TH58314C3 - ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง - Google Patents

ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง

Info

Publication number
TH58314C3
TH58314C3 TH1401003934A TH1401003934A TH58314C3 TH 58314 C3 TH58314 C3 TH 58314C3 TH 1401003934 A TH1401003934 A TH 1401003934A TH 1401003934 A TH1401003934 A TH 1401003934A TH 58314 C3 TH58314 C3 TH 58314C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
torque
motor
shaft
workpiece
powertrain
Prior art date
Application number
TH1401003934A
Other languages
English (en)
Other versions
TH160629A3 (th
Inventor
เคนเกะ
มาซายาสุ
อาคิยามะ
ทาคาโอะ
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายรุทร นพคุณ filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH160629A3 publication Critical patent/TH160629A3/th
Publication of TH58314C3 publication Critical patent/TH58314C3/th

Links

Abstract

DC60 (21/03/60) การประดิษฐ์นี้จัดให้มีระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังที่สามารถก่อเกิดทอร์กขับที่มากได้ โดยไม่เพิ่มขนาดของมอเตอร์ที่จำลองแบบเครื่องยนต์ขึ้น ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง (1) ส่งเข้า ทอร์กขับซึ่งได้รับการก่อเกิดขึ้นโดยสอดคล้องตามคำสั่งงานทอร์กที่มีส่วนประกอบกระแสสลับที่มี ความถี่การกระตุ้นเข้าในเพลาด้านเข้า (S1) ของชิ้นงาน (w) เพื่อการประเมินค่าสมรรถนะของชิ้นงาน (w) ดังกล่าว ระบบ (1) นี้ได้รับการติดตั้งไว้ด้วยมอเตอร์ที่หนึ่ง (2a) มอเตอร์ที่สอง (2b) มาตรทอร์ก (6) เพื่อตรวจจับทอร์กที่กระทำบนเพลาระหว่างชิ้นงานและมอเตอร์ที่สอง และวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์ (5) ที่แบ่งคำสั่งงานทอร์กออกเป็นคำสั่งงานทอร์กที่หนึ่งและคำสั่งงานทอร์กที่สองเพื่อยับยั้ง เรโซแนนซ์การบิด โดยมีพื้นฐานบนค่าที่ตรวจพบโดยมาตรทอร์ก (6) แก้ไข 21/03/2560 การประดิษฐ์นี้จัดให้มีระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังที่สามารถก่อเกิดทอร์กขับที่มากได้ โดยไม่เพิ่มขนาดของมอเตอร์ที่จำลองแบบเครื่องยนต์ขึ้น ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง (1) ส่งเข้า ทอร์กขับซึ่งได้รับการก่อเกิดขึ้นโดยสอดคล้องตามคำสั่งงานทอร์กที่มีส่วนประกอบกระแสสลับที่มี ความถี่การกระตุ้นเข้าในเพลาด้านเข้า (S1) ของชิ้นงาน (w) เพื่อการประเมินค่าสมรรถนะของชิ้นงาน (w) ดังกล่าว ระบบ (1) นี้ได้รับการติดตั้งไว้ด้วยมอเตอร์ที่หนึ่ง (2a) มอเตอร์ที่สอง (2b) มาตรทอร์ก (6) เพื่อตรวจจับทอร์กที่กระทำบนเพลาระหว่างชิ้นงานและมอเตอร์ที่สอง และวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์ (5) ที่แบ่งคำสั่งงานทอร์กออกเป็นคำสั่งงานทอร์กที่หนึ่งและคำสั่งงานทอร์กที่สองเพื่อยับยั้ง เรโซแนนซ์การบิด โดยมีพื้นฐานบนค่าที่ตรวจพบโดยมาตรทอร์ก (6) -------------------------------------------------------

