TH80518A - ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่แข็งตัวได้ยากและวิธีการผลิตสิ่งเดียวกันนี้ - Google Patents

ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่แข็งตัวได้ยากและวิธีการผลิตสิ่งเดียวกันนี้

Info

Publication number
TH80518A
TH80518A TH501003986A TH0501003986A TH80518A TH 80518 A TH80518 A TH 80518A TH 501003986 A TH501003986 A TH 501003986A TH 0501003986 A TH0501003986 A TH 0501003986A TH 80518 A TH80518 A TH 80518A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
powder
coagulation
sample
multitool
crystalline
Prior art date
Application number
TH501003986A
Other languages
English (en)
Other versions
TH62973B (th
TH80518B (th
Inventor
ซาโนะ นายชิฮายะ
โนกุชิ นายทาคาชิ
เนโมโตะ นายโทห์รุ
ชิมาสุ นายโคชิโร
Original Assignee
นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
นางสาวอภิญญา บัณฑิตวุฒิสกุล
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์, นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง, นางสาวอภิญญา บัณฑิตวุฒิสกุล filed Critical นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
Publication of TH80518A publication Critical patent/TH80518A/th
Publication of TH80518B publication Critical patent/TH80518B/th
Publication of TH62973B publication Critical patent/TH62973B/th

Links

Abstract

DC60 (08/03/49) การประดิษฐ์นี้นำเสนอผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากที่สามารถจัดการ ต่างๆเช่นเคลื่อนย้ายเปิดผนึก นำไปเติมหรือผสมกับวัตถุดิบที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆได้โดย สะดวกโดยไม่ทำให้เกิดก้อนแข็งเมื่อจำหน่ายและเก็บรักษาผงมัลติทอลที่เป็นผลึก ไม่จำเป็นต้อง นำไปบดให้เป็นผงและคัดขนาดซ้ำอีกเมื่อนำไปใช้ พร้อมทั้งสามารถปรับปรุงลักษณะการขนส่งให้ เป็นอัตโนมัติได้ง่าย นำมัลติทอลที่มีสภาพเป็นผลึกหรือว่าเป็นผงมาใส่ลงในภาชนะทรงกระบอกกลม, เครื่อง อบแห้งแบบเป็นชั้น, เครื่องอบแห้งแบบอุโมงค์ ปล่อยกระแสอากาศที่มีอุณหภูมิ 30~33 องศาเซลเซียส และ ความชื้นสัมพัทธ์ 5% เข้าไปจากด้านหนึ่งของภาชนะหรือว่าอุปกรณ์โดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ 11~12 แล้วดึงออกจากอีกทางด้านหนึ่ง โดยทำซ้ำกันไปนาน 24 ชั่วโมงจนได้ผงมัลติทอลที่เป็น ผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยาก วิธีการนี้ช่วยให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากโดย อาศัยการผสมผสานเงื่อนไขต่างๆเช่นอัตราเร็วเชิงปริภูมิของกระแสอากาศที่เหมาะสมและเวลา ผ่านกระบวนการต่อเนื่องเป็นต้น แม้ว่าความชื้นสัมพัทธ์ข้างต้นจะเป็น 45% ก็ตาม

