TH10887B - วิธีผลิตแอลดิไฮด์ - Google Patents

วิธีผลิตแอลดิไฮด์

Info

Publication number
TH10887B
TH10887B TH9501003216A TH9501003216A TH10887B TH 10887 B TH10887 B TH 10887B TH 9501003216 A TH9501003216 A TH 9501003216A TH 9501003216 A TH9501003216 A TH 9501003216A TH 10887 B TH10887 B TH 10887B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
production method
group
separation
aldehyde
aldehyde production
Prior art date
Application number
TH9501003216A
Other languages
English (en)
Other versions
TH24386A (th
Inventor
โมริ นายโตโมยูกิ
ทาคาอิ นายมาซากิ
อิโนว์เอะ นายโตโมฮิโกะ
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH24386A publication Critical patent/TH24386A/th
Publication of TH10887B publication Critical patent/TH10887B/th

Links

Abstract

วิธีผลิตแอลดิไฮด์ ซึ่งประกอบด้วยปฏิกิริยาของสารประกอบที่ไม่อิ่มตัว แบบโอลิฟินกับคาร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรเจนสำหรับไฮโดรฟอร์มิเลชันเมื่อมี ตัวเร่งปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟทฟ์ เพื่อให้ได้สารละลายของผล ปฏิกิริยาซึ่งประกอบด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ และ ผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์ และแยกส่วนประกอบอย่างน้อย 1 ชนิดที่เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบ ด้วยคาร์บอน มอนอกไซด์, ไฮโดรเจน, สารประกอบซึ่งไม่อิ่มตัวแบบโอลิฟินที่ไม่ทำ ปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์ ตัวทำละลาย ผลพลอยได้ชนิดจุดเดือดปานกลางและผล พลอยได้ชนิดจุดเดือดสูงออกจากสารละลายของผลปฏิกิริยานั้นโดยการแยกออกจากกัน ซึ่งการแยกอย่างน้อย 1 ขั้นตอนกระทำโดยถือว่าปราศจากน้ำ และได้เลือกอุณหภูมิและ เรซิเดนซ์ไทม์ ในการแยกนั้นให้อยู่ในช่วงซึ่งทำให้ค่า P ที่คำนวณจากสูตร (1) ต่อไปนี้อย่างมากที่สุดคือ 1 P = 5.0 x 103 x exp [ -5000/ (T1+273)] x เธตาT1 (1) ซึ่ง T1 คืออุณหภูมิสูงสุด ( ํ ซ ) ในการแยกนั้น และ เธตาT1 คือเรซิเดนซ์ไทม์ (นาที) ของของเหลวในการแยกนั้น

Claims (8)

1. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ ซึ่งประกอบด้วยปฏิกิริยาของสารประกอบซึ่งไม่ อิ่มตัวแบบโอลิฟินกับคาร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรเจนสำหรับไฮโดรฟอร์มิเลชัน เมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟทฟ์ เพื่อให้ได้สารละลาย ของผลปฏิกิริยาที่ประกอบด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ และผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์ และแยกส่วนประกอบอย่างน้อย 1 ชนิดซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจน สารประกอบซึ่งไม่อิ่มตัวแบบโอลิฟิน ที่ไม่ทำปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์ ตัวทำละลาย ผลพลอยได้ชนิดจุดเดือดปานกลาง และผลพลอยได้ชนิดจุดเดือดสูงออกจากสารละลายของผลปฏิกิริยานั้นโดยการแยก ซึ่ง การแยกอย่างน้อย 1ขั้นตอนกระทำโดยถือว่าปราศจากน้ำ และอุณหภูมิและเรซิเดนซ์ ไทม์ในการแยกนั้นได้เลือกให้อยู่ในช่วงซึ่งทำให้ค่า P ที่คำนวณจากสูตร (1) ต่อไปนี้ อย่างมากที่สุดคือ 1 P = 5.0 x 103 x exp [ -5000/ (T1+273)] x เธตาT1 (1) ซึ่ง T1 คืออุณหภูมิสูงสุด ( ํซ ) ในการแยกนั้น, และ เธตาT1 คือเรซิเดนซ์ไทม์(นาที) ของของเหลวในการแยกนั้น 2. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งได้เลือกอุณหภูมิและเรซิเดนซ์ ไทม์ในการแยกนั้นให้อยู่ในช่วงซึ่งทำให้ค่า P ที่คำนวณจากสูตร (2) ต่อไปนี้อย่างมาก ที่สุด 1 P = 9.6 x 103 x exp [ -5000/ (T1+273)] x เธตาT1 ซึ่ง T1 คืออุณหภูมิสูงสุด ( ํซ ) ในการแยกนั้นและ เธตาT1 คือเรซิเดนซ์ไทม์(นาที) ของของเหลวในการแยกนั้น 3. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งการแยกนั้นเป็นการกระทำ เพื่อแยกสารประกอบซึ่งไม่อิ่มตัวแบบโอลิฟินที่ไม่ทำปฏิกิริยาหรือผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์โดย การกลั่น 4. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งอุณหภูมิ T1ในการแยก นั้นคือจาก 30 ถึง 160 ํซ และเรซิเดนซ์ไทม์ เธตาT1 คือจาก 0.01 ถึง 180 นาที 5. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสิแทนต์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเถทสารเชิงช้อนโรเดียม -ฟอสไฟห์นั้นคือไซคลิดหรือนอน ไซคลิค บิสฟอสไฟท์ 6. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งส่วนประกอบแอลกอออล์ อย่างน้อย 1 ชนิดของสารประกอบฟอสไฟท์นั้นคือ แอโรเมทิค แอลกอฮอล์ ที่มีหมู่ แทนที่ไฮโดรคาร์บอนอยู่บนคาร์บอนอะตอมซึ่งอยู่ติดกับคาร์บอนอะตอมที่ยึดเหนี่ยวกับ ออกซิเจนอะตอม 7. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ นั้นคือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีโครงสร้างแบบ ไม่เป็นไซคลิคที่ประกอบด้วยฟอสฟอรัสอะตอมอยู่ในโมเลกุล 8. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ คือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีสูตร (5) ต่อไปนี้ P (OR1) (OR2) (OR3) (5) ซึ่ง R1, R2 และ R3 แต่ละหมู่ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกันคือหมู่อินทรีย์ภายใต้เงื่อนไขว่า อย่างน้อย 1 หมู่ของหมู่เหล่านี้คือหมู่ซับสทิทิวเทด -2-แนฟธิล ที่มีสูตร (7) ต่อไปนี้ (สูตรเคมี) (7) ซึ่ง R4 คือหมู่ที่มีสูตร C (R9) (R10) (R11) หรือหมู่แอริลซึ่งอาจมีหมู่แทนที่ ซึ่ง R9, R10 และ R11 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันคือไฮโดรเจนอะตอม หมู่ไฮโดรคาร์บอน หรือหมู่ฟลูออริเนเทดไฮโดรคาร์บอน และ R12,R13, R14, R15 และ R16 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันคือไฮโดรเจนอะตอมหรือหมู่อินทรีย์ 9. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่ง ปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ คือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีสูตร (8) ต่อไปนี้ A1 [ -O-P (OR17) OR18)] n (8) ซึ่ง R17 และ R18 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันคือหมู่แอโรแมทิค ไฮโดรคาร์บอน ภายใต้เงื่อนไขว่าหมู่แอโรแมทิคไฮโดรคาร์บอนอย่างน้อย 1 หมู่ มีหมู่ไฮโดรคาร์บอนบนคาร์บอนอะตอม ซึ่งอยู่ติดกับคาร์บอนอะตอมที่ยึดเหนี่ยวกับ ออกซิเจนอะตอม A1 คือหมู่อินทรีย์ชนิด n-เวเลนท์ซึ่งมีโครงสร้างบางส่วนของ แอลิแฟทิคไฮโดรคาร์บอน แอลิไซคลิค ไฮโดรคาร์บอน หรือแอโรแมทิค ไฮโดร คาร์บอน ซึ่งอาจมีหมู่แทนที่หมู่ [ -O-P (OR17) OR18)] แต่ละหมู่อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกัน และ n คือจำนวนเต็มจาก 2 ถึง 4 1 0. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งมีแอมีนในขั้นตอนการแยก นั้นเป็นส่วนประกอบอย่างน้อย 1 ชนิด 1
1. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งมีแอมีนนั้นคือสารซึ่งมี จุดเดือดสูงกว่าผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์นั้น 1
2. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งมีแอมีนนั้นคือเทอร์เชียรี แอมีน 1
3. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งมีแอมีนนั้นในปริมาณจาก 1 ถึง 20 โมลต่อโมลของโรเดียม 1
4. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งได้เลือกสารประกอบที่ไม่ อิ่มตัวแบบโอลิฟินจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วยโพรพิลีน, บิวทีน, ออคทีน และโนนีน 1
5. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งสารประกอบที่ไม่อิ่มตัว แบบโอลิฟินนั้นคือโพรพิลีน 1
6. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ซึ่งประกอบด้วยปฏิกิริยาของสารประกอบที่ไม่อิ่มตัว แบบโอลิฟินกับคาร์บอน มอนอกไซด์ และไฮโดรเจนสำหรับไฮโดรฟอร์มิเลชันเมื่อมีตัวเร่ง ปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์เพื่อให้ได้สารละลายของผลปฏิกิริยา ที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์และผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์ และแยกส่วนประกอบอย่างน้อย 1 ชนิดที่เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน มอนอกไซด์ ไฮโดรเจน สารประกอบซึ่งไม่อิ่มตัวแบบโอลิฟินที่ไม่ทำปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์ แอลดิไฮด์ ตัวทำละลาย ผลพลอยได้ชนิดจุดเดือดปานกลางและผลพลอยได้ชนิดจุด เดือดสูงออกจากสารละลายของผลปฏิกิริยานั้นโดยการแยก ซึ่งการแยกนั้นอย่างน้อย 1 ขั้นตอนกระทำโดยถือว่ามีน้ำอยู่ด้วย และได้เลือกอุณหภูมิ เรซิเดนซ์ไทม์และ แฟรคชันของไอน้ำให้อยู่ในช่วงซึ่งทำให้ค่า P ที่คำนวณจากสูตร (3) ต่อไปนี้อย่างน้อย ที่สุดคือ 1 P = 1.06 x 10\'\'6 x exp [ -6000/ (T2+273)] x เธตาT2 x X (3) ซึ่ง T2 คืออุณหภูมิสูงสุด ( ํซ) ในการแยกนั้นเธตาT2 คือเรซิเดนซ์ไทม์ (นาที) ของ ของเหลวในการแยกนั้น และ X คือแฟรคชันของไอน้ำซึ่งนิยามไว้โดย (ปริมาณของ ไอน้ำ)/(ปริมาณของวัสดุป้อน + ปริมาณไอน้ำ) 1
7. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งได้เลือกอุณหภูมิสูงสุด เรซิเดนซ์ไทม์ และแฟรคชันของไอน้ำในการแยกนั้นให้อยู่ในช่วงซึ่งทำให้ค่า P ที่คำนวณจากสูตร (4) ต่อไปนี้อย่างมากที่สุดคือ 1 P = 1.8 x 106 x exp [ -6000/ (T2+273)] x เธตาT2 x X (4) ซึ่ง T2 คืออุณหภูมิสูงสุด ( ํซ) ในการแยกนั้น เธตาT2 คือเรซิเดนซ์ไทม์ (นาที) ของ ของเหลวในการแยกนั้น และ X คือแฟรคชันของไอน้ำซึ่งนิยามไว้โดย (ปริมาณไอน้ำ)/ (ปริมาณของวัสดุป้อน + ปริมาณไอน้ำ) 1 8. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งการแยกนั้นคือการกลั่นแบบ ใช้ไอน้ำ ซึ่ง T2 คืออุณหภูมิต่ำสุด ( ํซ) ของการกลั่นแบบใช้ไอน้ำและเรซิเดนซ์ไทม์ เธตาT2 คือเรซิเดนซ์ไทม์ (นาที) ในเครื่องกลั่น 1 9. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งการแยกนั้นเป็นการ กระทำเพื่อแยกผลิตภัณฑ์แอลดิไฮด์นั้น 2 0. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งอุณหภูมิ T2 ในการแยก นั้นคือจาก 40 ถึง 180 ํซ เรซิเดนซ์ไทม์ เธตาT2 คือจาก 0.01 ถึง 180 นาที และ แฟรคชันของไอน้ำ X คือจาก 0.1 ถึง 0.9 2 1. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์นั้นคือสารประกอบไซคลิคหรือนอน-ไซคลิค โมโนฟอสไฟท์ 2 2. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งส่วนประกอบแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 1 ชนิดของสารประกอบฟอสไฟท์นั้นคือแอโรแมทิค แอลกอฮอล์ที่มีหมู่แทนที่ ไฮโดรคาร์บอนบนคาร์บอนอะตอมที่อยู่ติดต่อกับคาร์บอนอะตอมซึ่งยึดเหนี่ยวกับออกซิเจน อะตอม 2 3. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์ คือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีโครงสร้างแบบไม่เป็น ไซคลิคที่ประกอบด้วยฟอสฟอรัสอะตอมอยู่ในโมเลกุล 2 4. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่งปฏิกิริยา ประเภทสารเชิงซ้อนโรเดียม-ฟอสไฟท์นั้นคือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีสูตร (5) ต่อไปนี้ P (OR1) (OR2) (OR3) (5) ซึ่ง R1, R2 และ R3 แต่ละหมู่ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกันคือหมู่อินทรีย์ภายใต้เงื่อนไขว่าอย่าง น้อยหนึ่งหมู่ของหมู่เหล่านี้คือหมู่ซับสทิทิวเทด -2-แนฟธิลที่มีสูตร (7) ต่อไปนี้ (สูตรเคมี) (7) ซึ่ง R4 คือหมู่ที่มีสูตร C (R9) (R10) (R11) หรือหมู่แอริล ซึ่งอาจมีหมู่แทนที่ ซึ่ง R9, R10 และ R11 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันคือไฮโดรเจน อะตอม หมู่ไฮโดรคาร์บอน หรือหมู่ฟลูออริเนเทดไฮโดรคาร์บอน และ R12,R13, R14, R15 และ R16 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันคือไฮโดรเจน อะตอมหรือหมู่อินทรีย์ 2 5. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งลิแกนด์ของตัวเร่ง ปฏิกิริยาประเภทโรเดียม-ฟอสไฟท์ คือสารประกอบฟอสไฟท์ที่มีสูตร (8) ต่อไปนี้ A1 [-O-P (OR17) OR18)] n ซึ่ง R17 และ R18 แต่ละหมู่ซึ่งอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกัน คือหมู่แอโรแมทิค ไฮโดรคาร์บอน ภายใต้เงื่อนไขว่าหมู่แอโรแมทิคไฮโดรคาร์บอนอย่างน้อย 1 หมู่ มีหมู่ไฮโดรคาร์บอนบนคาร์บอนอะตอม ซึ่งอยู่ติดกับคาร์บอนอะตอมซึ่งยึดเหนี่ยวอยู่กับ ออกซิเจนอะตอม A1 คือ หมู่อินทรีย์ชนิด n-เวเลนท์ที่ประกอบด้วยโครงสร้างบาง ส่วนของแอลิแฟทิคไฮโดรคาร์บอน แอลิไซคลิค ไฮโดรคาร์บอน หรือแอโรแมทิค ไฮโดร คาร์บอน ซึ่งอาจมีหมู่แทนที่หมู่ [ -O-P (OR17) OR18)] แต่ละหมู่อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกัน และ n คือจำนวนเต็มจาก 2 ถึง 4 2 6. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งมีแอมีนในขั้นตอนการแยก นั้นเป็นส่วนประกอบอย่างน้อย 1 ชนิด 27 วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งได้เลือกสารประกอบที่ไม่ อิ่มตัวแบบโอลิฟินนั้นจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วยโพรพิลีน บิวทีน ออคทีนและโนนีน 2
8. วิธีผลิตแอลดิไฮด์ตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งสารประกอบที่ไม่อิ่มตัว แบบโอลิฟินนั้นคือออคทีน
TH9501003216A 1995-12-08 วิธีผลิตแอลดิไฮด์ TH10887B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH24386A TH24386A (th) 1997-03-25
TH10887B true TH10887B (th) 2001-08-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP2516371B2 (en) Controlling the normal:iso aldehyde ratio in a mixed ligand hydroformylation process by controlling the olefin partial pressure
CA2239618C (en) Improved metal-ligand complex catalyzed processes
KR101890961B1 (ko) 물 첨가에 의한 히드로포르밀화 방법에서의 오손의 완화
US6310260B1 (en) Separation processes
US6307110B1 (en) Separation processes
JP6329136B2 (ja) ヒドロホルミル化プロセス
AU720052B2 (en) Improved metal-ligand complex catalyzed processes
EP2699350B1 (en) Methods to store transition metal organophosphorous ligand based catalysts
JP2015523909A5 (th)
KR100732894B1 (ko) 알데히드의 제조 방법
JPS5827777B2 (ja) アルデヒドの製造法
JP6174711B2 (ja) ヒドロホルミル化方法
CN113179638B (zh) 加氢甲酰化工艺
JP6908602B2 (ja) アルデヒドの生成プロセス
TH10887B (th) วิธีผลิตแอลดิไฮด์
TH24386A (th) วิธีผลิตแอลดิไฮด์
KR100916954B1 (ko) 알데하이드의 제조 방법
JP3551532B2 (ja) アルデヒド類の製造方法
JP3864668B2 (ja) アルデヒド類の製造方法
US4397788A (en) Process for producing rhodium compounds
JP2001342164A (ja) アルデヒド類の製造方法
EP0014796B2 (en) Process for the production of aldehydes by hydroformylation in presence of rhodium compound
Moulis Hydroformylation and Aldehyde-Water Shift Catalysis by Dirhodium Tetraphosphine Complexes
WO2024028718A1 (en) Bidfntate phosphite ligands. catalytic compositions containing such ligands. and catalytic processes utilizing such catalytic compositions
WO2023114579A1 (en) Compounds, transition metal complex hydroformylation catalyst precuror compositions comprising such compounds, and hydroformylation processes