TH534A - อนุพันธ์ของนิโคทิทามีสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่ - Google Patents

อนุพันธ์ของนิโคทิทามีสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่

Info

Publication number
TH534A
TH534A TH8101000292A TH8101000292A TH534A TH 534 A TH534 A TH 534A TH 8101000292 A TH8101000292 A TH 8101000292A TH 8101000292 A TH8101000292 A TH 8101000292A TH 534 A TH534 A TH 534A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
clause
fluorine
atoms
atom
trifluoromethyl
Prior art date
Application number
TH8101000292A
Other languages
English (en)
Other versions
TH2489B (th
TH534EX (th
Inventor
โคลิน แครมพ์ .นายไมเคิล
กิลเมอร์ นายเจมส์
วิลเลียม พาร์เนลล์ นายเอ็ดการ์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH534A publication Critical patent/TH534A/th
Publication of TH534EX publication Critical patent/TH534EX/th
Publication of TH2489B publication Critical patent/TH2489B/th

Links

Abstract

อนุพันธ์ของนิโคทิทามีดของสูตร (สูตรเคมี)(ซึ่ง X แทนอะตอมของออกซิเจน หรือกำมะถัน, R1 แทนไฮโดรเจน อะตอมหรือหมู่เมธิล,หรือเอธิล, R2 แทนอะตอมของไฮโดรเจนหรือ ฟลูออรีนหมู่ไซแอโน หรือ เมธิล หรือเอธิล เลือกถูกแทนยที่ ด้วย ฟลูออรีน หนึ่งอะตอมหรือมากกว่า, R3 แทนอะตอมของ ฟลูออรีน คลอรีนหรือโบรมีน หรือหมู่ไซแอโน, ไทรฟลูออ โรเมธิล, เมธอกซิ,เอธอกซิ,ไทรฟลูออโรเมธอกทิ หรือ C1-4 แอล เคนซัลโฟนิล, R4 และ R5 ตัวหนึ่ง แทนไฮโดรเจนอะตอม และอีก ตัวหนึ่งแทนอะตอมของ ไฮโดรเจน,ฟลูออรีน,คลอรีน หรือ โบรมีน หรือหมู่ไซแอโน, ไทรฟลูออโรเมธิล,เมธอกซิ,เมธอกซิล,เอธอกซิลไทรฟลูออโรเมธอก ซิ หรือ C1-4 แอลเคนซัลโฟนิล, R6 แทนอะตอมของ ไฮโดรเจน,ฟลูออรีน หรือหมู่ไซแอโนหรือเอไธนิล, R7 แทนอะตอม ของฟลูออรีนหรือคลอรีน, R8 แทนอะตอมของไฮโดรเจน, ฟลูออรีน, คลอรีน หรือโบรมีน หรือหมู่เมธิลหรือเอธิลและ m แทน 0,1 หรือ 2 โดยมีข้อกำหนดคือ เมื่อ R2 และ R3 แต่ละตัวแทน ไฮโดรเจนอะตอม m แทน 0 , พบว่าสารเหล่านี้มีคุณสมบัติฆ่าวัชพืช ซึ่งมีประโยชน์ สาร ผสมฆ่าวัชพืช,วิธีที่ใช้ควบคุมการเติมโตของวัชพืช และกรรม วิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามีด

Claims (1)

1. อนุพันธ์ของนิโคทิทามีดของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี)ซึ่ง X แทนอะตอมของออกซิเจน หรือกำมะถัน, R1 แทนไฮโดรเจน อะตอมหรือหมู่เมธิล,หรือเอธิล, R2 แทนอะตอมของไฮโดรเจนหรือ ฟลูออรีนหมู่ไซแอโน หรือ เมธิล หรือเอธิล เลือกถูกแทนยที่ ด้วย ฟลูออรีน หนึ่งอะตอมหรือมากกว่า, R3 แทนอะตอมของ ฟลูออรีน คลอรีนหรือโบรมีน หรือหมู่ไซแอโน, ไทรฟลูออ โรเมธิล, เมธอกซิ,เอธอกซิ,ไทรฟลูออโรเมธอกทิ หรือ แอล เคนซัลโฟนิล,ซึ่งส่วนของแอลเคนของหมู่แอลเคนซัลโฟนิลอาจ เป็นห่วงโซ่ที่มีกิ่งแยกหรือ ไม่มีกิ่งแยกที่มีคาร์บอนจาก 1 ถึง 4 อะตอม, R4 และ R5 ตัว หนึ่งแทนไฮโดรเจนอะตอม และอีกตัวหนึ่งแทนอะตอมของ ไฮโดรเจน,ฟลูออรีน,คลอรีน หรือ โบรมีน หรือหมู่ไซแอโน, ไทรฟลูออโรเมธิล,เมธอกซิ,เมธอกซิล,เอธอกซิลไทรฟลูออโรเมธอก ซิ หรือ แอลเคนซัลโฟนิล, ซึ่งส่วนของแอลเคนของหมู่แอล เคนซัลโฟนิลอาจเป็นห่วงโซ่ที่มีกิ่งแยกหรือไม่มีกิ่งแยกที่ มีคาร์บอนจาก 1 ถึง 4 อะตอม, R6 แทนอะตอมของ ไฮโดรเจน,ฟลูออรีน หรือคลอรีน, R7 แทนอะตอมของฟลูออรีนหรือเอธิล และ m แทน 0,1 หรือ 2 ซึ่ง เมื่อ m แทน 2,อะตอมต่างๆ ที่แทนด้วยสัญญาณลักษณ์ R7 อาจ เหมือนกันหรือต่างกัน โดยมีข้อกำหนดคือ (1) เมื่อ R2 แทน ไฮโดรเจนอะตอม, R6 แทนไฮโดรเจนอะตอม และ m แทน 0 และ (2) เมื่อ R2 แทนฟลูออรีนอะตอม,หมู่ไซแอโนหรือเมธิลหรือะเอธิล ซึ่งเลือกถูกแทนที่ด้วย ฟลูออรีนหนึ่งอะตอมหรือมากกว่าและ R6 แทนฟลูออรีน หรือคลอรีนอะตอม, m แทน 0 หรือ 1 2. อนุพันธ์ของนิโคทินาทีข้อถิอสิทธิข้อ 1 ซึ่ง R2 แทน หมู่ไทรฟลูออโรเมธิล 3. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง R2 แทนไฮโตรเจนหรือฟลูออรีนอะตอม,หมู่ไซแอโนหรือหมู่เมธิลหรือ ไทรฟลูออโรเมธิล, R3 แทนฟลูออรีน,คลอรีน หรือโบรมีนอะตอม หรือหมู่เมธอกซิ, ไซแอโน,ไทรฟลูออโรเมธิล, มีเธนธัลโฟนิล หรืออีเธนซัลโฟนิล, R4 และ R5 หมู่ใดหมู่หนึ่งแทนไฮโดรเจน อะตอมและอีกหมู่หนึ่งแทนไฮโดรเจน,ฟลูออรีนหรือคลอรีนอะตอม, R7 แทนฟลูออรีนหรือคลอรีนอะตอม, R8 แทนไฮโดรเจนอะตอม หรือ หมู่เมธิล และมี X, R1, R6 และ m ตามที่นิยามในข้อถือสิทธิข้อ 1 4. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่ง R1 แทนไฮโดรเจนอะตอมหรือหมู่เมธิลหรือเอธิล และ (a) R2 แทน ไฮโดรเจนอะตอม, R6 แทนไฮโดรเจนอะตอม และ m - แทน 0 หรือ (b) R2 แทนฟลูออรีนอะตอม, หมู่ไซแอโนหรือเมธิลหรือหมู่ ไทรฟลูออโรเมธิล, R6 แทน ไฮโดรเจน,คลอรีน หรือฟลูออรีน อะตอม, R7 แทนคลอรีนหรือฟลูออรีนอะตอมและ m แทน 0 หรือ 1 5. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่ง R3 แทนฟลูออรีน,คลอรีนหรือโบรมีนอะตอม, หมู่ไซแอโน, ไทรฟลูออ โรเมธิล,มีเธนซัลโฟนิลหรืออีเธนซัลโฟนิล 6. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 หรือ 5 ซึ่ง R4 และ R5 แต่ละตัวแทนไฮโดรเจนอะตอม 7. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 4,5 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่ง R7 แทนฟลูออรีนอะตอม 8. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่ง X แทนอะตอมของออกซิเจนหรือกำมะถัน, R1 แทนไฮโดรเจนอะตอม, R2 แทนไฮโดรเจนหรือฟลูออรีนอะตอม, R3 แทนหมู่ไทรฟลูออโรเมธิล, R4 และ R5 แต่ละตัวแทนไฮโดรเจน อะตอม, R6 แทนไฮโดรเจนหรือฟลูออรีนอะตอม, R7 แทนฟลูออรีน อะตอม, R8 แทนไฮโดรเจนอะตอมหรือหมู่เมธิลและ m แทน 0 หรือ 1 โดยมีข้อกำหนดคือ (i) เมื่อ R2 แทนไฮโดรเจนอะตอม, R6 แทน ไฮโดรเจนอะตอมและ m แทน 0 และ (ii) เมื่อ R2 แทนฟลูออรีนอะตอม, (a) R6 แทน ไฮโดรเจนอะตอมและ m แทน 0 หรือ m แทน 1 และ R7 แทน ฟลูออรีนอะตอมที่ตำแหน่ง 2-(หรือ 6-) ของเฟนิล ริง,หรือ(b)R6 แทนฟลูออรีนอะตอม และ m แทน 0, หรือ m แทน 1 และ R7 แทนฟลูออรีนอะตอมที่ตำแหน่ง 6-ของเฟนิลจริง 9. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่ง x แทนอะตอมของออกซิเจนหรือกำมะถัน, R1 แทนหมู่เมธิล,และมี R2,R3,R4,R5,R6,R7,R8 และ m ตามที่ นิยามในข้อถือสิทธิข้อ 8 1 0. อนุพันธ์ของนิโคลทิมามีด ตามข้อถือสิทธิข้อ 9 หรือ x แทนไฮโดรเจนอะตอม 1 1. N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟนอกซิ)นิ โคทินามีด 1 2. N-เฟนิล-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟนอกซิ)นิโคทินามีด 1 3. N-(2,4-ไดฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟนอก ซิ)นิโคทินามีด 1 4. N-(3,4-ไดฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟนอก ซิ)นิโคทินามีด 1 5. N-(2,4,5-ไทรฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟ นอกซิ)นิโคทินามีด 1 