TH9106A - วิธีการผลิตอนุภาคไททาเนียมออกไซด์ - Google Patents

วิธีการผลิตอนุภาคไททาเนียมออกไซด์

Info

Publication number
TH9106A
TH9106A TH9001000726A TH9001000726A TH9106A TH 9106 A TH9106 A TH 9106A TH 9001000726 A TH9001000726 A TH 9001000726A TH 9001000726 A TH9001000726 A TH 9001000726A TH 9106 A TH9106 A TH 9106A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
titanium
solution
methods
water
approximately
Prior art date
Application number
TH9001000726A
Other languages
English (en)
Other versions
TH4230B (th
TH9106EX (th
Inventor
เอียน บราวน์บริดจ์ นายโธมัส
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH9106EX publication Critical patent/TH9106EX/th
Publication of TH9106A publication Critical patent/TH9106A/th
Publication of TH4230B publication Critical patent/TH4230B/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการเตรียมอนุภาคที่เป็นเม็ดสีของไททาเนียมไดออกไซด์ วิธีการนี้ประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาสารที่มีสถานะเดิมเป็นไททาเนียมเตตราเฮไลด์ กับกรดซัลฟุริกในสารละลายเพื่อทำให้เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นไททานีล ซัลเฟท หลังจากการตกผลึกและแยกเอาผลิตภัณฑ์ขั้นกลางนี้จากสารละลายตัวผลึกที่เป็นผลิตภัณฑ์ขั้นกลางนี้จะถูกนำไปละลายซ้ำ ในตัวทำละลายที่มีน้ำและทำปฏิกิริยากับน้ำที่ช่วงของอุณหภูมิที่ต้องการเพื่อจัดให้มีอนุภาคที่ไม่มีรูปของไททาเนียมไดออกไซด์ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ขั้นกลางหลังจากการแยกตัวทำละลายที่มีน้ำออกไปแล้ว ตัวผลิตภัณฑ์ขั้นกลางนี้จะถูกนำไปทำการเผาแล้วบดที่ช่วงของอุณหภูมิตามต้องการเพื่อผลิตขึ้นเป็นอนุภาคไททาเนียมไดออกไซด์ที่ต้องการเป็นตัวผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย

Claims (9)

1. วิธีการที่ใช้สำหรับการผลิตอนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์ จากไททาเนียมเตตราฮาไลด์ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ การทำให้เป็นสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งซึ่งประกอบด้วยไท ทาเนียมเตตราฮาไลด์ และกรดซัลฟุริกและการให้ความร้อนสารละ ลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจนมีระดับของอุณหภูมิที่ เพิ่มขึ้นเพียงพอจนไททาเนียม เตตราฮาไลด์ดังกล่าว และกรด ซับฟุริกดังกล่าวทำปฏิกิริยาเพื่อผลิตเป็นตัวผลิตภัณฑ์ขั้น กลางที่ประกอบด้วยไททานิล ซัลเฟทที่ละลายอยู่ในสารละลาย ส่วนที่หนึ่งดังกล่าว และเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์พลอยได้ คือ ก๊าซไฮโดรเจนฮาไลด์ การให้ความร้อนต่อไปแก่สารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดัง กล่าวที่ระดับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น และโดยมีอนุภาคของไททา นิลซัลเฟทจำนวนหนึ่งที่ได้เตรียมไว้ก่อนหน้านี้อยู่ด้วยโดย ที่ตัวผลิตภัณฑ์ชั้นกลางที่เป็นไททานิลซัลเฟทที่ละลายอยู่ ดังกล่าวจะถูกทำให้ตกผลึกจากสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว การแยกผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกของไททานิลซับเฟทดัง กล่าวออกจากสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว เพื่อ ผลิตส่วนที่ได้จากการกรองที่เป็นแป้งเปียกซึ่งประกอบด้วยลิ เคอร์หลักซึ่งตกค้างอยู่และตัวผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกไททานิลซัลเฟท การทำให้เป็นสารละลายที่มีน้ำส่วนที่สองซึ่งประกอบด้วยส่วน ที่ได้จากการกรองดังกล่าวที่ละลายอยู่ในตัวกลางทำละลายที่ มีน้ำจำนวนหนึ่ง ปริมาณดังกล่าวจะเพียงพอที่จะมีผลต่อการละ ลายของผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกไททานิลซัลเฟทซึ่งอยู่ ในส่วนที่ได้จากการกรองดังกล่าว แต่จะไม่เพียงพอที่จะมี ผลต่กการทำปฏิกิริยากับน้ำหรือไฮโดรลีซิสในที่นั้น การนำเอาผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกของไททานิลซับเฟทที่ ละลายแล้วดังกล่าวไปทำปฏิกิริยาไฮโดรลีซิสโดยการผสมสารละ ลายที่มีน้ำส่วนที่สองดังกล่าวกับตัวกลางทำละลายที่มีน้ำ ดังกล่าวในปริมาณเพิ่มเติมที่ได้รับความร้อนจนมีระดับของ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ซึ่งผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกไท ทานิลซัลเฟทที่ละลายดังกล่าวที่มีอยู่ในสารละลายที่สองดัง กล่าวถูกไฮโดรไลซ์ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ขั้นกลางของอนุภาคอ สัณฐานของไททาเนียมไดออกไซด์ การแยกผลิตภัณฑ์ขั้นกลางของอนุภาคอสัณฐานของไททาเนียมได ออกไซด์ดังกล่าวเพื่อจัดให้มีผลิตภัณฑ์ที่เป็นอนุภาคของ ผลึกของไททาเนียมไดออกไซด์และเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็น ผลึกดังกล่าวจากการผลิต
2. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งไททา เนียมเตตราฮาไลด์คือ ไททาเนียมเตตราคลอไรด์ และผลิตภัณฑ์ พลอยได้ที่เป็นก๊าซไฮโดรเจนฮาไลด์ดังกล่าวคือไฮโดรเจนคลอไรด์
3. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งกรดซัลฟุ ริกดังกล่าวจะมีอยู่ในสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว โดยมีความเข้มข้นอยู่ระหว่างจากประมาณ 60 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของสารละลายส่วนที่หนึ่งดังกล่าว
4. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งสารละลาย ที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจะถูกทำให้ร้อนจนมีระดับของ อุณหภูมิระหว่างประมาณ 25 ซํ ขึ้นไปจนถึงจุดเดือดของสารละ ลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว
5. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งการให้ความ ร้อนอย่างต่อเนื่องแก่สารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดัง กล่าวโดยมีปริมาณดังกล่าวของอนุภาคของไททานิลซับเฟทดัง กล่าวประกอบด้วยการให้ความร้อนสารละลายที่มีน้ำส่วนที่ หนึ่งที่จุดเดือดของสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว
6. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งประมาณดัง กล่าวของอนุภาคของไททานิลซัลเฟทดังกล่าวที่มีอยู่ในสารละ ลายที่มีส่วนที่หนึ่งดังกล่าวประกอบด้วยปริมาณที่เพียงพอ ที่จะมีผลต่อการเริ่มต้นทำให้เกิดการตกผลึกของผลิตภัณฑ์ ขั้นกลางที่เป็นไททานิคซัลเฟทที่ละลายอยู่ดังกล่าว
7. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่งปริมาณดัง กล่าวจะอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 0.1 ถึงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของสารละลายที่มีนำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว
8. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งในระหว่าง การให้ความร้อนอย่างต่อเนื่องดังกล่าวแก่สารละลายที่มีน้ำ ส่วนที่หนึ่งดังกล่าวความเข้มข้นของกรดซัลฟุริกที่มีอยู่ในที่นั้นจะลดลง
9. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 8 ที่ซึ่งความเข้ม ข้นดังกล่าวของกรดซัลฟุริกดังกล่าวจะลดลงโดยการเติมสารละ ลายที่เป็นกรดซัลฟุริกเจือจางจำนวนหนึ่งให้แก่สารละลายที่ มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว 1
0. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 9 ที่ซึ่งสารละลาย ที่เป็นกรดซัลฟุริกเจือจางที่ใช้เติมเข้าไปดังกล่าวจะมี ความเข้มข้นของกรดซับฟูริกอยู่ระหว่างประมาณ 15 ถึงประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1
1. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 9 ที่ซึ่งปริมาณที่ เติมเข้าไปดังกล่าวของสารละลายที่เป็นกรดเจือจากดังกล่าว เป็นปริมาณที่เพียงพอต่อการลดความเข้มข้นของกรดซัลฟุริกดัง กล่าวในสารละลายที่มีน้ำหนักส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจนมีความ เข้มข้นอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 35 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1
2. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งการแยก ส่วนดังกล่าวของผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกไททานิลซัลเฟท ดังกล่าวจากสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าวประกอบ ด้วย การนำเอาสารละลายส่วนที่หนึ่งดังกล่าวไปทำการกรองภาย ใต้แรงดันเหนือแรงดันบรรยากาศเพื่อให้ได้ส่วนที่ได้จากการก รองที่เป็นแป้งเปียกที่มีสารละลายที่มีน้ำที่เจือจากแล้วตก ค้างอยู่ด้วยและตัวผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นไททานิลซัลเฟท 1
3. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 12 ที่ซึ่งส่วนที่ ได้จากการกรองที่เป็นแป้งเปียกดังกล่าวมีสารละลายที่มีน้ำ ที่ได้เจือจางแล้วที่ตกค้างอยู่ดังกล่าวและผลิตภัณฑ์ขั้น กลางที่เป็นไททานีลซัลเฟทดังกล่าวในอัตราส่วนโดยน้ำประมาณ 2/1 และน้อยกว่า 1
4. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งตัวกลางทำ ละลายที่มีน้ำดังกล่าวของสารละลายที่มีน้ำส่วนที่สองดัง กล่าวประกอบด้วยน้ำ 1
5. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งปริมาณดัง กล่าวของตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดังกล่าวจะเป็นที่ประมาณ 3 ถึงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักขึ้นอยู่กับน้ำหนักของ ผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นไททานิลซัลเฟทที่มีอยู่ในส่วนที่ ได้จากการกรองที่เป็นแป้งเปียกดังกล่าว 1
6. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งสารละลาย ที่มีน้ำส่วนที่สองดังกล่าวแต่ละส่วนจะมีสารละลายที่มีน้ำ ที่ได้เจือจางแล้ว ซึ่งตกค้างอยู่ดังกล่าวและผลิตภัณฑ์ขั้น กลางที่เป็นไททานิลซัลเฟทที่ละลายอยู่ดังกล่าว และปริมาณ ที่เพิ่มเติมดังกล่าวของตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดังกล่าวถูก ทำให้ร้อนจนถึงระดับของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นก่อนที่จะนำไปผสมในที่นั้น 1
7. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 16 ที่ซึ่งสารละลาย ที่มีน้ำส่วนที่สองดังกล่าวแต่ละส่วนและปริมาณเพิ่มเติมดัง กล่าวของตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดังกล่าวแต่ละส่วนจะถูกทำ ให้ร้อนจนมีระดับของอุณหภูมิจากประมาณ 85 ซํ ถึงประมาณ 105 ซํ ก่อนที่จะนำไปผสมกันในที่นั้น 1
8. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งหลังจาก ที่ได้มีการผสมกันของสารละลายที่มีน้ำส่วนที่สองดังกล่าว และปริมาณเพิ่มเติมดังกล่าวของตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดัง กล่าว ส่วนผสมดังกล่าวนี้ถูกทำให้ร้อนจนมีอุณหภูมิอย่าง น้อยที่สุดประมาณ 90 ซํ ถึงประมาณจุดเดือดของส่วนผสมดัง กล่าว 1
9. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งการทำ ปฏิกิริยากับน้ำดังกล่าวของผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นผลึกไท ทานิลซัลเฟทซึ่ละลายอยู่จะกระทำไปภายใต้การมีอยู่ของเชื้อ ปฏิกิริยาหรืออนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์จำนวนหนึ่ง 2
0. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 19 ที่ซึ่งปริมาณ ดังกล่าวของเชื้อปฏิกิริยาหรืออนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์ ดังกล่าวประกอบด้วยปริมาณที่เพียงพอที่จะมีผลต่อการให้ผล เริ่มต้นของการทำปฏิกิริยากับน้ำของผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่ เป็นไททานีลซัลเฟทที่ละลายอยู่ดังกล่าว 2
1. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 20 ที่ซึ่งปริมาณ เชื้อปฏิกิริยาหรืออนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์ดังกล่าว จะ มีอยู่ระหว่างประมาณ 0.1 ถึงประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำ หนักขึ้นอยู่กับน้ำหนักที่ผสมกันของสารละลายที่มีน้ำส่วน ที่สองดังกล่าวและตัวกลางทำละลายที่มีน้ำหนักที่เพิ่มเติมเข้ามาดังกล่าว 2
2. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 19 ที่ซึ่งปริมาณ ของเชื้อปฏิกิริยาหรืออนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์ดังกล่าว จะได้โดยตรงในการผสมกันของสารละลายที่มีน้ำส่วนที่สองดัง กล่าว และปริมาณที่เพิ่มเติมเข้ามาดังกล่าวของตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดังกล่าว 2
3. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งอย่างน้อย ที่สุดจะมีการผสมตัวประสารตัวหนึ่งลงไปในตัวผลิตภัณฑ์ขั้น กลางที่เป็นอนุภาคสัณฐานขอบไททาเนียมไดออกไซด์ดังกล่าว 2
4. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 23 ที่ซึ่งตัว ประสานดังกล่าวเป็นวัสดุที่เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วย หมู่เกลือของโลหะอัลคาไลและฟอสฟอรัสที่มีสารประกอบและเชื้อ ปฏิกิริยาหรืออนุภาคของไททาเนียมไดออกไซด์ที่มีโครงสร้างเป็นรูไทด์ 2
5. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 23 ที่ซึ่งตัวประ สานดังกล่าวจะถูกผสมเข้ากับผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็น อนุภาคอสัณฐานของไทเทเนียมไดออกไซด์ดังกล่าวในปริมาณจาก ประมาณ 0.1 ถึงประมาณ 10.0 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักขึ้นอยู่ กับน้ำหนักของผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นไททาเนียมไดออกไซด์ที่ไม่มีรูปดังกล่าว 2
6. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งผลิตภัณฑ์ ขั้นกลางที่เป็นอนุภาคอสัณฐานของไททาเนียมไดออกไซด์ดัง กล่าวจะถูกนำไปเผาแล้วบดที่อุณหภูมิระหว่างประมาณ 800 ซํ ถึงประมาณ 1000 ซํ 2
7. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งยังมี ลักษณะพิเศษที่รวมถึงขั้นตอนของการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์พลอยได้ ที่เป็นก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ดังกล่าวให้เป็นก๊าซคลอรีน 2
8. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 27 ที่ซึ่งขั้นตอน ของการแยกผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นอสัณฐานของไททาเนียมได ออกไซด์ดังกล่าวจากตัวกลางทำละลายที่มีน้ำดังกล่าวคือ การกรอง 2
9. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 9 ที่ซึ่งสารละลาย กรดซัลฟุริกที่เจือจางดังกล่าวประกอบด้วยตัวกลางทำละลายที่ มีน้ำซึ่งถูกแยกออกจากผลิตภัณฑ์ขั้นกลางที่เป็นอนุภาคอ สัณฐานของไททาเนียมไดออกไซด์ดังกล่าว 3
0. วิธีการที่ได้ระบุในข้อถือสิทธิที่ 29 ที่ซึ่งสารละลาย ที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าวที่ถูกแยกออกมาจากผลิตภัณฑ์ ขั้นกลางที่เป็นผลึกของไททาเนียมซัลเฟทดังกล่าวจะถูกนำไป ยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของกรดซัลฟุริกเพื่อจะนำมาใช้ ใหม่ในการทำเป็นสารละลายที่มีน้ำส่วนที่หนึ่งดังกล่าว
TH9001000726A 1990-05-30 วิธีการผลิตอนุภาคไททาเนียมออกไซด์ TH4230B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH9106EX TH9106EX (th) 1991-07-01
TH9106A true TH9106A (th) 1991-07-01
TH4230B TH4230B (th) 1995-01-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
DE60010702T2 (de) Behandlung von titanerz zur herstellung von titandioxidpigmenten
US5030439A (en) Method for producing particulate titanium oxides
DE19841679A1 (de) Verfahren zur Herstellung ultrafeiner TiO¶2¶-Pulver
DE2519122A1 (de) Verfahren zur herstellung von calciumsulfat-alpha-halbhydrat
DE2707229C2 (de) Herstellung von Zink- und Erdalkalititanaten
DE4216122A1 (de) Verfahren zur Herstellung von hochreinem Titandioxid
EP2550239B1 (de) Verfahren zur herstellung von chrom(iii)-oxid
DE19649669A1 (de) Verfahren zur Auflösung und Reinigung von Tantalpentoxid
DE3916404A1 (de) Feines teilchenfoermiges material
DE68901991T2 (de) Verfahren zur herstellung von hydratiertem zirkoniumoxid aus granuliertem kristallinem zirkoniumoxid.
NO793219L (no) Fremstilling av blymonoxyd fra blysulfat med surt ammoniumacetat
US5456899A (en) Preparation of titanium dioxide
CN107459373A (zh) 基于氧化石墨烯产生废酸制备钾锰混合化肥的方法及系统
WO2012076564A1 (de) Verfahren zur herstellung von chrom(iii)-oxid
US4045340A (en) Method for recovering and exploiting waste of the chromic anhydride production
DE19617081A1 (de) Verfahren zur Herstellung von Mischoxidpulvern aus desaktivierten DENOX-Katalysatoren
CN107032371A (zh) 一种以萤石为原料制备氟化钾的方法
TH9106A (th) วิธีการผลิตอนุภาคไททาเนียมออกไซด์
TH4230B (th) วิธีการผลิตอนุภาคไททาเนียมออกไซด์
JPH0310573B2 (th)
KR920008517B1 (ko) 수용성 스트론튬염으로부터 바륨의 분리방법
EP0334732B1 (fr) Nouveau dérivé réactif du zirconium et sa préparation
RU2102324C1 (ru) Способ получения диоксида титана
RU2029731C1 (ru) Способ получения фторида кальция
CN115367792B (zh) 一种硫酸法钛白水解复合晶种的制备方法