TH125679A - ตัวเร่งปฏิกิริยาไทนาเนียโครงสร้างอนาเทสอนุภาคละเอียด ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกา และวิธีการผลิตตัวเร่งดัวกล่าว - Google Patents

ตัวเร่งปฏิกิริยาไทนาเนียโครงสร้างอนาเทสอนุภาคละเอียด ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกา และวิธีการผลิตตัวเร่งดัวกล่าว

Info

Publication number
TH125679A
TH125679A TH1201000339A TH1201000339A TH125679A TH 125679 A TH125679 A TH 125679A TH 1201000339 A TH1201000339 A TH 1201000339A TH 1201000339 A TH1201000339 A TH 1201000339A TH 125679 A TH125679 A TH 125679A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
titania
silica
catalyst
silicon dioxide
dry weight
Prior art date
Application number
TH1201000339A
Other languages
English (en)
Other versions
TH125679B (th
Inventor
แชมแมน
เดวิด
เอ็ม
Original Assignee
ว่าที่ ร.ต.วินยาธกร ใจเอก
นายปรารถนา อุบลสุวรรณ
Filing date
Publication date
Application filed by ว่าที่ ร.ต.วินยาธกร ใจเอก, นายปรารถนา อุบลสุวรรณ filed Critical ว่าที่ ร.ต.วินยาธกร ใจเอก
Publication of TH125679A publication Critical patent/TH125679A/th
Publication of TH125679B publication Critical patent/TH125679B/th

Links

Abstract

DC60 (27/01/55) การประดิษฐ์นี้มุ่งอธิบายองค์ประกอบและกระบวนการผลิตไททาเนียโครงสร้างแบบ อนาเทสอนุภาคละเอียดที่มีความเสถียรเพื่อใช้เป็นวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียเพื่อใช้เร่งปฏิกิริยา ในระบบควบคุมมลภาวะจากไอเสีย การรักษาสภาพเสถียรเกี่ยวข้องกับการใส่ไททาเนียลงในซิลิการ รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาและละลายน้ำได้และ/หรือซิลิการูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็ก (< 5 นาโน เมตร) ที่รวมตัวอย่างเหมาะสม เช่น เตตระ(แอลคิล)แอมโมเนียมซิลิเกต เตตระเมทิลแอมโมเนียม หรือ กรดซิลิซิก ซึ่งทำหน้าที่ในการรักษาวัฏภาคอนาเทสและป้องกันการเผาไล่น้ำ (การเจริญเติบโตของผลึก) ภายใต้สภาพความร้อนและความร้อนชื้นสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าจะมีวานาเดียปรากฏอยู่ด้วย ไททาเนียชนิดใหม่ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกาผสมกับวานาเดียมีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยารีดักชัน แบบเลือกเกิดของก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ที่เท่ากันหรือมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยา วานาเดียที่มีซิลิกา-ไททาเนียเป็นหลักที่มีอยู่ในปัจจุบัน ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่ง ประกอบด้วยอนุภาคไททาเนียโครงสร้างรูปแบบอนาเทสคิดเป็นไททาเนีย >85% โดยน้ำหนักของน้ำหนัก แห้ง และซิลิกอนไดออกไซด์ <10% โดยน้ำหนักของน้ำหนักแห้ง ที่มีซิลิกอนไดออกไซด์ในรูปแบบน้ำหนัก โมเลกุลเบาและ/หรืออนุภาคนาโนขนาดเล็กอย่างมาก วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาอาจมีส่วนประกอบ เพิ่มเติม เช่น ทังสเตนออกไซด์ 3% ถึง 10% และมีพื้นที่ผิวและปริมาตรโพรงอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อ กิกกะเมตร เป็นต้น วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาอาจประกอบด้วยไททาเนีย >85% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง เป็นต้น ซิลิกอนออกไซด์อาจมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำของวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา ซิลิกอนไอออกไซด์รูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็กอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด <5 นาโนเมตร ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาจะมีน้ำหนักโมเลกุล <100,000 ซิลิกอนไดออกไซด์ ประกอบด้วยอะตอมซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 ซิลิกอนไดออกไซด์อาจประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรภายหลังการกระจายตัวซ้ำโดย เห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดหรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน ทั้งนี้ไม่สามารถ เตรียมไททาเนียในที่ๆ มียูเรียได้ ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่ประกอบด้วย วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่อธิบายไว้นี้ซึ่งประกอบด้วยวานาเดียม เพนทอกไซด์ที่ตัดออกไป ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง (หรือโดยเฉพาะ 1.0 ถึง 3%) วานาเดียมเพนทอกไซด์อาจมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียจะเผาไล่น้ำที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นต้น ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ เครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ ดีเซลล์ดังที่อธิบายไว้นี้ ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ ระบบควบคุมมลภาวะจากไอเสีย ของเครื่องยนต์ดีเซลซึ่งประกอบด้วยเครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ดีเซลที่ อธิบายไว้ข้างต้นนี้และส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซล โดยเครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจาก เครื่องยนต์ดีเซลจะวางอยู่ในทิศทางย้อนกลับหรือทิศทางเดียวกันกับส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซล ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วิธีการเร่งปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนไนโตรเจน ออกไซด์เป็นก๊าซไนโตรเจน ประกอบด้วยการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ที่มีก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ไป ยังตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่อธิบายไว้นี้และเพิ่มตัวรีดิวซ์เข้าไปเพื่อผลิตก๊าซไนโตรเจนและน้ำ ตัวรีดิวซ์ อาจเป็นแอมโมเนียและ/หรือยูเรีย เป็นต้น ในวิธีการดังกล่าว ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียประกอบด้วย วานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง (หรือโดยเฉพาะ 1.0 ถึง 3%) เป็นต้น การปล่อย มลภาวะของเครื่องยนต์จะส่งต่อไปยังส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซลก่อนหรือหลังการสัมผัสกับตัวเร่ง ปฏิกิริยาวานาเดีย ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วิธีการผลิตวัสดุสารรองรับตัวเร่ง ปฏิกิริยาซึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของไททาเนียผสมกับ (1) สารละลายตั้งต้นซิลิกาที่ประกอบด้วย ซิลิกอนไดออกไซด์ในรูปน้ำหนักโมเลกุลเบาและ/หรือซิลิกอนไดออกไซด์อนุภาคนาโนขนาดเล็ก และ (2) ทังสเตนออกไซด์เพื่อทำเป็นสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มีสารละลายตั้งต้นซิลิกาผสมกับส่วนผสมของ ไททาเนียก่อน หลัง หรือระหว่างที่ทำการการผสมทังสเตนออกไซด์เข้าไปในส่วนผสมไททาเนียนั้น แล้วจึง ล้างและเผาไล่น้ำส่วนผสม TiO2-WO3.SiO2 เพื่อทำให้เกิดเป็นวัสดุรองรับไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วย ซิลิกา วิธีการนี้ทำให้ได้วัสดุรองรับไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่ประกอบด้วยไททาเนีย 