TH53677B - โลหะผสมทองแดงซึ่งมีโคบอลต์ นิกเกิลและซิลิกอน - Google Patents

โลหะผสมทองแดงซึ่งมีโคบอลต์ นิกเกิลและซิลิกอน

Info

Publication number
TH53677B
TH53677B TH301002483A TH0301002483A TH53677B TH 53677 B TH53677 B TH 53677B TH 301002483 A TH301002483 A TH 301002483A TH 0301002483 A TH0301002483 A TH 0301002483A TH 53677 B TH53677 B TH 53677B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
percent
copper
alloys
nickel
content
Prior art date
Application number
TH301002483A
Other languages
English (en)
Other versions
TH65874A (th
Inventor
เซเกอร์ นายเจิร์ก
เอ็น แมนดิโก นายแฟรงค์
เอ็ม เคพพ์เลอร์ นายแฟรงค์
อี ไทเลอร์ นายดีเร็ค
ดับบลิว โรบินสัน นายปีเตอร์
โบเกล นายอันเดรียส
คุห์น นายฮันส์อาคิม
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH65874A publication Critical patent/TH65874A/th
Publication of TH53677B publication Critical patent/TH53677B/th

Links

Abstract

DC60 (23/06/59) โลหะผสมทองแดงซึ่งมีการรวมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้าที่ปรับปรุง ดีขึ้นซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญโดยน้ำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์, ที่มีปริมาณรวมของนิกเกิลบวกกับโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอนที่มีอัตราส่วนของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5 และ 6 และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดนี้มีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS การเพิ่มมากขึ้นในการรวมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้ารวมทั้งความต้านทานการ คลายความเค้นที่เพิ่มพูนขึ้นจะทำให้ได้มาโดยการรวมต่อไปอีกด้วยซิลเวอร์มากถึง 1 เปอร์เซ็นต์ กรรมวิธีเพื่อผลิตโลหะผสมของการประดิษฐ์นี้รวมทั้งโลหะผสมทองแดง-นิกเกิล-ซิลิกอน ชนิดอื่นๆ จะรวมถึงขั้นตอนแบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ (a). การหล่อ (10) โลหะผสมทองแดง; (b). การแปรรูปร้อน (12) ของโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานที่ถูกหล่อเพื่อทำให้เกิดผลการลดลง ในพื้นที่ภาคตัดขวางครั้งที่หนึ่ง; (c). การซอลลูชันไนซ์ (14) สำหรับโลหะผสมที่มีทองแดงเป็น พื้นฐานที่ถูกหล่อเพื่อทำนี้ที่อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้เกิดประสิทธิผลต่อการก่อขึ้นรูปโลหะ ผสมวัฎภาคเดี่ยวอย่างมีนัยสำคัญ; (d). การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) สำหรับโลหะผสมที่ อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้มีประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนปริมาณของวัฏภาคที่สอง ซึ่งทำให้มีประสิทธิผลต่อการก่อขึ้นรูปโลหะผสมหลายวัฏภาคซึ่งมีซิลิไซด์; (e). การแปรรูปเย็น (20) ของโลหะผสมหลายวัฏภาคเพื่อทำให้เกิดผลการลดลงในพื้นที่ตัดขวางครั้งที่สอง; และ (f). การอบ อ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) สำหรับโลหะผสมหลายวัฏภาคนี้ที่อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้มี ประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนซิลิไซด์เพิ่มเติม ซึ่งด้วยการดำเนินการเช่นนี้จะทำให้สภาพนำเพิ่ม สูงขึ้น ที่ซึ่งอุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองนี้จะน้อยกว่าอุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง แก้ไข 23/06/2559 โลหะผสมทองแดงซึง่มีการรวมกันของความแข็งแรงคากและสภาพนำไฟฟ้าที่ปรับปรุง ดีขึ้นซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญโดยน้ำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์, ที่มีปริมาณรวมของนิกเกิลบวกกับโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอนที่มีอัตราส่วนของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5 และ 6 และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดนี้มีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS การเพิ่มมากขึ้นในการรวมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้ารวมทั้งความต้านทานการ คล้ายความแค้นที่เพิ่มพูนขึ้นจะทำให้ได้มาโดยการรวมต่อไปอีกด้วยซิลเวอร์มากถึง 1 เปอร์เซ็นต์ กรรมวิธีเพื่อผลิตโลหะผสมของการประดิษฐ์นี้รวมทั้งโลหะผสมทองแดง-นิกเกิล-ซิลิกอน ชนิดอื่นๆ จะรวมถึงขั้นตอนแบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ (a). การหล่อ (10) โลหะผสมทองแดง; (b). การแปรรูปร้อน (12) ของโลหะที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานที่ถูกหล่อเพื่อทำให้เกิดผลการลดลง ในพื้นที่ภาคตัดขวางครั้งที่หนึ่ง; (c). การซอลลูชันไนซ์ (14) สำหรับโลหะผสมที่มีทองแดงเป็น พื้นฐานที่ถูกหล่อเพื่อทำนี้ที่อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้เกิดประสิทธิผลต่อการขึ้นรูปโลหะ ผสมวัฏภาคเดียวอย่างมันัยสำคัญ; (d). การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) สำหรับโลหะผสมที่ อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้มีประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนปริมาณของวัฏภาคที่สอง ซึ่งทำให้ประสิทธิผลต่อการก่อขึ้นรูปโลหะผสมหลายวัฏภาคซึ่งงมีซิลิไซด์; (e). การแปรรูปเย็น (20) ของโลหะผสมหลายวัฏภาคเพื่อทำให้เกิดผลการลดลงในพื้นที่ตัดขวางครั้งที่สอง; และ (f). การอบ อ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) สำหรับโลหะผสมหลายวัฏภาคนี้ที่อุณหภูมิและเป็นระยะเวลาซึ่งทำให้มี ประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนซิลิไซด์เพิ่มเติม ซึ่งด้วยการดำเนินการเช่นนี้จะทำให้สภาพนำเพิ่ม สูงขึ้น ที่ซึ่งอุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองนี้จะน้อยกว่าอุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง ------------------------------------------------------------------------------------------------- โลหะผสมทองแดงซึ่งมีการประกอบร่วมกันของความแข็งครากและสภาพนำไฟฟ้าที่ ปรับปรุงดีขึ้นซึ่งประกอบอย่างเป็นสำคัญ นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โค บอลต์ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวม ของนิกเกิลบวกโคบอลต์ใน ปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ซิลิกอนใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1 .5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักพร้อมด้วยอัตราส่วนของ (Ni+Co)/Si ระหว่าง 3.5 และ 6 และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารมลทิน ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ที่ โลหะผสมทองแดงเหนียวดัง กล่าวมีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40%lACS การเพิ่มมากขึ้นของการ ประกอบร่วม กันในความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้ารวมทั้งความ ต้านทานการคลายความแค้นที่เพิ่มพูนขึ้นจะ ทำให้ได้มาโดยการ รวมต่อไปอีกด้วยซิลเวอร์มากถึง 1 เปอร์เซ็นต์ กรรมวิธีเพื่อผลิตโลหะผสมของการประดิษฐ์นี้รวมทั้งโลหะผสม ทองแดง-นิกเกิล-ซิลิกอน ชนิดอื่นๆ จะรวมถึงขั้นตอนแบบเป็น ลำดับเรียงกันมาของ (a) การหล่อ (10) โลหะผสมทองแดง (b) การ แปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งผ่านการ หล่อแล้วทำให้เกิดผลการลดลง ในพื้นที่ภาคตัดขวาง ครั้งที่หนึ่ง (c)การทำให้เป็นสารละลายของแข็ง (14) สำหรับ โลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งผ่านการหล่อแล้วที่ อุณหภูมิและที่เวลาที่มีประสิทธิผลต่อการก่อเกิด โลหะผสมวัฎ ภาคเดี่ยวอย่างเป็นสำคัญ (d) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่ หนึ่ง(18) สำหรับโลหะผสมที่ อุณหภูมิและที่ เวลาที่มีประสิทธิผลต่อการตกตะกอนปริมาณของวัฎภาคที่สองที่ มีประสิทธิผลต่อการก่อ เกิดโลหะผสมหลายวัฎภาคซึ่งมีซิลิไซด์ (e) การแปรรูปเย็น (20) โลหะผสมหลายวัฎภาคเพื่อทำให้ เกิดผล การลดลงในพื้นที่ตัดขวางครั้งที่สอง และ (f) การอบอ่อนเพื่อ บ่มครั้งที่สอง(22) สำหรับ โลหะผสมหลายวัฎภาคนี้ที่อุณหภูมิและ เวลาที่มีประสิทธิผลต่อการตกตะกอนซิลิไซด์เพิ่มเติม ซึ่ง ด้วย การดำเนินการเช่นนี้จะทำให้สภาพนำเพิ่มสูงขึ้น โดยที่ อุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองนี้จะน้อย กว่า อุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (รูปวาดที่ 2)

Claims (6)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 23/06/2559 1. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัด (a wrought copper alloy) ซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญ โดยน้ำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ ของโคบอลต์; ที่มีปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์และ อัตราส่วนเปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือจาก 1.01:1 ถึง 2.6:1; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอนที่มีอัตราส่วนโดยน้ำหนักของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5:1 และ 6:1 ปริมาณสังกะสีมากที่สุด 0.025 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโครเมียมมากสุด 0.08 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณดีบุกมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณฟอสฟอรัสมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณแมกนีเซียมมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์; และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะผสม ทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS, ความแข็งแรงครากเกิน 95 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้ว (ksi), รัศมีการดัดงอต่ำสุดเป็นฟังก์ชันของความหนา, mbr/t สูงถึง 4t สำหรับ ทั้งการดัดงอในแบบที่ดีและแบบที่ไม่ดี และขนาดเกรนเฉลี่ย 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า ตามมาด้วย การซอลลูชันไนซ์ที่ 950 องศาเซลเซียส 2. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งปริมาณนิกเกิลดังกล่าว คือจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโคบอลต์ดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และปริมาณซิลิกอนดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 3. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่งอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือจาก 1.01:1 ถึง 1.5:1 4. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 3 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่าน การตีดัดดังกล่าวมีความแข็งแรงคราก 100 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้วหรือมากกว่า 5. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญโดย้นำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์; ที่มี ปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์และอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือตาก 1.01:1 ถึง 2.6:1; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอนที่มีอัตราส่วนโดยน้ำหนักของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5:1 และ 6:1; จากปริมาณที่มีประสิทธิผลต่อการทำให้ดีขึ้นในการรวมกันของความ แข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้าขึ้นไปจนถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ของซิลเวอร์, ไทเทเนียม, เซอร์โคเนียม และการรวมกันของมัน; สูงถึง ปริมาณสังกะสีมากที่สุด 0.025 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโครเมียมมากสุด 0.08 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณดีบุกมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณฟอสฟอรัสมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณแมกนีเซียมมากสุด 0.04 เปอร์เซ็นต์; แมกนีเซียมสูงถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์ และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS, รัศมีการดัดงอต่ำสุดเป็นฟังก์ชันของความหนา, mbr/t สูงถึง 4t สำหรับทั้งการ ดัดงอในแบบที่ดีและแบบที่ไม่ดี และขนาดเกรนเฉลี่ย 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า ตามมาด้วยการ ซอลลูชันไนซ์ที่ 950 องศาเซลเซียส 6. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ที่ซึ่งปริมาณซิลเวอร์ดังกล่าว คือจาก 0.20 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.7 เปอร์เซ็นต์ 7. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 6 ที่ซึ่งปริมาณแมกนีเซียมคือ ระหว่าง 0.005 เปอร์เซ็นต์และ 0.04 เปอร์เซ็นต์ 8. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 6 ที่ซึ่งปริมาณนิกเกิลดังกล่าว คือจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโคบอลต์ดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และปริมาณซิลิกอนดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 9. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 8 ที่ซึ่งอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์ตือจาก 1.01:1 ถึง 1.5:1 1 0. