TH60042B - ยานพาหนะ - Google Patents

ยานพาหนะ

Info

Publication number
TH60042B
TH60042B TH1401003969A TH1401003969A TH60042B TH 60042 B TH60042 B TH 60042B TH 1401003969 A TH1401003969 A TH 1401003969A TH 1401003969 A TH1401003969 A TH 1401003969A TH 60042 B TH60042 B TH 60042B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
rebound
wheels
dampers
acceleration
vibration
Prior art date
Application number
TH1401003969A
Other languages
English (en)
Other versions
TH149917A (th
TH1401003969B (th
Inventor
ยาบุโมโตะ นายฮิโรคาซุ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH149917A publication Critical patent/TH149917A/th
Publication of TH1401003969B publication Critical patent/TH1401003969B/th
Publication of TH60042B publication Critical patent/TH60042B/th

Links

Abstract

DC60 (09/07/57) ค่าคงที่สปริงของแต่ละสี่สปิงกันสะเทือน และการรับน้ำหนักร่วมกันบนแต่ละสี่ล้อถูกปรับ เพื่อให้ความถี่่การสั่นพ้องที่ดีดตัว โอเมกาFr ที่สอดคล้องกับสองล้อหน้า 12FR, 12FL และความถี่การสั่น พ้องที่ดีดตัว โอเมกาRr ที่สอดคล้องกับสองล้อหลัง 12RR, 12RL แตกต่างจากกันและกัน จากในระหว่างสี่ ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน 32, เพียงแค่สองตัวหน่วงการสั่นสะเทือน 32RR, 32RL ซึ่งถูกจัดไว้ สอดคล้องกับสองล้อของความถี่การสั่นพ้องที่ดีดตัวที่ถูกลดลง, จากในระหว่างสองล้อหน้า 12FR, 12FL และสองล้อหลัง 12RR, 12RL, มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงตามลำดับซึ่ง เปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงที่ใช้เป็นการอ้างอิงของขนาดของแรงหน่วงที่ถูกสร้างขึ้นโดยสอง ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน พฤติกรรมของตัวถังยานพาหนะทั้งหมดสามารถถูกควบคุมอย่างมี ประสิทธิผลโดยการควบคุมแรงหน่วงที่ถูกกระทำต่อการเคลื่อนที่ที่มากโดยเทียบเคียงของส่วนที่ดีด ตัวที่สอดคล้องกับสองล้อเหล่านี้ 12RR, 12RL ดังนั้น, ยานพาหนะที่มีทั้งความเสถียรในการบังคับ เลี้ยวที่ถูกส่งเสริมขึ้น และคุณภาพในการขับขี่ที่ถูกส่งเสริมขึ้นสามารถถูกจัดวางโครงสร้างที่ไม่แพง โดยเทียบเคียง