Claims (8)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 21/03/2560
1. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง (drive-train) เพื่อการประเมินค่าลักษณะเฉพาะของชิ้นงาน โดยการส่งเข้าทอร์กขับ, ซึ่งได้รับการก่อเกิดขึ้นโดยสอดคล้องตามคำสั่งงานทอร์กที่รวมถึง ส่วนประกอบกระแสสลับของความถี่การกระตุ้น, เข้าไปในเพลาด้านเข้าของชิ้นงานที่สร้างขึ้นเป็น ส่วนหนึ่งของขบวนส่งกำลัง, ซึ่งระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังประกอบรวมด้วย: มอเตอร์ที่หนึ่ง; มอเตอร์ที่สอง, ซึ่งด้านปลายหนึ่งของเพลาขับของมอเตอร์นั้นได้รับการเชื่อมต่อกับเพลาขับ ของมอเตอร์ที่หนึ่ง, และด้านปลายอื่นของเพลาขับของมอเตอร์นั้นได้รับการเชื่อมต่อกับเพลาด้านเข้า ของชิ้นงาน; วิถีทางตรวจจับทอร์กเพลาเพื่อตรวจจับทอร์กที่กระทำบนเพลาระหว่างชิ้นงานและมอเตอร์ ที่สอง; และ วงจรยับยั้งเรโซแนนซ์เพื่อการแบ่งคำสั่งงานทอร์กออกเป็นคำสั่งงานทอร์กที่หนึ่งสำหรับ มอเตอร์ที่หนึ่ง และคำสั่งงานทอร์กที่สองสำหรับมอเตอร์ที่สอง, โดยมีพื้นฐานบนค่าที่ตรวจพบของ วิถีทางตรวจจับทอร์กเพลา, เพื่อยับยั้งเรโซแนนซ์การบิดของแกนที่เชื่อมต่อมอเตอร์ที่หนึ่ง, มอเตอร์ ที่สอง และชิ้นงาน
2. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์ได้รับการกำหนดขึ้น, ซึ่งในนั้นนอมินัลแพลนต์คือแบบจำลอง ระบบทางกลของระบบสามความเฉื่อยที่มีฟังก์ชันถ่ายโอนซึ่งถูกกำหนดลักษณะเฉพาะโดย: โมเมนต์ ของความเฉื่อยของมอเตอร์ที่หนึ่ง; โมเมนต์ของความเฉื่อยของมอเตอร์ที่สอง; โมเมนต์ของความเฉื่อย ของชิ้นงาน; ค่าคงที่สปริงของแกนเชิงบิดที่เชื่อมต่อมอเตอร์ที่หนึ่งและมอเตอร์ที่สอง; และค่าคงที่ สปริงของแกนเชิงบิดที่เชื่อมต่อมอเตอร์ที่สองและชิ้นงาน, และ ที่ซึ่งวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์ได้รับการออกแบบขึ้นโดยการประยุกต์ใช้วิธีการออกแบบระบบ ควบคุม, ซึ่งได้รับการอ้างอิงถึงเป็นการควบคุม H (สูตร) หรือการสังเคราะห์ (สูตร), ให้กับเจเนอรัลไลซ์ แพลนต์ดังกล่าว
3. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2, ที่ประกอบรวมต่อไปอีกด้วย: อินเวอร์เทอร์ที่หนึ่งเพื่อจ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ที่หนึ่ง,โดยสอดคล้องตามคำสั่งงาน ทอร์กที่หนึ่งที่ได้รับการคำนวณโดยวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์; และ อินเวอร์เทอร์ที่สองเพื่อจ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ที่สอง,โดยสอดคล้องตามคำสั่งงาน ทอร์กที่สองที่ได้รับการคำนวณโดยวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์นั้นรวมถึงความผิดพลาดการควบคุมของอินเวอร์เทอร์ที่หนึ่ง, ความผิดพลาดการควบคุมของอินเวอร์เทอร์ที่สอง, และความผิดพลาดที่ตรวจพบของวิถีทางตรวจจับ ทอร์กเพลา, ในฐานะที่เป็นการรบกวน, และ ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์รวมถึงผลลัพธ์ของการถ่วงน้ำหนักผลต่างระหว่างคำสั่งงานทอร์ก ที่ถูกถ่วงน้ำหนัก และผลรวมของคำสั่งงานทอร์กที่หนึ่งและคำสั่งงานทอร์กที่สอง, และผลลัพธ์ของ การถ่วงน้ำหนักเอาต์พุตของฟังก์ชันถ่ายโอนที่มีลักษณะเฉพาะของวิถีทางตรวจจับทอร์กเพลา, ในฐานะที่เป็นตัวแปรที่ถูกควบคุม
4. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 3, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์รวมถึงผลลัพธ์ของการถ่วงน้ำหนักทอร์กเพลาระหว่างมอเตอร์ ที่หนึ่ง และมอเตอร์ที่สอง, ซึ่งได้รับการส่งออกมาจากนอมินัลแพลนต์, ในฐานะที่เป็นตัวแปรที่ถูก ควบคุม
5. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 2, ที่ซึ่งคำสั่งงานทอร์กได้รับการกำหนดเป็นคำสั่งงานทอร์กเพลาสำหรับทอร์กเพลาระหว่าง ชิ้นงานและมอเตอร์ที่สอง, และ ที่ซึ่งวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์กำหนดออกมาซึ่งคำสั่งงานทอร์กที่หนึ่งและที่สอง, ในลักษณะ ที่ค่าที่ตรวจพบของวิถีทางตรวจจับทอร์กเพลานั้นทำหน้าที่เป็นคำสั่งงานทอร์กเพลา
6. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 5, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์ได้รับการกำหนดขึ้น, ซึ่งในนั้นนอมินัลแพลนต์คือแบบจำลอง ระบบทางกลของระบบสามความเฉื่อยที่มีฟังก์ชันถ่ายโอนซึ่งถูกกำหนดลักษณะเฉพาะโดย: โมเมนต์ ของความเฉื่อยของมอเตอร์ที่หนึ่ง; โมเมนต์ของความเฉื่อยของมอเตอร์ที่สอง; โมเมนต์ของความเฉื่อย ของชิ้นงาน; ค่าคงที่สปริงของแกนเชิงบิดที่เชื่อมต่อมอเตอร์ที่หนึ่งและมอเตอร์ที่สอง; และค่าคงที่ สปริงของแกนเชิงบิดที่เชื่อมต่อมอเตอร์ที่สองและชิ้นงาน, และ ที่ซึ่งวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์ได้รับการออกแบบขึ้นโดยการประยุกต์ใช้วิธีการออกแบบระบบ ควบคุม, ซึ่งได้รับการอ้างอิงถึงเป็นการควบคุม H (สูตร) หรือการสังเคราะห์ (สูตร), ให้กับเจเนอรัลไลซ์ แพลนต์
7. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 6, ที่ประกอบรวมต่อไปอีกด้วย: อินเวอร์เทอร์ที่หนึ่งเพื่อจ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ที่หนึ่ง, โดยสอดคล้องตามคำสั่งงาน ทอร์กที่หนึ่งที่ได้รับการคำนวณโดยวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์; และ อินเวอร์เทอร์ที่สองเพื่อจ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ที่สอง, โดยสอดคล้องตามคำสั่งงาน ทอร์กที่สองที่ได้รับการคำนวณโดยวงจรยับยั้งเรโซแนนซ์, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์รวมถึงความผิดพลาดการควบคุมของอินเวอร์เทอร์ที่หนึ่ง, ความ ผิดพลาดการควบคุมของอินเวอร์เทอร์ที่สอง; คำสั่งงานทอร์กเพลา, และความผิดพลาดที่ตรวจพบ ของวิถีทางตรวจจับทอร์กเพลา, ในฐานะที่เป็นการรบกวน, และ ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์รวมถึงค่าเบี่ยงเบนระหว่างคำสั่งงานทอร์กเพลาถ่วงน้ำหนัก และ ผลลัพธ์ของการถ่วงนํ้าหนักเอาต์พุตของฟังก์ชันถ่ายโอนที่มีลักษณะเฉพาะของวิถีทางตรวจจับทอร์ก เพลา, ในฐานะที่เป็นออบเซิร์ฟเวบิล (observable) ที่จะได้รับการส่งเข้าไปในตัวควบคุม
8. ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 7, ที่ซึ่งเจเนอรัลไลซ์แพลนต์รวมถึงผลลัพธ์ของการถ่วงน้ำหนักทอร์กเพลาระหว่างมอเตอร์ ที่หนึ่งและมอเตอร์ที่สอง, ซึ่งได้รับการส่งออกมาจากนอมินัลแพลนต์, ในฐานะที่เป็นตัวแปร ที่ถูกควบคุม -------------------------------------------------------------------
TH1401003934A 2012-12-07 ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง TH58314C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH160629A3 TH160629A3 (th) 2017-03-02
TH58314C3 true TH58314C3 (th) 2017-10-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP5561444B2 (ja) ドライブトレインの試験システム
Feki et al. An integrated electro-mechanical model of motor-gear units—Applications to tooth fault detection by electric measurements
JP4685509B2 (ja) 交流電動機の駆動制御装置および駆動制御方法
JP4835508B2 (ja) 電気慣性制御方法
Gan et al. Drive system dynamics compensator for a mechanical system emulator
CN105572585A (zh) 电机故障检测的系统和方法
CN105375848B (zh) 一种永磁同步电机自适应辨识控制方法及其控制系统
CN101860294A (zh) 一种永磁同步电动机滑模控制的消抖方法
Mahmoud et al. An inverse approach for interturn fault detection in asynchronous machines using magnetic pendulous oscillation technique
CN101667799A (zh) 永磁型无轴承永磁同步电机无径向位移传感器控制方法
Foster et al. Detection of incipient stator winding faults in PMSMs with single-layer fractional slot concentrated windings
CN104205614A (zh) 三相交流感应电机的控制装置以及三相交流感应电机的控制方法
JP5839154B1 (ja) ドライブトレインの試験システム
TW201710924A (zh) 以多項式估測感應機參數之方法
EP2553805B1 (en) Sensorless torsional mode damping system and method
CN102252126A (zh) 电液角位移伺服系统中伺服对象参数识别方法
TH58314C3 (th) ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง
TH160629A3 (th) ระบบการทดสอบขบวนส่งกำลัง
Loukianov et al. Super-twisting sensorless control of linear induction motors
Bruha et al. Torsional issues related to variable frequency control of elastic drive systems
KR20200111249A (ko) 시험 시스템의 기계 특성 추정 방법 및 기계 특성 추정 장치
Derbel et al. Electro-mechanical system control based on observers
Chacko et al. PSO based online tuning of PI controller for estimation of rotor resistance of indirect vector controlled induction motor drive
Kołodziejek et al. Broken rotor symptoms in the sensorless control of induction machine
Nowopolski et al. Parametric identification of electrical drive with complex mechanical structure utilizing Particle Swarm Optimization method