6. N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)-N-เมธิล-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟ นอกซิ)นิโคทินามีด 1 7. N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟนอกซิ)ไธ โอนิโคทินามีด 18.2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิลเฟนอกซิ)-N-(2,4-ไดฟลูออโรเฟ นิล)-5-เมธิลนิโคทินามีด 1 9. N-(3-คลอโร-4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิล-เฟ นอกซิ)นิโคทินามีด ,N-(4-เมธิลเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออ โรเมธิล-เฟนอกซิ)นิโคทินามีด ,N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินา มีด,2-(3-คลอโรเฟนิกซิ)-N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินามีด, 2-(3,4-ไคคลอโรเฟนอกซิ)-N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินา มีด,2-(3-โบรโมเฟนอกซิ)-N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินามีด, N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-เมธอกซิเฟนอกซิ)นิโคทินา มิค,2-(3-ไซแอโนเฟนอกซิ)-N-(4-ฟลูออโร เฟนิล)นิโคทินามีด,2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)-N-เฟนิลนิโคทินา มิด,2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)-N-(2,4-ไดฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินา มีด,2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)-N-(2,4,6-ไทรฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินา มีด,N-(3-คลอโร-4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)นิโคทิ นามีด,2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)-N-,(4-เมธิลเฟนิล)นิโคทิ นา,2-(3-คลอโรเฟนอกซิ)-N-(4-ไซแอโนเฟนิล)นิโคทินา,2-(3-เมธ อกซิเฟนอกซิ)-N-เฟนิลนิโคทินามิค,N-(2,4-ไดฟลูออโรเฟ นิล)-2-(3-เมธอกซิเฟนอกซิ)นิ โคทินามีด, 2-(3-เมธอกซิเฟนอกซิ)-N-(2,4,6-ไทรฟลูออโรเฟ นิล)นิโคทินามิค, 2-(3-เมธอกซิเฟนอกซิ)-N-(4-เมธิลเฟนิล)นิ โคทินามิค และ N-(3-คลอโร-4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-เมธอกซิเฟ นอกซิ)นิโคทินามิค 2 0. N-(2,4,6-ไทรฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-ไทรฟลูออโรเมธิลเฟนอก ซิ)นิโคทินามิค, N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)-2-(3-มีเธนซัลโฟนิลเฟ นอกซิ)นิโคทินามิค, 2-(3-คลอโร-4-ฟลูออโรเฟนอกซิ)-N-(4-ฟลู ออโรเฟนิล)นิโคทินามีค,2-(3-อีเธนซัลโฟนิล-เฟนอก ซิ)-N-(4-ไทรฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินามีค, 2-(3,4-ไดฟลูออโร เฟนอกซิ)-N-(4-ฟลูออโรเฟนิล)นิโคทินามีค, (สูตรเคมี) 2 1. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X แทนออกซิเจน อะตอมและมี R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่ นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบด้วยการ ให้สารประกอบของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) (ซึ่งมี R1, R2, R6, R7 และ m ตามที่นิยามแล้วในที่นี้) หรือเกลือที่เกิดจากสารเหล่านี้รวมตัวกับกรด, ทำปฏิกิริยา กับสารประกอบของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) ซึ่ง Q แทนหมู่ของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) (ซึ่งมี R3, R4, R5 และ R8 ตามที่นิยามมาก่อนแล้วในที่นี้) และ T แทนอะตอมของคลอรีนหรือโบรมีน หรือหมู่ของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) ซึ่ง W แทนหมู่ของสูตรทั่วไป IV (ซึ่งมี R3, R4, R5 และ R8 ตามที่นิยามมาก่อนแล้วในที่นี้) หรือหมู่แอลคิลซึ่งมิกิ่งแยกหรือไม่มีกิ่งแยกที่มีคาร์บอน จาก 1 ถึง 4 อะตอม 2 2. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X แทนออกซิเจน อะตอมและมี R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่ นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบด้วยการ ให้สารประกอบของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) (ซึ่ง Z แทนอะตอมของคลอรีนหรือโบรมีนและมี R1, R2, R6, R7, R8 และ m ตามที่นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อ 1 )ทำปฏิกิริยา กับเกลือโลหะแอลคาไลของสารประกอบของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) ซึ่งมี R3, R4 และ R5 ตามที่นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อ 1 2 3. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X แทนอะตอมของ กำมะถัน และมี R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตาม ที่นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบด้วย การให้สารประกอบของสูตรทั่วไป (สูตรเคมี) ประกอบของสูตรทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิขอ้ 1 ซึ่ง X แทนออกซิเจนอะตอม และมี R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่นิยามแล้วในข้อถือสิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ทำ ปฏิกิริยากับฟอสฟอรัส เพนทาซัลไฟด์ 2 4. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X, R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่นิยามแล้วในข้อถือ สิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งส่วนใหญ่เหมือนกับที่ได้อธิบาย แล้วในที่นี้ โดยเฉพาะในตัวอย่างที่ 12,13,14 และ 15 ตัว อย่างใดตัวอย่างหนึ่ง 2 5. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X, R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่นิยามแล้วในข้อถือ สิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเตรียมโดยกรรมวิธีตามที่ขอถือ สิทธิในข้อถือสิทธิ 21 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่ง 2 6. กรรมวิธีในการเตรียมอนุพันธ์ของนิโคทินามิคของสูตร ทั่วไป I ที่แสดงไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X, R1, R2, R3, R4, R5, R6, R7, R8 และ m ตามที่นิยามแล้วในข้อถือ สิทธิข้อถือสิทธิข้อ 1 อย่างน้อยชนิดหนึ่งเป็นสารแสดงฤทธิ์ ผสมกับสารทำให้เจือจางหรือพาหะซึ่งเข้ากันได้และเป็นที่ยอม รับสำหรับใช้กับสารฆ่าวัชพืลชนิดเดียวหรือหลายชนิด 2 7. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่งประกอบด้วย อนุพันธ์ของนิโคทินามีดจาก 0.05 ถึง 90% โดยน้ำหนัก 2 8. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 หรือ 27 ซึ่งมี สารทำให้พื้นผิวว่องไวอยุ่ด้วย 2 9. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 28 ซึ่งมีสารทำให้ พื้นผิวว่องไวอยู่จาก 0.5 ถึง 25% 3 0. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึงข้อ 29 ข้อใด ข้อหนึ่งซึ่งสารทำให้เจือจางซึ่งเป็นที่ยอมรับใช้ในสารฆ่า วัชพืชคือน้ำ 3 1. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึงข้อ 30 ข้อใด ข้อหนึ่งซึ่งมีสารอื่นซึ่งมีฤทธิ์ฆ่าศัตรูพืช (รวมทั้งสาร มีฤทธิ์ฆ่าวัชพืช)ชนิดเดียวหรือมากกว่ารวมอยู่ด้วย 3 2. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึงข้อ 31 ข้อใด ข้อหนึ่งซึ่งอนุพันธ์ของนิโคพินามีดคือสารประกอบที่ขอถือ สิทธิข้อถือสิทธิข้อ 2, 4 ถึง 7, 9 และ 10 ข้อใดข้อหนึ่ง 3 3. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึงข้อ 31 ข้อใด ข้อหนึ่ง ซึ่งอนุพันธ์ของนิโคทินามีดที่ใช้ในสารผสมคือสาร ประกอบที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 11 ถึงข้อ 19 ข้อใด ข้อหนึ่ง 3 4. สารผสมฆ่าวัชพืชตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่งส่วนใหญ่ เหมือนกับที่อธิบายมาแล้วโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับตัวอย่างที่ 1 ถึง 11 ตัวอย่างใดตัวอย่างหนึ่ง 3 5. วิธีที่ใช้ควบคุมการเติบโตของวัชพืชที่จุดซึ่งเกิดวัช พืช ซึ่งประกอบด้วยการใช้อนุพันธ์ของนิโคทิมามีด ซึ่งขอถือ สิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อ 20 และข้อ 25 ข้อใดข้อ หนึ่ง ในปริมาณที่มีผลฆ่าวัชพืชในสารผสมฆ่าวัชพืชตามที่ขอ ถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึงข้อ 34 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ จุดซึ่งเกิดวัชพืช 3 6.วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งวัชพืชคือวัชพืชใบกว้าง เช่นชนิดที่กล่าวแล้วในคำบรรยาย 3 7. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งวัชพืชคือวัชพืชหญ้า เช่นชนิดที่กล่าวแล้วในคำบรรยาย 3 8. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ข้อ 36 หรือข้อ 37 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งใช้อนุพันธ์ของนิโคทานิมีดที่บริเวณซึ่งใช้หรือ จะใช้ปลูกพืชที่มีประโยชน์ ในอัตราระหว่าง 0.1 กก. และ 20 กก. ต่อเฮกคาร์ 3 9. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 38 ซึ่งพืชที่มีประโยชน์คือ ธัญญพืช ถั่วเหลือง, ถั่วแคระ, ถั่วฟิลด์ บีนส์ (field begns), ถั่ว (peas), ลูเชร์น (lucerne), ฝ้าย, ถั่วลิสง, ป่านแฟล็กส์ (flax) ต้นหอม, แครอท, กะหล่ำปลี, เมล็ดน้ำ มัน, เรพ (rape), ดอกทานตะวัน, หัวผักกาดหวาน หรือทุ่งหญ้า ซึ่งมีหญ้าขึ้นถาวรหรือหว่านหญ้าแล้ว 4 0. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 38 ซึ่งพืชที่มีประโยชน์คือ ข้าวสาลี, ข้าวบาร์เลย์, ข้าวโอ๊ทส์, ข้าวโพด หรือข้าว 4 1. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 38 ข้อ 39 หรือข้อ 40 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งใช้อนุพันธ์ของนิโคทานิมีด ในอัตราระหว่าง 0.1 กก. และ 4.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 2. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 38 ข้อ 39 หรือข้อ 40 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งใช้อนุพันธ์ของนิโคทานิมีด ในอัตราระหว่าง 0.2 กก. และ 2.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 3. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 41 หรือข้อ 42 ซึ่งใช้สารผสม ฆ่าวัชพืชในการควบคุมวัชพืชใบกว้าง ในบริเวณที่ใช้ปลูกธัญญ พืชก่อนหรือหลังการงอกของทั้งธัญญพืชและวัชพืช 4 4. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 43 ซึ่งใช้สารผสมฆ่าวัชพืชก่อน พืชงอกกับวัชพืชใบกว้าง 4 5. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ข้อ 36 หรือข้อ 37 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งใช้สารผสมฆ่าวัชพืชกับสวนผลไม้, บริเวณปลูกต้น ไม้หรือบริเวณปลูกพืชไร่อื่นๆ ในอัตราระหว่าง 0.5 กก. และ 10.