86%-94% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-7% ของน้ำหนัก แห้ง และมีวัสดุรองรับไททาเนียที่มีพื้นที่ผิวอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อกิกกะเมตรก่อนการเผาไล่น้ำ ส่วนผสมไททาเนียอาจประกอบด้วย อนุภาคไททาเนียมไฮดรอกไซด์ที่ทำปฏิกิริยาแล้ว ไททาเนียมออก ซีไฮดรอกไซด์ หรือไททาเนียมไดออกไซด์ เป็นต้น นอกจากนี้ การผลิตส่วนผสมไททาเนียจะไม่ใช้ยูเรีย ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็กของสารละลายตั้งต้นซิลิกาอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด <5 นาโนเมตรอยู่อย่างมาก ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาของสารละลายตั้งต้น ซิลิกาจะมีน้ำหนักโมเลกุล <100,000 ซิลิกอนไดออกไซด์ของสารละลายตั้งต้นซิลิกาประกอบด้วยอะตอม ซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 สารละลายตั้งต้นซิลิกาอาจ ประกอบด้วยสารละลายเตตระ(แอลคิล)แอมโมเนียมซิลิเกต หรือกรดซิลิซิก ซิลิกอนไดออกไซด์อาจ ประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรจำนวนมากภายหลังการกระจายตัวซ้ำโดยเห็นด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดหรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน วิธีการดังกล่าวอาจ ประกอบด้วยสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มีวานาเดียมเพนทอกไซด์เพื่อทำให้เกิดตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่เกิดขึ้นจะประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 3% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง ที่มีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียจะเผาไล่ น้ำที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นต้น ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ การพิจารณาวิธีการผลิตวัสดุรองรับ ตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกา โดยใช้ส่วนผสมไททาเนียที่ประกอบด้วยอนุภาค ไททาเนียและแหล่งอนุภาคซิลิกา และผสมส่วนผสมไททาเนียกับแหล่งอนุภาคซิลิกาจนเป็นสารผสม TiO2-SiO2 แล้วจึงปรับให้ค่า pH <8.5 และอุณหภูมิ <80 องศาเซลเซียส ซึ่งจะทำให้แหล่งอนุภาคซิลิกา ละลายและตกตะกอนลงบนอนุภาคไททาเนียเกิดเป็นวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียร โดยซิลิกา วิธีการดังกล่าวอาจมีขั้นตอนเพิ่มเติมในการรวมวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้ เสถียรโดยซิลิกากับทังสเตนออกไซด์เพื่อทำให้เกิดวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่ง ทำให้เสถียรด้วยซิลิกา วิธีการดังกล่าวอาจมีขั้นตอนเพิ่มเติมในการล้างและเผาไล่น้ำวัสดุรองรับตัวเร่ง ปฏิกิริยาทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่งทำให้เสถียรด้วยซิลิกา วิธีการนี้ทำให้ได้วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา ทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่งทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่ประกอบด้วยไททาเนีย 86%-94% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-7% ของน้ำหนักแห้ง และวัสดุ รองรับไททาเนียที่มีพื้นที่ผิวอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อกิกกะเมตรก่อนการเผาไล่น้ำ อนุภาคไททาเนีย ของส่วนผสมไททาเนียอาจประกอบด้วย อนุภาคไททาเนียมไฮดรอกไซด์ที่ทำปฏิกิริยาแล้ว ไททาเนียม ออกซีไฮดรอกไซด์ หรือไททาเนียมไดออกไซด์ เป็นต้น นอกจากนี้ การผลิตอนุภาคไททาเนียของส่วนผสม ไททาเนียจะไม่ใช้ยูเรีย