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 21/07/2559 1. ยานพาหนะ, ซึ่งประกอบรวมด้วย สี่ล้อที่เป็นสองล้อหน้าที่ถูกจัดวางบนด้านหน้าของยานพาหนะ และสองล้อหลังที่ถูกจัดวาง บนด้านหลังของยานพาหนะ สี่สปริงกันสะเทือนที่ถูกจัดไว้สอดคล้องกับสี่ล้อ, แต่ละสปริงกันสะเทือนเชื่อมต่อส่วนที่ดีด ตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัวอย่างยืดหยุ่นได้ที่สอดคล้องกับแต่ละสปริงกันสะเทือน และ สี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่ถูกจัดไว้สอดคล้องกับสี่ล้อ, แต่ละตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่ สร้างแรงหน่วงที่ถูกกระทำต่อการเคลื่อนที่เข้าใกล้ และแยกออกของส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัว ที่สอดคล้องกับแต่ละตัวหน่วงการสั่นสะเทือน ที่ซึ่ง ค่าคงที่สปริงของแต่ละสี่สปริงกันสะเทือน และการรับน้ำหนักร่วมกันบนแต่ละสี่ล้อที่ถูก ปรับในลักษณะที่ว่าความถี่การลั่นพ้องที่ดีดตัวด้านล้อหน้าที่สอดคล้องกับสองล้อด้านหน้า และ ความถี่การสั่นพ้องที่ดีดตัวด้านล้อหลังที่สอดคล้องล้อด้านหลังแตกต่างจากกันและกัน; และ จากในระหว่างสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน, เพียงแค่สองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนซึ่งถูกจัดไว้ ที่สอดคล้องกับสองล้อที่มีความถี่การสั่นพ้องที่ดีดตัวที่ถูกลดลง, จากในระหว่างสองล้อหน้า และสอง ล้อหลัง, มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงตามลำดับซึ่งเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การ หน่วงซึ่งใช้เป็นการอ้างอิงของขนาดของแรงหน่วงที่ถูกสร้างขึ้นโดยสองตัวหน่วงการสั่นสะเทือน 2. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ค่าคงที่สปริงของแต่ละสี่สปริงกันสะเทือน และการรับน้ำหนักร่วมกันกันบนแต่ละสี่ล้อถูกปรับ ในลักษณะที่ว่าความถี่การสั่นพ้องที่ดีดตัวด้านล้อหลังต่ำกว่าความถี่การสั่นพ้องที่ดีดตัวด้านล้อหน้า และ เพียงแค่สองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่สอดคล้องกับสองล้อหลัง, จากในระหว่างสี่ตัวหน่วง การสั่นสะเทือน, มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วง 3. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง แต่ละสองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วง, จากใน ระหว่างสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน, เป็นตัวหน่วงการสั่นสะเทือนประเภทไฮดรอลิคที่มี (A) ตัวเรือนซึ่งถูกเชื่อมต่อกับหนึ่งในส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัว และซึ่งรองรับของ ไหลที่ใช้งาน (B) ลูกสูบซึ่งแบ่งภายในของตัวเรือนไปเป็นสองห้องของไหลที่ใช้งาน และซึ่งสามารถเลื่อน ผ่านภายในของตัวเรือน (C) ก้านสูบซึ่งมีหนึ่งส่วนปลายที่ถูกเชื่อมต่อกับลูกสูบ และส่วนปลายอื่นที่ทอดออกจาตัว เรือน และถูกเชื่อมต่อกับปลายอื่นของส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัว (D) กลไกที่ยอมให้มีการไหลเวียนของไหลที่ใช้งานซึ่งถูกจัดไว้ในลูกสูบ และยอมให้มีการ ไหลเวียนของไหลที่ใช้งานระหว่างสองห้องของไหลที่ใช้งาน, ที่เป็นผลลัพธ์จากการเลื่อนของลูกสูบ, ในสภาพของการออกแรงความต้านทานต่อการไหลเวียน และ (E) กลไกการเปลี่ยนแปลงความต้านทานการไหลซึ่งทำหน้าที่เป็นกลไกการเปลี่ยนแปลง สัมประสิทธิ์การหน่วง, โดยถูกจัดวางโครงสร้างเพื่อเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงผ่านการ เปลี่ยนแปลงของขนาดความต้านทานซึ่งกลไกที่ยอมให้มีการไหลเวียนของไหลที่ใช้งานออกแรงต้าน การไหลเวียนของของไหลที่ใช้งาน 4. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง แต่ละสองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงจากใน ระหว่างสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน, เป็นตัวหน่วงการสั่นสะเทือนประเภทแม่เหม็กไฟฟ้าซึ่งมีมอเตอร์ แม่เหล็กไฟฟ้า และซึ่งกำเนิดแรงที่เข้าใกล้ และแยกออก, ซึ่งเป็นแรงที่ขึ้นอยู่กับแรงที่ถูกกำหนดโดย มอเตอร์แม่เหล็กไฟฟ้า และซึ่งถูกกระทำต่อส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัวที่สอดคล้องกับตัวหน่วง การสั่นสะเทือนเพื่อดึงส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัวใกล้ชิด หรือห่างออกจากกันและกัน และ กลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงถูกจัดวางโครงสร้างในลักษณะที่ว่าเมื่อทำการ กำเนิดแรงเข้าใกล้ และแยกออกเป็นแรงหน่วง, แร่งหน่วงถูกกำหนดโดยผลคูณของความเร็วของการ เคลื่อนที่เข้าใกล้ และแยกออกของส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัว และอัตราการขยายที่สอดคล้อง กับสิ่งนั้น และถูกจัดวางโครงสร้างในลักษณะที่ว่าอัตราการขยายสามารถถูกเปลี่ยนแปลง 5. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่ง แต่ละสองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนจากในระหว่างสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน, ที่ไม่รวมถึง สองตัวหน่วงการสั่นสะเทือนที่มีกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วง เป็นตัวหน่วงการสั่นสะเทือนประเภทไฮดรอลิคในที่ซึ่งสัมประสิทธิ์การหน่วงไม่สามารถถูก เปลี่ยนแปลง 6. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วย อุปกรณ์ควบคุมซึ่งควบคุมกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงของแต่ละสองตัว หน่วงการสั่นสะเทือนจากในระหว่างสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน ที่ซึ่ง อุปกรณ์ควบคุมถูกจัดวางโครงสร้าง เพื่อแบ่งการสั่นสะเทือนที่ถูกสร้างขึ้นในตัวถังยานพาหนะไปเป็นส่วนประกอบการ สั่นสะเทือนการขึ้นลง, ส่วนประกอบการสั่นสะเทือนการหมุน และส่วนประกอบสั่นสะเทือนการ เหวี่ยง, แต่ละส่วนของมันซึ่งเป็นหนึ่งส่วนประกอบของการสั่นสะเทือน, เพื่อกำหนดแรงหน่วง เป้าหมาย, ซึ่งเป็นแรงหน่วงที่ถูกกำเนิดโดยแต่ละสี่ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน, ตามความสอดคล้องกับ กฎการควบคุมในลักษณะที่ว่าแต่ละส่วนประกอบการสั่นสะเทือนถูกหน่วงโดยสี่ตัวหน่วง การ สั่นสะเทือนที่กระกำร่วมกัน และ เพื่อควบคุมกลไกการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงของแต่ละสองตัวหน่วงการ สั่นสะเทือนเพื่อกระทำการเปลี่ยนแปลงสัมประสิทธิ์การหน่วงตามแรงหน่วงเป้าหมายที่สอดคล้องกัน 7. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่ง อุปกรณ์ควบคุมถูกจัดวางโครงสร้างเพื่อกำหนดแรงหน่วงเป้าหมายตามกฏการควบคุมในการ ใช้ของสภาพป้อนกลับที่มีการเร่งความเร็วการขึ้นลงซึ่งเป็นการเร่งความเร็วของตัวถังยานพาหนะใน ทิศทางด้านบน-ด้านล่าง, การเร่งความเร็วการหมุนซึ่งเป็นการเร่งความเร็วเชิงมุมของตัวถัง ยานพาหนะโดยรอบแกนของทิศทางด้านหน้า-ด้านหลัง และการเร่งความเร็วการเหวี่ยงซึ่งเป็นการเร่ง ความเร็วเชิงมุมของตัวถังยานพาหนะโดยรอบแกนของทิศทางซ้าย-ขวา, เป็นการส่งออกการควบคุม, เพื่อควบคุมการเร่งความเร็วการขึ้นลง, การเร่งความเร็วการหมุน และการเร่งความเร็วการเหวี่ยง 8. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 7 ที่ซึ่งกฎการควบคุมตรงกันกับทฤษฎีการควบคุม Hoo ที่ไม่ เป็นเชิงเส้นตรง 9. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 7 ที่ซึ่ง กฎการควบคุมตามที่ซึ่งการควบคุมป้อนกลับถูกกระทำซึ่งถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของสมการ ที่กล่าวถึงซึ่งถูกได้มาบนพื้นฐานของสมการของการเคลื่อนที่ของตัวถังยานพาหนะทิศทางด้านบน- ด้านล่าง, สมการของการเคลื่อนที่ของตัวถังยานพาหนะโดยรอบแกนของทิศทางด้านหน้า-ด้านหลัง และสมการของการเคลื่อนที่ของตัวถังยานพาหนะโดยรอบแกนของทิศทางด้านซ้ายและขวา 1 0. ยานพาหนะตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 7 ที่ซึ่ง อุปกรณ์ควบคุมถูกจัดวางโครงสร้างเพื่อใช้, เป็นปริมาณที่กำหนดในการควบคุมการ ป้อนกลับที่กำหนด, (a) ความเร็วที่ดีดตัวซึ่งเป็นความเร็วการเร่งความเร็วของส่วนที่ดีดตัวในทิศทาง ด้านบน-ด้านล่าง, (b) ความเร็วที่ดีดตัวซึ่งเป็นความเร็วของส่วนที่ดีดตัวในทิศทางด้านบน-ด้านล่าง, (c) ปริมาณการเคลื่อนที่โดยสัมพันธ์ระหว่างส่วนที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัวในทิศทางการเข้าใกล้ และแยกออก และ (d) ความเร็วโดยสัมพันธ์ระหว่างที่ดีดตัว และส่วนที่ไม่ดีดตัวในทิศทางการ เข้าใกล้ และแยกออก, ที่สอดคล้องกับแต่ละสี่ล้อ 1
1. ยานพาหนะตามข้อถือสิทธิที่ 10 ซึ่งประกอบรวมต่อไปด้วย สามตัวรับรู้การเร่งความเร็วแนวตั้งที่รวมถึงสองตัวรับรู้ซึ่งตรวจจับการเร่งความเร็วแนวตั้งที่ ดีดตัว, ซึ่งเป็นการเร่งความเร็วของส่วนที่ดีดตัวในทิศทางด้านบน-ด้านล่าง, ที่สอดคล้องกับแต่ละสอง ล้อหน้า และตัวรับรู้ซึ่งตรวจจับการเร่งความเร็ว, ในทิศทางด้านบน-ด้านล่าง, ของบางส่วนของตัวถัง ยานพาหนะที่ถูกวางตำแหน่งระหว่างสองล้อหลัง ที่ซึ่งอุปกรณ์ควบคุมถูกจัดวางโครงสร้างเพื่อคำนวณการเร่งความเร็วที่ดีดตัว และความเร็วที่ ดีดตัวที่สอดคล้องกับแต่ละสองล้อหลังบนพื้นฐานของผลลัพธ์การตรวจจับโดยสามตับรู้การเร่ง ความเร็วแนวตั้ง ------------------------------------------------
TH1401003969A 2012-01-11 ยานพาหนะ TH60042B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH149917A TH149917A (th) 2016-05-10
TH1401003969B TH1401003969B (th) 2016-05-10
TH60042B true TH60042B (th) 2018-01-15

