเวลาที่ หนึ่ง (T1) ตัวทำให้ได้มาซึ่งแรงดันไฟฟ้าแบตเตอรี่ (116) ตั้งช่วงเวลาของการตรวจหาค่า แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้สั้นกว่าช่วงเวลาของการตรวจหาค่า แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่สอง (T2) และ หน่วยการกำหนดหาสถานภาพแบตเตอรี่ (126) ตั้งขีดเริ่มเปลี่ยนการตัดสินว่ามี แบตเตอรี่ตํ่าสำหรับการกำหนดหาความผิดปกติของแบตเตอรี่ (96) ที่มีพื้นฐานบนอุณหภูมิน้ำของ เครื่องยนต์ (E) เปรียบเทียบค่าแรงดันไฟฟ้าที่ตํ่าที่สุดในค่าแรงดันไฟฟ้าจำนวนหนึ่งที่ได้รับ การตรวจหาในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) กับขีดเริ่มเปลี่ยนการตัดสินว่ามีแบตเตอรี่ตํ่า และเมื่อค่า แรงดันไฟฟ้าแบตเตอรี่ที่ตํ่าที่สุดไม่สูงกว่าขีดเริ่มเปลี่ยนการตัดสินว่ามีแบตเตอรี่ตํ่า จะกำหนดหาว่า แบตเตอรี่ (96) อยู่ในสภาพไม่ปกติ หน้า 2 ของจำนวน 4 หน้า
2. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ที่ประกอบรวมด้วยตัวควบคุม (36) ที่ได้รับการสร้าง ขึ้นในโครงแบบให้ดำเนินการ เมื่อสตาร์ทเครื่องยนต์ (E) ควบคุมการโยกกลับที่ซึ่งมอเตอร์ (70) ที่ ได้รับการขับโดยมีพื้นฐานบนกระแสแหล่งจ่ายจากแบตเตอรี่ (96) นั้นจะขับเพลาข้อเหวี่ยง (48) ใน ทิศทางการหมุนย้อนกลับ และหลังจากการขับในทิศทางการหมุนย้อนกลับ จะขับเพลาข้อเหวี่ยง (48) ในทิศทางการหมุนปกติ ที่ซึ่ง ตัวควบคุม (36) มี ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบเพื่อตั้งค่ากระแส หรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้เป็นค่า ที่มากกว่าค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่สอง (T2) คาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ที่ขยายจากจุดเวลาที่ซึ่งการหมุนย้อนกลับของเพลาข้อเหวี่ยง (48) ได้รับ การเริ่มต้นจนถึงจุดเวลาที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า คาบเวลาที่สอง (T2) ที่ขยายจากจุดเวลาที่ได้กำหนด ไว้ล่วงหน้า หน่วยประมวลผลการขับมอเตอร์ (130) ที่ได้รับการสร้างขึ้นในโครงแบบเพื่อหมุน เพลาข้อเหวี่ยง (48) ในทิศทางการหมุนปกติ ตัวควบคุมการโยกกลับ (120) ที่ได้รับการสร้างขึ้นในโครงแบบเพื่อสั่งหน่วย ประมวลการขับมอเตอร์ (130) เพื่อสับเปลี่ยนเพลาข้อเหวี่ยง (48) ให้เป็นการขับการหมุนปกติหลัง คาบเวลาที่สอง (T2) หน่วยการกำหนดหาสถานภาพแบตเตอรี่ (126) ที่ได้รับการสร้างขึ้นในโครงแบบให้ กำหนดหาสถานภาพของแบตเตอรี่ (96) โดยมีพื้นฐานบนสภาพของแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) และ ตัวทำให้ได้มาซึ่งแรงดันไฟฟ้าแบตเตอรี่ (116) ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาในโครงแบบ เพื่อตรวจหาและจัดเก็บค่าแรงดันไฟฟ้าจำนวนหนึ่งของแบตเตอรี่ (96) อย่างน้อยที่สุดในคาบเวลาที่ หนึ่ง (T1) และ ตัวทำให้ได้มาซึ่งแรงดันไฟฟ้าแบตเตอรี่ (116) ตั้งช่วงเวลาของการตรวจหาค่า แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้สั้นกว่าช่วงเวลาของการตรวจหาค่า แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (96) ในคาบเวลาที่สอง (T2) และ
3. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่ง หน้า 3 ของจำนวน 4 หน้า ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ ได้รับการใช้จากตอนสิ้นสุดของคาบเวลาที่สอง (T2) ต่อช่วงเวลาที่สาม (T3) ซึ่งระหว่างนั้น เพลาข้อเหวี่ยง (48) ได้รับการขับในทิศทางการหมุนปกติ ให้มากกว่าค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำ หน้าที่ของกระแสแหล่งจ่ายที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่สอง (T2)
4. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่ง คาบเวลาที่สาม (T3) นั้นยาวกว่าคาบเวลาที่หนึ่ง (T1)
5. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ที่ได้รับการใช้ใน คาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้เป็นค่าซึ่งทำให้ลูกสูบของเครื่องยนต์ (E) เคลื่อนถึงเกินกว่าศูนย์ตายบน ซึ่ง ถูกสูบเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเมื่อเพลาข้อเหวี่ยง (48) ได้รับการขับในทิศทางการหมุนย้อนกลับ
6. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่ง ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ที่ได้รับการใช้ใน คาบเวลาที่สอง (T2) ให้เป็นค่าซึ่งไม่ทำให้ลูกสูบเคลื่อนถึงเกินกว่าศูนย์ตายบน
7. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่ง ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่าขีดเริ่มเปลี่ยนสำหรับค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ ของกระแสแหล่งจ่ายที่มีพื้นฐานจากอุณหภูมิของน้ำหรือตำแหน่งลิ้นปีกผีเสื้อของเครื่องยนต์ (E) และ ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ที่ได้รับการใช้ ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1) ให้เป็นค่าที่มากกว่าขีดเริ่มเปลี่ยน และตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการ ทำหน้าที่ที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่สอง (T2) ให้เป็นค่าที่น้อยกว่าขีดเริ่มเปลี่ยน
8. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวควบคุมแหล่งจ่าย (128) ตั้งค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำหน้าที่ที่ได้รับการใช้เมื่อสตาร์ท การขับในทิศทางการหมุนปกติให้เป็นค่าซึ่งเท่ากันอย่างเป็นสำคัญกับค่ากระแสหรืออัตราส่วนการทำ หน้าที่ที่ได้รับการใช้ในคาบเวลาที่หนึ่ง (T1)
9. อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ (10) ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวควบคุม (36) มีตัวควบคุมการดับและสตาร์ทเครื่องยนต์อัตโนมัติ (124) ที่ได้รับการสร้าง ขึ้นมาในโครงแบบเพื่อดำเนินการควบคุมการดับและสตาร์ทเครื่องยนต์อัตโนมัติซึ่งทำให้เครื่องยนต์ (E) ดับอย่างอัตโนมัติในขณะที่ยานพาหนะหยุดชั่วคราว และ หน้า 4 ของจำนวน 4 หน้า ตัวควบคุม (36) ห้ามการปฏิบัติการของตัวควบคุมการดับและสตาร์ทเครื่องยนต์อัตโนมัติ (124) ถ้าหน่วยการกำหนดหาสถานภาพแบตเตอรี่ (126) กำหนดหาว่าแบตเตอรี่ (96) อยู่ในสภาพไม่ ปกติ
TH1401000299A 2014-01-20 อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์ TH68931B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH1401000299B TH1401000299B (th) 2015-04-27
TH140362A TH140362A (th) 2015-04-27
TH68931B true TH68931B (th) 2019-03-22

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU2016116004A (ru) Устройство управления запуском и способ управления запуском для гибридного транспортного средства
RU2012129297A (ru) Транспортное средство с системой блокировки автоматической остановки двигателя на основании потребления электрического тока
RU2016116282A (ru) Гибридное транспортное средство
JP2016009657A5 (th)
RU2012126020A (ru) Система и способ управления электроусилителем рулевого управления
EP2564984A3 (en) Electric power tool
RU2008146058A (ru) Устройство приведения в движение нагрузки, транспортное средство, включающее в себя его, и способ управления для устройства приведения в движение нагрузки
RU2012141659A (ru) Электроприводной инструмент
JP2012157141A5 (th)
JP2013122310A (ja) ハイブリッド車両の電動式オイルポンプ制御方法
PH12019502005A1 (en) Engine start control device
JP2009273334A5 (th)
JP2015217859A5 (th)
JP2018026349A5 (th)
TH68931B (th) อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์
JP5910943B2 (ja) バッテリレスエンジンの点火装置
TH140362A (th) อุปกรณ์ควบคุมเครื่องยนต์
US20160160782A1 (en) Method of diagnosing electronic water pump of engine
JP5912339B2 (ja) ファン制御装置
JP2014043811A5 (th)
RU2012132237A (ru) Транспортное средство с системой управления выходным напряжением генератора переменного тока или встроенного стартера-генератора
JP2013173408A (ja) 制御装置
JP2019027367A5 (th)
WO2018072788A3 (de) Verfahren zur steuerung eines antriebsstrangs eines kraftfahrzeugs
TH165202A (th) หน่วยเครื่องยนต์และยานพาหนะ