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 6. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 45 ซึ่งใช้อนุพันธ์ของนิโคทานิ มีด ในอัตราระหว่าง 1.0 กก. และ 4.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 7. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ข้อ 36 หรือข้อ 37 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งใช้สารผสมฆ่าวัชพืชที่จุดซึ่งเกิดวัชพืชซึ่งไม่ ใช่บริเวณที่ใช้ปลูกพืชที่มีประโยชน์แต่ต้องการควบคุมวัช พืชในอัตราระหว่าง 2.0 กก. และ 20.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 8. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 47 ซึ่งใช้อนุพันธ์ของนิโคทานิ มีด ในอัตราระหว่าง 10.0 กก. และ 20.0 กก. ต่อเฮกคาร์ 4 9. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ถึงข้อ 48 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งสารผสมฆ่าวัชพืชที่ใช้คือสารผสมตามข้อถือสิทธิข้อ 32 5 0. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ถึงข้อ 48 ข้อใดขอ้หนึ่ง ซึ่งสารผสมฆ่าวัชพืชใช้คือสารผสมที่ขอถือสิทธิในข้อถือ สิทธิข้อ33 5
1. วิธีควบคุมการเติมโตของวัชพืชที่จุดซึ่งเกิดวัชพืชตาม ข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งส่วนใหญ่เหมือนกับที่อธิบายมาแล้ว (ข้อถือสิทธิ 51 ข้อ, 10 หน้า, รูป)
TH8101000292A 1981-11-19 อนุพันธ์ของนิโคทิทามีสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่ TH2489B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH534A true TH534A (th) 1982-08-20
TH534EX TH534EX (th) 1982-08-20
TH2489B TH2489B (th) 1991-08-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JPS62207266A (ja) 新規ヘテロ環式化合物
RU2029471C1 (ru) Производные пиримидина, гербицидная композиция и способ борьбы с сорняками с использованием композиции
HUT54130A (en) Derivates of 5-alkyl-1,3,4-thiadiazole, process for producing them and their usage as nematocide
RU2067395C1 (ru) Иминотиазолиновые соединения, гербицидная композиция и способ борьбы с сорняками
GB2043062A (en) N-(heterocyclyl)-acetanilide derivatives and herbicidal and plant growth regulating compositions containing them
JPS5998004A (ja) 1,2,4―トリアゾール誘導体及び除草剤
US4531966A (en) Herbicide compositions
TH534A (th) อนุพันธ์ของนิโคทิทามีสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่
TH2489B (th) อนุพันธ์ของนิโคทิทามีสารฆ่าวัชพืชชนิดใหม่
JPS63126804A (ja) 農園芸用殺虫組成物
JPS63126806A (ja) 農園芸用殺虫剤組成物
JPH0368566A (ja) 5‐置換3‐アリールインオキサゾール‐誘導体、その製法及びこれを含有する有害生物防除剤
JPS63264489A (ja) チアジアザビシクロノナン誘導体及び除草剤
EP0001349B1 (en) N-substituted benzothiazolones and their use as herbicides and plant growth regulators
JPS6372608A (ja) 農園芸用殺虫殺菌組成物
JPS63156705A (ja) 農業用殺虫殺菌剤組成物
JPS6372609A (ja) 農園芸用殺虫殺菌組成物
JPS63150205A (ja) 農業用殺虫殺菌組成物
JPS6023357A (ja) 2−メチル−4′−イソプロピル−2−ペンテノイルアニリドおよび選択性殺草剤
JPH0222208A (ja) 除草剤組成物
US3786048A (en) Sulfilimine compounds
JPS5929645A (ja) フエノキシアルカン酸のアミド誘導体および除草剤
JPS63154602A (ja) 農園芸用の殺虫殺菌組成物
KR950009519B1 (ko) 제초제 조성물
TW386019B (en) Insecticidally active aryl pyrimidine compounds and compositions comprising them and methods using them to control insects