ซิลิกอนไดออกไซด์ของสารผสม TiO2-SiO2 ที่ละลายแล้วประกอบด้วยอะตอม ซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 ซิลิกอนไดออกไซด์บนอนุภาค ไททาเนียสำหรับวิธีการดังกล่าวอาจประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรจำนวนมาก ภายหลังซิลิกอนไดออกไซด์เกิดการกระจายตัวซ้ำ โดยเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด หรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน วิธีการดังกล่าวอาจประกอบด้วยสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มี วานาเดียมเพนทอกไซด์เพื่อทำให้เกิดตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่เกิดขึ้นจะ ประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 3% ของน้ำหนักแห้ง โดยวานาเดียมเพนทอกไซด์ของ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ และตัวเร่งปฏิกิริยา วานาเดียจะถูกเผาไล่น้ำที่อุณหภูมิ >650 องศาเซลเซียส

Claims (2)

: DC60 (27/01/55) การประดิษฐ์นี้มุ่งอธิบายองค์ประกอบและกระบวนการผลิตไททาเนียโครงสร้างแบบ อนาเทสอนุภาคละเอียดที่มีความเสถียรเพื่อใช้เป็นวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียเพื่อใช้เร่งปฏิกิริยา ในระบบควบคุมมลภาวะจากไอเสีย การรักษาสภาพเสถียรเกี่ยวข้องกับการใส่ไททาเนียลงในซิลิการ รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาและละลายน้ำได้และ/หรือซิลิการูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็ก (< 5 นาโน เมตร) ที่รวมตัวอย่างเหมาะสม เช่น เตตระ(แอลคิล)แอมโมเนียมซิลิเกต เตตระเมทิลแอมโมเนียม หรือ กรดซิลิซิก ซึ่งทำหน้าที่ในการรักษาวัฏภาคอนาเทสและป้องกันการเผาไล่น้ำ (การเจริญเติบโตของผลึก) ภายใต้สภาพความร้อนและความร้อนชื้นสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าจะมีวานาเดียปรากฏอยู่ด้วย ไททาเนียชนิดใหม่ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกาผสมกับวานาเดียมีความสามารถในการเร่งปฏิกิริยารีดักชัน แบบเลือกเกิดของก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ที่เท่ากันหรือมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฏิกิริยา วานาเดียที่มีซิลิกา-ไททาเนียเป็นหลักที่มีอยู่ในปัจจุบัน ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่ง ประกอบด้วยอนุภาคไททาเนียโครงสร้างรูปแบบอนาเทสคิดเป็นไททาเนีย >85% โดยน้ำหนักของน้ำหนัก แห้ง และซิลิกอนไดออกไซด์ <10% โดยน้ำหนักของน้ำหนักแห้ง ที่มีซิลิกอนไดออกไซด์ในรูปแบบน้ำหนัก โมเลกุลเบาและ/หรืออนุภาคนาโนขนาดเล็กอย่างมาก วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาอาจมีส่วนประกอบ เพิ่มเติม เช่น ทังสเตนออกไซด์ 3% ถึง 10% และมีพื้นที่ผิวและปริมาตรโพรงอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อ กิกกะเมตร เป็นต้น วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาอาจประกอบด้วยไททาเนีย >85% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง เป็นต้น ซิลิกอนออกไซด์อาจมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำของวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา ซิลิกอนไอออกไซด์รูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็กอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด <5 นาโนเมตร ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาจะมีน้ำหนักโมเลกุล <100,000 ซิลิกอนไดออกไซด์ ประกอบด้วยอะตอมซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 