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 9 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่าน การตีดัดดังกล่าวมีความแข็งแรงคราก 100 กิโลปอนด์ตารางนิ้วหรือมากกว่า 1 1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ: a). การหล่อโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวซึ่งมีโดย น้ำหนักจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล และจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอน; b). การแปรรูปร้อนของโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานที่ถูกหล่อดังกล่าวเพื่อทำให้ เกิดผลการลดลงในพื้นที่ตัดขวางครั้งที่หนึ่ง; c). การซอลลูชันไนซ์โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ที่ถูกหล่อดังกล่าวที่อุณหภูมิการซอลลูชันไนซ์และเป็นระยะเวลาที่หนึ่งซึ่งทำให้เกิดประสิทธิผลต่อ การก่อขึ้นรูปโลหะผสมวัฏภาคเดี่ยวอย่างมีนัยสำคัญ; d). โดยไม่มีการแทรกใดๆ ด้วยการแปรรูปเย็น ตามหลังการซอลลูชันไนซ์ดังกล่าว, การอบอ่อนที่เพื่อบ่มครั้งที่หนึ่งของโลหะผสมวัฏภาคเดี่ยวอย่างมี นัยสำคัญดังกล่าวที่อุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่งและเป็นระยะเวลาที่สองซึ่งทำให้มี ประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนวัฏภาคที่สอง; e). การแปรรูปเย็นของโลหะผสมหลายวัฏภาค ดังกล่าวเพื่อทำให้เกิดผลการลดลงในพื้นที่ภาคตัดขวางครั้งที่สอง; และ f). การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่ สองของโลหะผสมหลายวัฏภาคดังกล่าวที่อุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองและเป็นระยะเวลาที่ สามซึ่งทำให้เกิดประสิทธิผลสำหรับการตกตะกอนสำหรับปริมาณเพิ่มเติมของวัฏภาคที่สองดังกล่าว ที่ซึ่งอุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองดังกล่าวนี้น้อยกว่าอุณหภูมการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง 1 2. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ที่ซึ่งตามหลังขั้นตอนการซอลลูชันไนซ์ดังกล่าว, ขนาดเกรนเฉลี่ยของโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวคือ 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า 1 3. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งรวมถึงขั้นตอนการแปรรูปเย็นของโลหะผสม ทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวระหว่างขั้นตอนการแปรรูปร้อน (b) ดังกล่าวและขั้นตอนการ ซอลลูชันไนซ์ (c) ดังกล่าว 1 4. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ: a). การหล่อโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวซึ่งมีโดย น้ำหนักจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล และจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอน; b). การแปรรูปร้อนของโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานที่ถูกหล่อดังกล่าวเพื่อทำให้ เกิดผลการลดลงในพื้นที่ตัดขวางครั้งที่หนึ่ง; c). การซอลลูชันไนซ์โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ที่ถูกหล่อดังกล่าวที่อุณหภูมิการซอลลูชันไนซ์และเป็นระยะเวลาที่หนึ่งซึ่งทำให้เกิดประสิทธิผลต่อ การก่อขึ้นรูปโลหะผสมวัฏภาคเดี่ยวอย่างมีนัยสำคัญ; d). โดยไม่มีการแทรกใดๆ ด้วยการแปรรูปเย็น ตามหลังการซอลลูชันไนซ์ดังกล่าว, การอบอ่อนครั้งที่ของโลหะผสมวัฏภาคเดี่ยวอย่างมี นัยสำคัญดังกล่าวที่อุณหภูมิการอบอ่อนครั้งที่หนึ่งและเป็นระยะเวลาที่สองซึ่งทำให้มีประสิทธิผล สำหรับการตกตะกอนวัฏภาคที่สอง; e). การแปรรูปเย็นของโลหะผสมหลายวัฏภาคดังกล่าวเพื่อทำให้ เกิดผลการลดลงในพื้นที่ภาคตัดขวางครั้งที่สอง; และ f). การอบอ่นอครั้งที่สองของโลหะผสม หลายวัฏภาคดังกล่าวที่อุณหภูมิการอบอ่อนครั้งที่สองและเป็นระยะเวลาที่สาม ที่ซึ่งอุณหภูมิการอบ อ่อนครั้งที่สองดังกล่าวนี้น้อยกว่าอุณหภูมิการอบอ่อนครั้งที่หนึ่ง 1 5. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ที่ซึ่งตามหลังขั้นตอนการซอลลูชันไนซ์ดังกล่าว, ขนาดเกรนเฉลี่ยของโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าว คือ 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า 1 6. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ซึ่งรวมถึงขั้นตอนการแปรรูปเย็นของโลหะผสม ทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวระหว่างขั้นตอนการแปรรูปร้อน (b) ดังกล่าวและขั้นตอนการ ซอลลูชันไนซ์ (c) ดังกล่าว 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ที่ซึ่งทั้งขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว และขั้นตอนการ แปรรูปเย็นดังกล่าวประกอบด้วยการรีดและโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวถูกก่อขึ้นรูป กลายเป็นแผ่น 1 8. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ: a). การหล่อโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวซึ่งมีโดย น้ำหนักจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล และจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอน; b). การแปรรูปร้อนของโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานที่ถูกหล่อดังกล่าวในการผ่านหนึ่ง ครั้งหรือมากกว่านั้นเพื่อก่อเกิดผลิตภัณฑ์ซึ่งถูกแปรรูปร้อนแล้ว; c). การซอลลูชันไนซ์ผลิตภัณฑ์ซึ่ง ถูกแปรรูปร้อนดังกล่าวที่อุรหภูมิดังกล่าว; d). โดยไม่มีการแทรกใดๆ ด้วยการแปรรูปเย็นตามหลังการซอลลูชัน ไนซ์ดังกล่าว, การอบอ่อนครั้งที่หนึ่งของแผ่นซึ่งแปรรูปรอนแล้วที่อุณหภูมิจาก 350 องศาเซลเซียสถึง 600 องศาเซลเซียสเป็นระยะเวลาจาก 30 นาทีถึง 30 ชั่วโมง; e). การแปรรูปเย็นของแผ่นซึ่งถูกแปรรูป ร้อนดังกล่าวเพื่อการลดลงในพื้นที่ภาคตัดขวางเพื่อก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์; และ f). การอบอ่อนครั้ง ที่สองของผลิตภัณฑ์ดังกล่าวที่อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิการอบอ่อนการตกตะกอนครั้งที่หนึ่ง 1 9. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 18 ที่ซึ่งการแปรรูปร้อนดังกล่าวที่อุณหภูมิระหว่าง 850 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิการซอลลูชันไนซ์ดังกล่าวระหว่าง 800 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส 2 0. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 19 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วยขั้นตอนของการชุบโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวตามหลังขั้นตอนการแปรรูปร้อน (b) ดังกล่าว 2 1. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 20 ที่ซึ่งการอบอ่อนครั้งที่ดังกล่าวอยู่ที่อุณหภูมิระหว่าง 475 องศาเซลเซียสและ 550 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิการอบอ่อนครั้งที่สองดังกล่าวอยู่ระหว่าง 350 องศาเซลเซียสและ 500 องศาเซลเซียส 2 2. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วยขั้นตอนของการแปรรูปเย็นของ โลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปปสู่เกจที่ทำให้มีประสิทธิผลต่อการซอลลูชันไนซ์ระหว่างขั้นตอนการ ชุบดังกล่าวและการซอลลูชันไนซ์ (c) ดังกล่าว 2 3. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่งทั้งขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว และขั้นตอนการ แปรรูปเย็นดังกล่าวประกอบด้วยการรีด โดยวิธีการนี้จะทำให้โลหะผสมทองแดงดังกล่าวก่อเกิดไป เป็นแผ่น 2 4. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงดังกล่าวถูกเลือกให้มีสารผสมจาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์, ที่มี ปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอน, โดยที่อัตราส่วน (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1 และทองแดงใน ปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 2 5. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงดังกล่าวถูกเลือกให้มีสารผสมของ จาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์, ที่มีปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์, จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอน, โดยที่อัตราส่วน (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 2:1 และ 7;1 และจาก ปริมาณที่มีประสิทธิผลต่อการทำให้ดีขึ้นในการรวมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้าขึ้น ไปสูงขึ้น 1.0 เปอร์เซ็นต์ของซิลเวอร์, ไทเทเนียม, เซอร์โคเนียม และการรวมกันของมัน; สูงถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์ของแมกนีเซียมและทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 2 6. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงดังกล่าวถูกเลือกให้มีสารผสมของ 2.2 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.2 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล, จาก 0.25 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.2 เปอร์เซ็นต์ของซิลิกอน, 0.05 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.30 เปอร์เซ็นต์ของต์แมกนีเซียม และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล 2 7. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดดัดซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญโดยน้ำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์; ที่มี ปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์และอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลค์คือจาก 0.5:1 ถึง 5:1; จาก 0.5 เปอร์เซ็นตถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของ ซิลิกอนที่มีอัตราส่วนโดยน้ำหนักของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5:1 และ 6:1; และทองแดงใน ปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัด ดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS, ความแข็งแรงครากเกิน 95 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้ว, รัศมีการดัดงอต่ำสุดเป็นฟังก์ชันของความหนา, mbr/t สูงถึง 4t สำหรับทั้งการดัดงอในแบบที่ดีและ แบบที่ไม่ดี และขนาดเกรนเฉลี่ย 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า ตามมาด้วยการซอลลูชันไนซ์ที่ 950 องศาเซลเซียส 2 8. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อ 27 ที่ซึ่งปริมาณนิกเกิลดังกล่าว คือจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโคบอลต์ดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และปริมาณซิลิกอนดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 2 9. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 28 ที่ซึ่งอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือจาก 1.01:1 ถึง 1.5:1 3 0. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่าน การตีดัดดังกล่าวมีความแข็งแรงคราก 100 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้วหรือมากกว่า 3 1. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดซึ่งประกอบอย่างมีนัยสำคัญโดยน้ำหนักด้วยจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ของนิกเกิล; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ของโคบอลต์; ที่มี ปริมาณรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์และอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือจาก 1.01:1 ถึง 2.6:1; จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ของ ซิลิกอนที่มีอัตราส่วนโดยน้ำหนักของ (Ni+Co)/Si จะอยู่ระหว่าง 3.5:1 และ 6:1; และจากปริมาณที่มี ประสิทธิผลต่อการทำให้ดีขึ้นในการรวมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้าขึ้นไปสูงถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ของซิลเวอร์, ไทเทเนียม, เซอร์โคเนียมและการรวมกันของมัน; สูงถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์ ของแมกนีเซียม; และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารเจือปนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ที่ซึ่งโลหะ ผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้าเกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS, รัศมีการดัดงอต่ำสุด เป็นฟังก์ชันของความหนา, mbr/t สูงถึง 4t สำหรับทั้งการดัดงอในแบบที่ดีและแบบที่ไม่ดี และขนาด เกรนเฉลี่ย 20 ไมครอนหรือน้อยกว่า ตามมาด้วยการซอลลูชันไนซ์ที่ 950 องศาเซลเซียส 3 2. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 31 ที่ซึ่งปริมาณซิลเวอร์ดัง กล่าวคือจาก 0.2 เปอร์เซ็นต์ ถึง 0.7 เปอร์เซ็นต์ 3 3. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 32 ที่ซึ่งปริมาณแมกนีเซียมคือ ระหว่าง 0.005 เปอร์เซ็นต์ และ 0.04 เปอร์เซ็นต์ 3 4. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 31 ที่ซึ่งปริมาณนิกเกิลดังกล่าว คือ จาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์; ปริมาณโคบอลต์ดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และปริมาณซิลิกอนดังกล่าวคือจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 3 5. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 34 ที่ซึ่งอัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อโคบอลต์คือจาก 1.01:1 ถึง 1.5:1 3 6. โลหะผสมทองแดงที่ผ่านการตีดัดของข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดงที่ผ่าน การตีดัดดังกล่าวมีความแข็งแรงคราก 100 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้วหรือมากกว่า --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. โลหะผสมทองแดงเหนียวซึ่งประกอบอย่างเป็นสำคัญโดยน้ำหนักด้วย นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลด์ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของ นิกเกิลบวกโคบอลต์ในปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1 .5 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยอัตราส่วนของ (Ni+Co)/Si อยู่ ระหว่าง 2:1 และ 7:1 และ ทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารมลทินที่ไม่สามารถหลีก เลี่ยงได้ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดง เหนียวดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้า เกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS 2. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุนิกเกิล ดังกล่าวมีปริมาณจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณบรรจุโคบอลต์ดัง กล่าวในปริมาณ จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณบรรจุซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 1. 4. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่โลหะผสมทองแดง เหนียวดังกล่าวมีความแข็งแรงคราก เท่ากับ 100 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือมากกว่านั้น 5. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ขนาดเกรนเฉลี่ยของ โลหะผสมทองแดงเหนียวดังกล่าว ภายหลังการทำให้เป็นสารละลายของแข็งแล้วคือ 20 ไมครอนหรือ น้อยกว่า 6. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุนิกเกิล ดังกล่าวมีปริมาณจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณบรรจุโคบอลต์ดัง กล่าวมีปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณบรรจุซิลิกอนดังกล่าวมีปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 7. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่อัตราส่วนเปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักของนิกเกิลต่อ โคบอลต์มีค่าจาก 1.01:1 ถึง 2.6:1 8. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 1,5 หรือ 7 8 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ปริมาณบรรจุสูงสุดของ สังกะสีคือ 0.25 เปอร์เซ็นต์และปริมาณบรรจุสูงสุดของ โครเมียมคือ 0.08 เปอร์เซ็นต์ 9. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุนิกเกิล ดังกล่าวมีปริมาณจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณบรรจุโคบอลต์ดัง กล่าวในปริมาณ จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณบรรจุซิลิกอนดังกล่าวในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 1 0. โลหะผสมทองแดงเหนียวซึ่งประกอบอย่างเป็นสำคัญโดยน้ำ หนักด้วย นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลด์ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของ นิกเกิลบวกโคบอลต์ในปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1 .5 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยอัตราส่วนของ (Ni+Co)/Si อยู่ ระหว่าง 2:1 และ 7:1 ซิลเวอร์ ไทเทเนียม เซอร์โคเนียมและสารที่ได้จากการประกอบ ร่วมกันของธาตุเหล่านี้ ในปริมาณจากปริมาณที่มีประสิทธิผล ต่อการปรับปรุงให้ดีขึ้นในการประกอบร่วมกันของ ความแข็งแรง ครากและสภาพนำไฟฟ้าขึ้นไปจนถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียมในปริมาณมากจนถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์ และ ทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสารมลทินที่ไม่สามารถหลีก เลี่ยงได้ที่ซึ่งโลหะผสมทองแดง เหนียวดังกล่าวมีสภาพนำไฟฟ้า เกิน 40 เปอร์เซ็นต์ IACS 1 1. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุ ซิลเวอร์ดังกล่าวมีปริมาณจาก 0.2 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.7 เปอร์เซ็นต์ 1 2. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุ แมกนีเซียมมีปริมาณอยู่ ระหว่าง 0.005 เปอร์เซ็นต์และ 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของ สังกะสีในปริมาณ 0.25 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของโครเมียมในปริมาณ 0.08 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของดีบุกและฟอสฟอรัสแต่ละธาตุในปริมาณ 0.04 เปอร์เซ็นต์ 1 3. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุ นิกเกิลดังกล่าวมีปริมาณจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณบรรจุโคบอลต์ดัง กล่าวใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณบรรจุซิลิกอนดังกล่าวในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 1 1.1 5. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่โลหะผสมทองแดง เหนียวดังกล่าวมีความแข็ง แรงคราก 100 กิโลปอนด์ต่อตารางนิ้ว หรือมากกว่านั้น 1 6. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ขนาดเกรนเฉลี่ยของ โลหะผสมทองแดงเหนียวดัง กล่าวภายหลังการทำให้เป็นสารละลายของแข็งแล้วคือ 20 ไมครอน หรือ น้อยกว่านั้น 1 7. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุ แมกนีเซียมมีปริมาณอยู่ ระหว่าง 0.005 เปอร์เซ็นต์และ 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของ สังกะสีในปริมาณ 0.25 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของโครเมียมในปริมาณ 0.08 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของดีบุกและฟอสฟอรัสแต่ละธาตุในปริมาณ 0.04 เปอร์เซ็นต์ 1 8. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 11 หรือข้อถือ สิทธิข้อ 17 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ปริมาณ บรรจุนิกเกิลดังกล่าวมีปริมาณจาก 1.3 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.9 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณบรรจุโคบอลต์ดังกล่าวในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์และปริมาณบรรจุ ซิลิกอนดัง กล่าวในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.8 เปอร์เซ็นต์ 1 9. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่อัตราส่วน เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของ นิกเกิลต่อโคบอลต์มีค่าจาก 1.01:1 ถึง 2.6:1 2 0. โลหะผสมทองแดงเหนียวตามข้อถือสิทธิข้อ 19 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ปริมาณบรรจุ แมกนีเซียมมีปริมาณอยู่ ระหว่าง 0.005 เปอร์เซ็นต์และ 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของ สังกะสีในปริมาณ 0.25 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของโครเมียมในปริมาณ 0.08 เปอร์เซ็นต์และ ปริมาณ บรรจุสูงสุดของดีบุกและฟอสฟอรัสแต่ละธาตุในปริมาณ 0.04 เปอร์เซ็นต์ 2 1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตามขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ a) การหล่อ (10) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งมี ปริมาณโดยน้ำหนักของนิกเกิล ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์และ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ b) การแปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้ว ดังกล่าวเพื่อทำให้เกิดผลการลดลงในพื้นที่ ตัดขวางครั้งที่หนึ่ง c) การทำให้เป็นสารละลายของแข็ง (14) โลหะผสมที่มีทองแดง เป็นพื้นฐานซึ่งผ่าน การหล่อแล้วดังกล่าวที่อุณหภูมิการทำ ให้เป็นสารละลายของแข็งและที่เวลาที่หนึ่งซึ่งทำให้เกิด ประสิทธิผลต่อการก่อขึ้นรูปโลหะผสมวัฎภาคเดี่ยวอย่างเป็น สำคัญ d) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) โลหะผสมวัฎภาค เดียวอย่างเป็นสำคัญดังกล่าวที่ อุณหภูมิการอบอ่อนเพื่อบ่ม ครั้งที่หนึ่งและที่เวลาที่สองซึ่งทำให้มีประสิทธิผลสำหรับ การตกตะกอน วัฎภาคที่สองโดยไม่มีการแทรกด้วยการแปรรูปเย็น ตามหลังการทำให้เป็นสารละลายของแข็ง ดังกล่าว e) การแปรรูปเย็น (20) โลหะผสมหลายวัฎภาคดังกล่าวเพื่อทำ ให้เกิดผลการลดลงใน พื้นที่ภาคตัดขวางครั้งที่สอง และ f) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (23) โลหะผสมหลายวัฎภาค ดังกล่าวที่อุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองและเวลา ที่ทำให้เกิดประสิทธิผลครั้งที่สามสำหรับการตกตะกอน ปริมาณ เพิ่มเติมของวัฎภาคที่สองดังกล่าว โดยที่อุณหภูมิการอบอ่อน เพื่อบ่มครั้งที่สองดังกล่าวนี้น้อย กว่าอุณหภูมิการอบอ่อน เพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง 2 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ภายหลังขั้นตอนการทำให้เป็น สารละลายของแข็ง (14) ดัง กล่าว ขนาดเกรนเฉลี่ยของโลหะผสมทองแดงเหนียวดังกล่าวเท่า กับ 20 ไมครอนหรือน้อยกว่านั้น 2 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ซึ่งรวมถึงขั้นตอนของ การแปรรูปเย็น (13) โลหะผสมทองแดง เหนียวดังกล่าวระหว่างขั้น ตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (b)(12) และขั้นตอนการทำให้เป็น สารละลาย ของแข็ง (c)(14) 2 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ทั้งขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (12) และขั้นตอนการแปร รูปเย็นดังกล่าว (13) จะทำให้เกิดการรีดและโลหะผสมทองแดง เหนียว ดังกล่าวจะได้รับการก่อขึ้นรูปไปสู่แผ่นแถบ 2 5. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตามขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ a) การหล่อ (10) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งมี ปริมาณโดยน้ำหนักของนิกเกิล ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์และซิลิกอนในปริมาณจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ b) การแปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้ว ดังกล่าวในการผ่านหนึ่งครั้งหรือมากกว่า นั้นเพื่อก่อเกิดผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้ว c) การทำให้เป็นสารละลายของแข็ง (14) ผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่า รการแปรรูปร้อนแล้ว ดังกล่าวที่อุณหภูมิเกินอุณหภูมิจาก 800 องศา เซลเซียสถึงอุณหภูมิโซลิดัสของโลหะผสมที่มีทองแดง เป็นพื้น ฐานดังกล่าว d) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) แผ่นซึ่งผ่านการ แปรรูปร้อนแล้วที่อุณหภูมิจาก 350 องศาเซลเซียสถึง 600 องศาเซลเซียสจาก 30 นาทีถึง 30 ชั่วโมงการโดยไม่มีการแทรก ด้วย การแปรรูปเย็นตามหลังการทำให้เป็นสารละลายของแข็งดัง กล่าว (14) e) การแปรรูปเย็น (20) แผ่นซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้วดัง กล่าวเพื่อลดพื้นที่ ภาคตัดขวางจาก 10 เปอร์เซ็นต์ถึง 50 เปอร์เซ็นต์เพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ และ f) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อการตกตะกอนครั้ง ที่หนึ่งดังกล่าว 2 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 25 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การแปรรูปร้อนดังกล่าว(12) อยู่ที่ อุณหภูมิระหว่าง 850 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิการทำให้ เป็นสารละลาย ของแข็งอยู่ระหว่าง 800 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส 2 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการชุมโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวตาม หลังขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (b) (12) 2 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การอบอ่อนเพื่อบ่ม ดังกล่าว (18) อยู่ที่อุณหภูมิระหว่าง 475 องศาเซลเซียสและ 550 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิการ อบ อ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองดังกล่าวอยู่ระหว่าง 350 องศา เซลเซียสและ 500 องศาเซลเซียส 2 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 28 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการแปรรูปเย็น (13) โลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปสู่ เกจที่ทำให้มีประสิทธิผลต่อการทำให้เป็นสารละลายของแข็ง ระหว่าง ขั้นตอนการชุบดังกล่าวและขั้นตอนการทำให้เป็นสารละ ลายของแข็งดังกล่าว (c) (14) 3 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (12) และขั้นตอนการแปรรูป เย็นดังกล่าว (13) ทั้งสองขั้นตอนนี้ทำให้เกิดการรีด ด้วย การดำเนินการนี้จะ ก่อขึ้นรูปโลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปสู่ แผ่นแถบ 3 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกให้มีสารผสมของ นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ในปริมาณ จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ในปริมาณ จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ที่มี อัตราส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1 และทองแดงในปริมาณที่ ได้ดุลและสารมลทินที่ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ 3 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกให้มีสารผสมของ นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ในปริมาณ จาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ในปริมาณ จาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ที่มี อัตราส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1, ซิลเวอร์ ไทเทเนียม เซอร์โคเนียมและสารที่ได้ จากการประกอบร่วมกันของธาตุเหล่า นี้ในปริมาณจากปริมาณที่มีประสิทธิผลต่อการปรับปรุงให้ดี ขึ้น ในการประกอบร่วมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้า ขึ้น ไปจนถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียมในปริมาณมากจนถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์และสารมลทินที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 3 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกให้มีสารผสมของ นิกเกิลในปริมาณ 2.2 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.2 เปอร์เซ็นต์ ซิลิ กอนในปริมาณ 0.25 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.2 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียมในปริมาณ 0.05 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.30 เปอร์เซ็นต์ และ ทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล 3 4. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตามขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ a) การหล่อ(10) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งมี ปริมาณโดยน้ำหนัก ของนิกเกิลในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์และซิลิกอนในปริมาณจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ b) การแปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้ว ดังกล่าวในการผ่านหนึ่งรอบหรือมากกว่า นั้นเพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้ว c) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) ผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่าน การแปรรูปร้อนแล้วดังกล่าว ที่อุณหภูมิจาก 350 องศาเซลเซียส ถึง 600 องศาเซลเซียสจาก 30 นาทีถึง 30 ชั่วโมง d) การแปรรูปเย็น (20) ผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้ว ดังกล่าวเพื่อลด พื้นที่ภาคตัดขวางจาก 10 เปอร์เซ็นต์ถึง 50 เปอร์เซ็นต์เพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ และ d) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อการตกตะกอนครั้ง ที่หนึ่งดังกล่าว 3 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 34 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การแปรรูปร้อนดังกล่าว (12) อยู่ที่ อุณหภูมิระหว่าง 850 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส 3 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ขั้นตอนของการชุบโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าว ภายหลังขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (b)(12) 3 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 36 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การการอบอ่อนเพื่อบ่มดังกล่าว (18) อยู่ที่ อุณหภูมิ ระหว่าง 475 องศาเซลเซียสและ 550 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่ สองดังกล่าวอยู่ระหว่าง 350 องศา เซลเซียสและ 500 องศาเซลเซียส 3 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 37 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกเพื่อให้มีสาร ผสมของนิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ ใน ปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยอัตราส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 3.5 และ 5.5 และทองแดงในปริมาณที่ ได้ดุล และ สารมลทินที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 3 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 37 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกเพื่อให้มีสาร ผสมของนิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ ใน ปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์พร้อมด้วย อัตราส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1, ซิลเวอร์ ไทเทเนียม เซอร์โคเนียมและสารที่ได้จาก การประกอบร่วมกันของ ธาตุเหล่านี้ในปริมาณจากปริมาณที่มีประสิทธิผลต่อการปรับ ปรุงให้ดีขึ้นใน การประกอบร่วมกันของความแข็งแรงครากและสภาพ นำไฟฟ้าขึ้นไปจนถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียม ในปริมาณมาก จนถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์ และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และสาร มลทินที่ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ 4 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 34 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการแปรรูปเย็น (13) ระหว่างขั้นตอนการแปรรูป ร้อน (b)(12) และขั้นตอนการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่งดัง กล่าว (c)(18) 4 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 34 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ไม่มีการแทรกด้วยการแปรรูปเย็นใน ระหว่างขั้นตอนการแปรรูร้อนดังกล่าว (b) (12) และขั้นตอนการอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่งดังกล่าว (c) (18) 4 2. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตามขั้นตอน แบบเป็นลำดับเรียงกันมาของ a) การหล่อ (10) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่งมี ปริมาณโดยน้ำหนักของนิกเกิล ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 5.0 เปอร์เซ็นต์และซิลิกอนในปริมาณจาก 0.1 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ b) การแปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้ว ดังกล่าวในการผ่านหนึ่งรอบหรือมากกว่า นั้นเพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้ว c) การทำให้เป็นสารละลายของแข็ง (14) สำหรับโลหะที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่า นการหล่อแล้วดังกล่าวที่อุณหภูมิเกินอุณหภูมิจาก 800 องศา เซลเซียสถึงอุณหภูมิโซลิดัสของโลหะ ผสมที่มีทองแดงเป็นพื้น ฐานดังกล่าว d) การขึ้นรูปเย็นโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าว สำหรับการลดลงใน พื้นที่ภาคตัดขวาง e) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) แผ่นซึ่งผ่านการ แปรรูปร้อนแล้วดังกล่าวที่ อุณหภูมิจาก 350 องศาเซลเซียสถึง 600 องศาเซลเซียสเป็นเวลาจาก 30 นาทีถึง 30 ชั่วโมง f) การแปรรูปเย็น (20) แผ่นซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนดัง กล่าวเพื่อการลดลงในพื้นที่ภาค ตัดขวางจาก 10 เปอร์เซ็นต์ถึง 50 เปอร์เซ็นต์เพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ และ g) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อการตกตะกอนครั้ง ที่หนึ่งดังกล่าว 4 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 42 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การแปรรูปร้อน (12) ดังกล่าวอยู่ที่ อุณหภูมิระหว่าง 850 องศา เซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิการทำให้เป็นสาร ละลาย ของแข็งดังกล่าวอยู่ระหว่าง 800 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส 4 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 43 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการชุบโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวภาย หลังขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (b) (12) 4 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 44 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) อยู่ที่อุณหภูมิ ระหว่าง 475 องศาเซลเซียสและ 550 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อบ่ม ครั้งที่สองดังกล่าว (22) อยู่ระหว่าง 350 องศาเซลเซียสและ 500 องศาเซลเซียส 4 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 45 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการแปรรูปเย็น (13) โลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปสู่ เกจที่มีประสิทธิผลสำหรับการทำให้เป็นสารละลายของแข็ง ระหว่างการชุบดังกล่าวและขั้นตอนการทำให้เป็นสารละลายของ แข็งดังกล่าว (c)(14) 4 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (12) และขั้นตอนการแปรรูป เย็นดังกล่าวทั้งสองขั้นตอนนี้จะทำให้เกิดการรีดซึ่งก่อรูป โลหะผสม ทองแดงดังกล่าวไปสู่ชิ้นแถบ 4 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าว ได้รับการคัดเลือกให้มีสาร ผสมของนิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ ในปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนใน ปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ที่มีอัตรา ส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1 และทองแดงใน ปริมาณที่ได้ดุลและสาร มลทินที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 4 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าว ได้รับการคัดเลือกให้มีสารผสมของ นิกเกิลในปริมาณจาก 1 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.5 เปอร์เซ็นต์ โคบอลต์ ในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 2.0 เปอร์เซ็นต์ พร้อมด้วยปริมาณบรรจุรวมของนิกเกิลบวกโคบอลต์ ในปริมาณจาก 1.7 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.3 เปอร์เซ็นต์ ซิลิกอนในปริมาณจาก 0.5 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.5 เปอร์เซ็นต์ที่มีอัตราส่วน (Ni+Co)/Si อยู่ระหว่าง 2:1 และ 7:1, ซิลเวอร์ ไทเทเนียม เซอร์โคเนียม และสารที่ได้จากการประกอบร่วมกันของธาตุเหล่า นี้ในปริมาณจากปริมาณที่มีประสิทธิผลต่อการ ปรับปรุงการประกอบร่วมกันของความแข็งแรงครากและสภาพนำไฟฟ้าให้ดี ขึ้น จนถึงปริมาณ 1.0 เปอร์เซ็นต์, แมกนีเซียมในปริมาณจนถึง 0.15 เปอร์เซ็นต์และทองแดงในปริมาณที่ได้ดุล และ สารมลทินที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ 5 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่โลหะผสมทองแดงดังกล่าวได้รับการ คัดเลือกให้มีสารผสมของ นิกเกิลในปริมาณ 2.2 เปอร์เซ็นต์ถึง 4.2 เปอร์เซ็นต์ ซิลิ กอนในปริมาณ 0.25 เปอร์เซ็นต์ถึง 1.2 เปอร์เซ็นต์ แมกนีเซียม 0.05 เปอร์เซ็นต์ถึง 0.30 เปอร์เซ็นต์ และทองแดงใน ปริมาณที่ได้ดุล 5
1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐาน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอน แบบเรียงลำดับตามกันมาของ a) การหล่อ (10) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวมี ไทเทเนียมในปริมาณจาก 0.35 เปอร์เซ็นต์ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ และ X ในปริมาณ 0.001 เปอร์เซ็นต์ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ โดยคัด เลือก X จาก Ni,Fe,Sn,P,Al,Zn,Si,Pb,Be,Mn,Mg,Bi,S,Te,Se,Ag,As,Sb,Zr ,B,Cr และ Co และ ธาตุเหล่านี้ประกอบร่วมกัน b) การแปรรูปร้อน (12) โลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้ว ดังกล่าวในการผ่านหนึ่งรอบหรือมากกว่านั้น เพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้ว c) การทำให้เป็นสารละลายของแข็ง (14) สำหรับโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานซึ่ง ผ่านการหล่อแล้วดังกล่าวที่อุณหภูมิ มากเกินพอซึ่งเป็นอุณหภูมิจาก 800 องศาเซลเซียสถึงอุณหภูมิ โซลิดัสของโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าว d) การขึ้นรูปเย็นโลหะผสมที่มีทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าว สำหรับการลดลงใน พื้นที่ภาคตัดขวาง e) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่หนึ่ง (18) แผ่นซึ่งผ่านการ แปรรูปร้อน แล้วดังกล่าวที่ อุณหภูมิจาก 350 องศาเซลเซียสถึง 600 องศาเซลเซียสจาก 30 นาทีถึง 30 ชั่วโมง f) การแปรรูปเย็น (20) แผ่นซึ่งผ่านการแปรรูปร้อนแล้วดัง กล่าวเพื่อลดลงในพื้นที่ ภาคตัดขวางจาก 10 เปอร์เซ็นต์ถึง 50 เปอร์เซ็นต์เพื่อก่อขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ และ g) การอบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สอง (22) ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่อุณหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิ การอบอ่อนเพื่อการตกตะกอนครั้ง ที่หนึ่งดังกล่าว 5
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 51 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การแปรรูปร้อนดังกล่าว (12) อยู่ที่ อุณหภูมิระหว่าง 850 องศา เซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิการทำให้เป็นสาร ละลาย ของแข็งดังกล่าว (14) อยู่ระหว่าง 800 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส 5
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 52 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการชุบโลหะผสมที่มี ทองแดงเป็นพื้นฐานดังกล่าวภาย หลังขั้นตอนการแปรรูปร้อนดังกล่าว (b) (12) 5
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 53 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่การอบอ่อนเพื่อบ่ม ดังกล่าว (18) อยู่ที่อุณหภูมิ ระหว่าง 475 องศาเซลเซียสและ 550 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิ การ อบอ่อนเพื่อบ่มครั้งที่สองดังกล่าวอยู่ระหว่าง 350 องศา เซลเซียสและ 500 องศาเซลเซียส 5
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 54 ซึ่งรวมถึงต่อไปอีกด้วย ขั้นตอนของการแปรรูปเย็น (13) โลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปสู่ ประสิทธิผลตามเกจสำหรับการทำให้เป็นสารละลายของแข็งระหว่าง ขั้นตอนการชุบดังกล่าวและขั้นตอนการทำให้เป็นสารละลายของแข็งดัง กล่าว (c) (12) 5
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 55 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ขั้นตอนการแปรรูปร้อน ดังกล่าว (12) และขั้นตอนการแปรรูป เย็นดังกล่าว (13) จะทำให้เกิดการรีด ซึ่งด้วยการดำเนินการ นี้จะ ก่อขึ้นรูปโลหะผสมทองแดงดังกล่าวไปสู่แผ่นแถบ
TH301002483A 2003-07-04 โลหะผสมทองแดงซึ่งมีโคบอลต์ นิกเกิลและซิลิกอน TH53677B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH65874A TH65874A (th) 2004-12-27
TH53677B true TH53677B (th) 2017-02-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2270627C (en) Copper alloy and process for obtaining same
CA2490799A1 (en) Copper alloy containing cobalt, nickel, and silicon
JP2005532477A5 (th)
CA2793885C (en) 2xxx series aluminum lithium alloys having low strength differential
US5916386A (en) Copper alloy and process for obtaining same
CN101509091A (zh) 一种高强高韧Al-Zn-Mg-Cu-Sr合金及制备方法
CN100503854C (zh) 一种低铅硼易切削锑黄铜合金及其制造方法
JP7044863B2 (ja) Al-Mg-Si系アルミニウム合金材
CN104334760A (zh) 2xxx系列铝锂合金
CN109988946A (zh) 一种真空钎焊翅片材料及其制备方法
US4305762A (en) Copper base alloy and method for obtaining same
US20010001400A1 (en) Grain refined tin brass
EP2907884A1 (en) Plate-like conductor for bus bar, and bus bar comprising same
CN112522552B (zh) 一种耐蚀的铝合金及其制备方法和应用
US6679956B2 (en) Process for making copper-tin-zinc alloys
US5865910A (en) Copper alloy and process for obtaining same
TH53677B (th) โลหะผสมทองแดงซึ่งมีโคบอลต์ นิกเกิลและซิลิกอน
US6695934B1 (en) Copper alloy and process for obtaining same
TH65874A (th) โลหะผสมทองแดงซึ่งมีโคบอลต์ นิกเกิลและซิลิกอน
US6436206B1 (en) Copper alloy and process for obtaining same
RU2378403C2 (ru) Способ получения слитка из дисперсионно-твердеющего низколегированного сплава на медной основе и способ производства из него металлопродукции
JPS62267456A (ja) 高強度、高導電性リ−ドフレ−ム用銅合金の製造方法
JPH1068032A (ja) エレクトロニクス分野において利用される高電気伝導率および高軟化点を有する銅合金
JPS628491B2 (th)
JP2020097793A5 (th)