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US20210260951A1 (en) Suspension with hydraulic preload adjust
KR102414888B1 (ko) 서스펜션 제어 장치
JP4546307B2 (ja) 可変減衰力ダンパーの制御装置
CN104039569B (zh) 车辆
EP3734107B1 (en) Twin tube shock with adjustable pressure regulation
US20060224286A1 (en) Control system for adjustable damping force damper
WO2012063657A1 (ja) サスペンション装置
US10343477B2 (en) Shock absorber-equipped vehicle
KR102589031B1 (ko) 액티브 서스펜션 제어유닛 및 액티브 서스펜션 제어방법
CN102325662A (zh) 衰减力控制装置
JP5021348B2 (ja) 減衰力可変ダンパの制御装置
JP2011016382A (ja) 車両の減衰力制御装置
TH60042B (th) ยานพาหนะ
JP5162283B2 (ja) 減衰力可変ダンパの制御装置および制御方法
TH149917A (th) ยานพาหนะ
JP4515240B2 (ja) 車両用懸架装置の制御装置
JP2010095210A (ja) 車両のサスペンション装置
JP2006273225A (ja) 可変減衰力ダンパーの制御装置
JP4987762B2 (ja) 減衰力可変ダンパの制御装置
JP2006273219A (ja) 可変減衰力ダンパーの制御装置
JP2006088739A (ja) 可変減衰力ダンパー
JP2008230285A (ja) 減衰力可変ダンパの制御装置
JP2006076319A (ja) 可変減衰力ダンパー
JP2011016389A (ja) 減衰力可変ダンパの制御装置
JP2010111208A (ja) サスペンション装置