ซิลิกอนไดออกไซด์อาจประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรภายหลังการกระจายตัวซ้ำโดย เห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดหรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน ทั้งนี้ไม่สามารถ เตรียมไททาเนียในที่ๆ มียูเรียได้ ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่ประกอบด้วย วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่อธิบายไว้นี้ซึ่งประกอบด้วยวานาเดียม เพนทอกไซด์ที่ตัดออกไป ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง (หรือโดยเฉพาะ 1.0 ถึง 3%) วานาเดียมเพนทอกไซด์อาจมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียจะเผาไล่น้ำที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นต้น ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ เครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ ดีเซลล์ดังที่อธิบายไว้นี้ ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ ระบบควบคุมมลภาวะจากไอเสีย ของเครื่องยนต์ดีเซลซึ่งประกอบด้วยเครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ดีเซลที่ อธิบายไว้ข้างต้นนี้และส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซล โดยเครื่องมือเร่งปฏิกิริยาการปล่อยมลภาวะจาก เครื่องยนต์ดีเซลจะวางอยู่ในทิศทางย้อนกลับหรือทิศทางเดียวกันกับส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซล ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วิธีการเร่งปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนไนโตรเจน ออกไซด์เป็นก๊าซไนโตรเจน ประกอบด้วยการปล่อยมลภาวะจากเครื่องยนต์ที่มีก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ไป ยังตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่อธิบายไว้นี้และเพิ่มตัวรีดิวซ์เข้าไปเพื่อผลิตก๊าซไนโตรเจนและน้ำ ตัวรีดิวซ์ อาจเป็นแอมโมเนียและ/หรือยูเรีย เป็นต้น ในวิธีการดังกล่าว ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียประกอบด้วย วานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง (หรือโดยเฉพาะ 1.0 ถึง 3%) เป็นต้น การปล่อย มลภาวะของเครื่องยนต์จะส่งต่อไปยังส่วนกรองของเครื่องยนต์ดีเซลก่อนหรือหลังการสัมผัสกับตัวเร่ง ปฏิกิริยาวานาเดีย ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ วิธีการผลิตวัสดุสารรองรับตัวเร่ง ปฏิกิริยาซึ่งประกอบด้วยส่วนผสมของไททาเนียผสมกับ (1) สารละลายตั้งต้นซิลิกาที่ประกอบด้วย ซิลิกอนไดออกไซด์ในรูปน้ำหนักโมเลกุลเบาและ/หรือซิลิกอนไดออกไซด์อนุภาคนาโนขนาดเล็ก และ (2) ทังสเตนออกไซด์เพื่อทำเป็นสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มีสารละลายตั้งต้นซิลิกาผสมกับส่วนผสมของ ไททาเนียก่อน หลัง หรือระหว่างที่ทำการการผสมทังสเตนออกไซด์เข้าไปในส่วนผสมไททาเนียนั้น แล้วจึง ล้างและเผาไล่น้ำส่วนผสม TiO2-WO 3.SiO2 เพื่อทำให้เกิดเป็นวัสดุรองรับไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วย ซิลิกา วิธีการนี้ทำให้ได้วัสดุรองรับไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่ประกอบด้วยไททาเนีย 86%-94% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-7% ของน้ำหนัก แห้ง และมีวัสดุรองรับไททาเนียที่มีพื้นที่ผิวอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อกิกกะเมตรก่อนการเผาไล่น้ำ ส่วนผสมไททาเนียอาจประกอบด้วย อนุภาคไททาเนียมไฮดรอกไซด์ที่ทำปฏิกิริยาแล้ว ไททาเนียมออก ซีไฮดรอกไซด์ หรือไททาเนียมไดออกไซด์ เป็นต้น นอกจากนี้ การผลิตส่วนผสมไททาเนียจะไม่ใช้ยูเรีย ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบอนุภาคนาโนขนาดเล็กของสารละลายตั้งต้นซิลิกาอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาด <5 นาโนเมตรอยู่อย่างมาก ซิลิกอนไดออกไซด์รูปแบบน้ำหนักโมเลกุลเบาของสารละลายตั้งต้น ซิลิกาจะมีน้ำหนักโมเลกุล <100,000 ซิลิกอนไดออกไซด์ของสารละลายตั้งต้นซิลิกาประกอบด้วยอะตอม ซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 สารละลายตั้งต้นซิลิกาอาจ ประกอบด้วยสารละลายเตตระ(แอลคิล)แอมโมเนียมซิลิเกต หรือกรดซิลิซิก ซิลิกอนไดออกไซด์อาจ ประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรจำนวนมากภายหลังการกระจายตัวซ้ำโดยเห็นด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดหรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน วิธีการดังกล่าวอาจ ประกอบด้วยสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มีวานาเดียมเพนทอกไซด์เพื่อทำให้เกิดตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่เกิดขึ้นจะประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 3% ถึง 5% ของน้ำหนักแห้ง ที่มีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียจะเผาไล่ น้ำที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เป็นต้น ลักษณะอีกประการหนึ่งของสิ่งประดิษฐ์นี้ คือ การพิจารณาวิธีการผลิตวัสดุรองรับ ตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียรด้วยซิลิกา โดยใช้ส่วนผสมไททาเนียที่ประกอบด้วยอนุภาค ไททาเนียและแหล่งอนุภาคซิลิกา และผสมส่วนผสมไททาเนียกับแหล่งอนุภาคซิลิกาจนเป็นสารผสม TiO2-SiO2 แล้วจึงปรับให้ค่า pH <8.5 และอุณหภูมิ <80 องศาเซลเซียส ซึ่งจะทำให้แหล่งอนุภาคซิลิกา ละลายและตกตะกอนลงบนอนุภาคไททาเนียเกิดเป็นวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้เสถียร โดยซิลิกา วิธีการดังกล่าวอาจมีขั้นตอนเพิ่มเติมในการรวมวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่ทำให้ เสถียรโดยซิลิกากับทังสเตนออกไซด์เพื่อทำให้เกิดวัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่ง ทำให้เสถียรด้วยซิลิกา วิธีการดังกล่าวอาจมีขั้นตอนเพิ่มเติมในการล้างและเผาไล่น้ำวัสดุรองรับตัวเร่ง ปฏิกิริยาทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่งทำให้เสถียรด้วยซิลิกา วิธีการนี้ทำให้ได้วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา ทังสเตนที่มีไททาเนียซึ่งทำให้เสถียรด้วยซิลิกาที่ประกอบด้วยไททาเนีย 86%-94% ของน้ำหนักแห้ง ซิลิกอนไดออกไซด์ 3%-9% ของน้ำหนักแห้ง และทังสเตนออกไซด์ 3%-7% ของน้ำหนักแห้ง และวัสดุ รองรับไททาเนียที่มีพื้นที่ผิวอย่างน้อย 80 ตารางเมตรต่อกิกกะเมตรก่อนการเผาไล่น้ำ อนุภาคไททาเนีย ของส่วนผสมไททาเนียอาจประกอบด้วย อนุภาคไททาเนียมไฮดรอกไซด์ที่ทำปฏิกิริยาแล้ว ไททาเนียม ออกซีไฮดรอกไซด์ หรือไททาเนียมไดออกไซด์ เป็นต้น นอกจากนี้ การผลิตอนุภาคไททาเนียของส่วนผสม ไททาเนียจะไม่ใช้ยูเรีย ซิลิกอนไดออกไซด์ของสารผสม TiO2-SiO2 ที่ละลายแล้วประกอบด้วยอะตอม ซิลิกอนจำนวนมาก (>50%) ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0 ซิลิกอนไดออกไซด์บนอนุภาค ไททาเนียสำหรับวิธีการดังกล่าวอาจประกอบด้วยชั้นฟิล์มที่มีความลึก <5 นาโนเมตรจำนวนมาก ภายหลังซิลิกอนไดออกไซด์เกิดการกระจายตัวซ้ำ โดยเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด หรือกล้องจุลทรรศน์แบบส่องผ่าน วิธีการดังกล่าวอาจประกอบด้วยสารผสม TiO2-WO3-SiO2 ที่มี วานาเดียมเพนทอกไซด์เพื่อทำให้เกิดตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียที่เกิดขึ้นจะ ประกอบด้วยวานาเดียมเพนทอกไซด์ 0.5% ถึง 3% ของน้ำหนักแห้ง โดยวานาเดียมเพนทอกไซด์ของ ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดียมีค่าสัดส่วนชั้นเดียวน้อยกว่า 1.0 ก่อนการเผาไล่น้ำ และตัวเร่งปฏิกิริยา วานาเดียจะถูกเผาไล่น้ำที่อุณหภูมิ >650 องศาเซลเซียส ข้อถือสิทธิ์ (ข้อที่หนึ่ง) ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : ------16/03/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. อนุภาคไททาฌียโครงสร้างรูปแบบอนาเทสที่ประกอบด้วย ฑ02 มากกว่าหรือเท่ากับ 85 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนักแห้ง และซิลิกามากกว่า 0 เปอร์เซ็นต์และน้อยกว่า หรือเท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนักแห้ง โดยที่ (0 ซิลิกาอยู่ในรูปที่ถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย โอลิโกเมอร์นํ้าหนักโมเลกุลดร อนุภาคนาโนขนาดเล็ก และการผสมรวมกันของมัน และ (ii) อะตอม ซิลิกอนของซิลิกาอย่างน้อย 50 เปอร์เซ็นต์อยู่ในสภาพพันธะเคมี Q3, Q2, Q1 และ Q0
2. อนุภาคไททาเมียโครงสร้างรแท็ก :
TH1201000339A 2010-09-07 ตัวเร่งปฏิกิริยาไทนาเนียโครงสร้างอนาเทสอนุภาคละเอียด ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกา และวิธีการผลิตตัวเร่งดัวกล่าว (silica-stabilized ultrafine anatase titania,vanadia catalysts,and methods of production thereof) TH125679B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH125679A true TH125679A (th) 2013-07-25
TH125679B TH125679B (th) 2013-07-25

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN105642299B (zh) 一种镍掺杂的铁酸镧/粘土纳米结构复合材料及其制备方法和应用
JP7309785B2 (ja) 担持触媒、モノリス選択的接触還元(scr)触媒、その製造方法、及び窒素酸化物除去方法
RU2600208C2 (ru) Система селективной каталитической нейтрализации для поглощения летучих соединений
TWI432258B (zh) 觸媒承載材料及製造方法
JP6125552B2 (ja) 選択的アンモニア酸化用の二機能性触媒
JP6971985B6 (ja) V及びSbを含む複合酸化物を含む選択的触媒還元(SCR)触媒、その製造方法、及び窒素酸化物除去のためのその使用方法
JP5564109B2 (ja) 特有の多孔度を有する酸化セリウムおよび酸化ジルコニウムを含む組成物、この調製方法および触媒作用におけるこの使用
KR20200032259A (ko) 제올라이트 촉진된 V/Tⅰ/W 촉매
JP2017536228A (ja) 触媒ファブリックフィルターの製造方法及び触媒ファブリックフィルター
KR101629483B1 (ko) 바나듐계 탈질촉매 및 그 제조방법
US9302251B2 (en) NOx removal catalyst for high-temperature flue gas, manufacturing method thereof, and NOx removal method for high-temperature flue gas
JP2014515698A (ja) ジルコニウム、セリウム、セリウム以外の少なくとも1種の希土類、及びケイ素の酸化物を基材とする組成物、その製造方法並びに触媒におけるその使用
JP2009262006A (ja) 脱硝触媒製造用スラリー、同スラリーの製造方法、同スラリーを用いる脱硝触媒の製造方法および同方法により製造された脱硝触媒
JP5880527B2 (ja) 排ガス浄化用触媒
JP2005144299A (ja) 窒素酸化物除去用触媒および窒素酸化物除去方法
JP2006223959A (ja) 排ガス脱硝触媒の製造方法
WO2012132540A1 (ja) 脱硝触媒の調製方法
TH125679A (th) ตัวเร่งปฏิกิริยาไทนาเนียโครงสร้างอนาเทสอนุภาคละเอียด ตัวเร่งปฏิกิริยาวานาเดีย ที่ทำให้เสถียรโดยซิลิกา และวิธีการผลิตตัวเร่งดัวกล่าว
KR101659419B1 (ko) 나노입자 담지 촉매의 제조방법
CN106390998B (zh) 一种纳米二氧化钛基复合催化剂及其制备方法
JP7421571B2 (ja) 複合粒子状物質除去及び窒素酸化物の選択的触媒還元(scr)のための触媒セラミックキャンドルフィルタ
KR20100119378A (ko) 디젤 차량의 배출가스 저감장치용 혼합촉매와 그 제조방법
Kimura et al. Nepheline Synthesized from Sodalite as Diesel-Soot Combustion Catalyst: Structure–Property Relationship Study for an Enhanced Water Tolerance
US9463453B2 (en) Method for producing NOx removal catalyst for high-temperature exhaust gas
CN110694671A (zh) 一种使用天然硅藻土合成的分子筛型scr脱硝催化剂及其制备方法