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------16/10/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีระดับการจับ ตัวเป็นก้อนที่จัดโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่าง 0.6 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า (วิธีการจัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) I. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความสูง โดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํC แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพร พิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกตะเข็บระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา II. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํc กับอุณหภูมิ 40 ํc สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงเป็นเวลา 20 วัน แล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดสินในข้อ (1) ถึง (3) ข้างล่าง การประเมินจะมีการ เตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้นเป็นระดับ การจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีจัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้เอียงไปจนถึง 90 ํCโดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดตัวอย่างที่ตั้งตรงล้มลงนอนราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณสมบัติการไหลเวียน โดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง หรอว่าผงตัว อย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติดของผงตัวอย่าง จำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงจนถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล แต่ว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหล ไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 2. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการจัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้น 0.4 คะแนน หรือ ตํ่า กว่า 3. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวก่อนเป็นได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการจัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้น 0.2 คะแนน หรือ ตํ่า กว่า หน้า 2 ของจำนวน 3 หน้า 4. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าความชื้น 0.2% หรือ น้อยกว่า โดยน้ำหนัก และปริมาณมัลติทอลที่ ผสมอยู่ต่อส่วนที่เป็นของแข็ง 98% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก 5. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อ หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงที่มีปริมาณ 90% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก ที่สามารถลอดผ่านตา ข่ายตามมาตรฐานการกรอง JIS ที่มีช่องตะแกรง 0.50 มม. 6. วิธีการการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามี การทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิ 20 ถึง 50 ํC และมีความชื้นสัมพัทธ์ 5 ถึง 50% สัมผัสกับผงมัลติ ทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่าง มากกว่า 0.6 คะแนน เป็นเวลานาน 5 ถึง 50 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ [=SV] 2 ถึง15 (h-1) เพื่อทำให้เป็นผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนดังกล่าว 0.6 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) I. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความ สูงโดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํc แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพร พิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกตะเข็บระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา II. ในนั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํC กับอุณหภูมิ 40 ํC สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงเป็นเวลา 20 วัน แล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดสินในข้อ (1) ถึง (3) ข้างล่าง การประเมินจะมีการ เตริยมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้นเป็นระดับ การจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้เอียงไปจนถึง 90 ํC โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดตัวอย่างที่ตั้งตรงล้มลงนอนราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณสมบัติการไหลเวียน โดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง หรือว่าผงตัว อย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติดของผงตัวอย่าง จำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงจนถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล แต่ว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหลไป ทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน หน้า 3 ของจำนวน 3 หน้า (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 7. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีการทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิ 25 ถึง 42 ํc และความชื้นสัมพัทธ์ 8 ถึง 45% สัมผัสกับผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็น ก้อนมากกว่า 0.6 คะแนนเป็นเวลา 8 ถึง 48 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเซิงปริภูมิ [=SV] 3 ถึง14 (h-1) เพื่อทำให้เป็นผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนดังกล่าว 0.6 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า 8. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 หรือ 7 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีอุณหภูมิของอากาศที่ทำให้ สัมผัสเป็น 28 ถึง 33 ํC และมีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.4 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า 9. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับ การจับตัวเป็นก้อน 0.2 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า 1 0. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระตับการจับตัวเป็นก้อนตาม วิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.6 คะแนน หรือ ตํ่ากว่า จะมีความชื้น 0.2% หรือ น้อยกว่า โดยน้ำ หนักและมีปริมาณมัลติทอลที่ผสมอยู่ต่อส่วนที่เป็นของแข็ง 98% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก 1 1. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อน ตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.6 หรือ ตํ่ากว่าจะมีผง 90% หรือมากกว่าโดยน้ำหนักที่ สามารถลอดผ่านช่องตาข่ายกรอง JIS ที่มีช่องขนาด 0.50 มม. ------------ แก้ไข 4 สิงหาคม 2560 1. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีระดับการจับ ตัวเป็นก้อนที่วัดโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่าง 0.6 คะแนน หรือ ต่ำกว่า (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) 1. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความสูง โดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20(สัญลักษณ์)C แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพ รพิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกตะเข็บระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา 2. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลังจากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20(สัญลักษณ์)C กับอุณหภูมิ 40(สัญลักษณ์)C สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงเป็นเวลา 20 วันแล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดติดในข้อ (1) ถึง (3) ข้างล่าง การประเมินจะมี การเตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้นเป็น ระดับการจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้เอียงไปจนถึง 90(สัญลักษณ์)C โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดตัวอย่างที่ตั้งตรงล้มลงนอนราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณสมบัติการไหลเวียน โดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง หรือว่าผง ตัวอย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติดของผงตัวอย่าง จำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงถึง 90(สัญลักษณ์)C แล้วไม่แสดงคุณสมบัติ ไหลเวียนโดยไม่มีการไหล หรือว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180(สัญลักษณ์)C มีผงตัวอย่าง ไหลไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจนถึง 180(สัญลักษณ์)C แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน ---------- แก้ไข 15/7/2559 1. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีระดับการจับ ตัวเป็นก้อนที่วัดโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่าง 0.6 คะแนน หรือ ต่ำกว่า (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) 1. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความสูง โดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํC แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพ รพิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกรอยต่อระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา 2. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํC กับอุณหภูมิ 40 ํC สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงซ้ำกันไปเป็น เวลา 20 วันแล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดติดในข้อ (1) ถึง (3) ข้างล่าง การประเมิน จะมีการเตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้น เป็นระดับการจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้ไปเอียงไปจนถึง 90 ํC โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดใส่ตัวอย่างที่ตั้งอยู่ในแนวดิ่งนอนลงในแนวราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณ สมบัติการไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัว อย่าง หรือว่าผงตัวอย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติด ของผงตัวอย่างจำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล หรือว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหล ไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจากจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 2. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดัวระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้น 0.4 คะแนน หรือ ต่ำ กว่า 3. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวก่อนเป็นได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้น 0.2 คะแนน หรือ ต่ำ กว่า 4. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะที่ว่าความชื้น 0.2% หรือ น้อยกว่า โดยน้ำหนัก และปริมาณมัลติทอลที่ผสมอยู่ต่อ ส่วนที่เป็นของแข็ง 98% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก 5. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะที่ว่าผงที่มีปริมาณ 90% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก ที่สามารถลอดผ่านช่องกรอง ตามมาตรฐานการกรอง JIS ที่มีช่องกรองขนาด 0.50 มม. 6. วิธีการการผลิตผลมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามี การทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิ 20 ถึง 50 ํC และมีความชื้นสัมพันธ์ 5 ถึง 50% สัมผัสกับผงมัลติ ทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่าง มากกว่า 0.6 คะแนน เป็นเวลานาน 5 ถึง 50 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ [=SV] 2 ถึง 15 (h-1) เพื่อทำให้เป็นผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนดังกล่าว 0.6 คะแนน หรือ ต่ำกว่า (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) 1. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความ สูงโดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพัทธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํC แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพ รพิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกรอยต่อระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา 2. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํC กับอุณหภูมิ 40 ํC สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงซ้ำกันไปเป็น เวลา 20 วันแล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดติดในข้อ (1) ถึง (3) ข้างล่าง การประเมิน จะมีการเตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้น เป็นระดับการจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้ไปเอียงไปจนถึง 90 ํC โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดใส่ตัวอย่างที่ตั้งอยู่ในแนวดิ่งนอนลงในแนวราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณ สมบัติการไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัว อย่าง หรือว่าผงตัวอย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติด ของผงตัวอย่างจำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล หรือว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหล ไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจากจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 7. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีการทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิ 25 ถึง 42 ํC และความชื้นสัมพัทธ์ 8 ถึง 45% สัมผัสกับผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็น ก้อนมากกว่า 0.6 คะแนนเป็นเวลา 8 ถึง 48 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ [=SV] 3 ถึง 4 (h-1) 8. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 หรือ 7 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีอุณหภูมิของอากาศที่ทำให้ สัมผัสเป็น 28 ถึง 33 ํC และมีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.4 คะแนน หรือ ต่ำกว่า 9. วิธีการผลิตผงมิลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับ การจับตัวเป็นก้อน 0.2 คะแนน หรือ ต่ำกว่า 1 0. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลิกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตาม วิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.6 คะแนน หือ ต่ำกว่า จะมีความชื้น 0.2% หรือ น้อยกว่า โดยน้ำ หนักและมีปริมาณมัลติทอลลที่ผสมอยู่ต่อส่วนที่เป็นของแข็ง 98% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก 1 1. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อน ตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน 0.6 หรือ ต่ำหว่า จะมีผง 90% หรือ มากกว่า โดยน้ำหนัก ที่ สามารถลอดผ่านช่องตาข่ายกรอง JIS ที่มีช่องขนาด 0.50 มม. -------------------------------------------------------------------------------------- 1. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีระดับการจับ ตัวเป็นก้อนที่วัดโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่างต่ำกว่า 0.6 คะแนน (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) 1. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความสูง โดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพันธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํC แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพ รพิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกรอยต่อระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา 2. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํC กับอุณหภูมิ 40 ํC สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงซ้ำกันไปเป็น เวลา 20 วันแล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดติดในข้อ (1)~(3) ข้างล่าง การประเมินจะมี การเตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้นเป็น ระดับการจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้ไปเอียงไปจนถึง 90 ํC โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดใส่ตัวอย่างที่ตั้งอยู่ในแนวดิ่งนอนลงในแนวราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณ สมบัติการไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัว อย่าง หรือว่าผงตัวอย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติด ของผงตัวอย่างจำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล อีกทั้งในระหว่างทำให้ขวดเอียงไปจนถึง 180 ํC หรือว่าภายในเวลา 1 นาทีจากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจากจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 2. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดัวระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้นต่ำกว่า 0.4 คะแนน 3. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวก่อนเป็นได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่ว่าระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนั้นต่ำกว่า 0.2 คะแนน 4. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1~3 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะที่ว่าความชื้นจะต่ำกว่า 0.2% โดยน้ำหนัก และปริมาณมัลติทอลที่ผสมอยู่ต่อส่วน ที่เป็นของแข็งจะมากกว่า 98% โดยน้ำหนัก 5. ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 1~4 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะที่ว่าผงที่มีปริมาณมากกว่า 90% โดยน้ำหนักจะเล็กกว่าช่องกรองตามมาตรฐาน การกรอง JIS ที่มีช่องกรองขนาด 0.50 มม. 6. วิธีการการผลิตผลมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่ามี การทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิ 20~50 ํC และมีความชื้นสัมพันธ์ 5~50% สัมผัสกับผงมัลติทอลที่ เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนที่กล่าวข้างล่างมาก กว่า 0.6 คะแนน เป็นเวลานาน 5~50 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ [=SV] 2~15 (h-1) เพื่อทำ ให้เป็นผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนดังกล่าวต่ำกว่า 0.6 คะแนน (วิธีการวัดระดับการจับตัวเป็นก้อน) 1. นำผงมัลติทอลที่เป็นผลึกตัวอย่างจำนวน 50 กรัมมาใส่ลงในขวดใส่ตัวอย่าง (ความจุ เมื่อเต็ม 150 มล., เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 4.1 ซม., เส้นผ่านศูนย์กลางลำตัว 5.5 ซม., ความ สูงโดยรวม 9.5 ซม.) ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสัมพันธ์ 50% และ อุณหภูมิ 20 ํC แล้วปิดผนึกฝาปิดภายในที่ทำด้วยโพลีเอธิลีนและฝาปิดภายนอกที่ทำด้วยโพลีโพ รพิลีนที่ให้มาด้วย จากนั้นจึงทำการผนึกรอยต่อระหว่างฝาปิดกับตัวขวดโดยใช้เทปที่ทำด้วยไวนิล จากข้างบนลงมา 2. ในขั้นต่อไปนำขวดที่ได้ผนึกแล้วไปใส่ลงในช่องที่มีความสามารถปรับอุณหภูมิได้ หลัง จากที่นำไปเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 20 ํC กับอุณหภูมิ 40 ํC สลับกันอย่างละ 12 ชั่วโมงซ้ำกันไปเป็น เวลา 20 วันแล้วจึงทำการประเมินโดยใช้เกณฑ์การตัดติดในข้อ (1)~(3) ข้างล่าง การประเมินจะมี การเตรียมตัวอย่างที่เหมือนกัน 5 ชิ้นและกำหนดให้ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบจาก 5 ชิ้นนั้นเป็น ระดับการจับตัวเป็นก้อนโดยวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนนี้ (1) ในระหว่างที่ทำให้ขวดตัวอย่างที่มีตัวอย่างใส่ไว้ไปเอียงไปจนถึง 90 ํC โดยไม่ให้มีการ กระแทก (ทำให้ขวดใส่ตัวอย่างที่ตั้งอยู่ในแนวดิ่งนอนลงในแนวราบ) ผงตัวอย่างทั้งหมดมีคุณ สมบัติการไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดโดยไม่มีการเกาะติดของผงที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัว อย่าง หรือว่าผงตัวอย่างแสดงคุณสมบัติไหลเวียนโดยไหลไปทางปากขวดในขณะที่มีการเกาะติด ของผงตัวอย่างจำนวนเล็กน้อยที่ส่วนก้นของขวดใส่ตัวอย่าง กำหนดให้เป็น 0 คะแนน (2) เมื่อทำให้มุมของขวดใส่ตัวอย่างลาดเอียงถึง 90 ํC แล้วไม่แสดงคุณสมบัติไหล เวียนโดยไม่มีการไหล อีกทั้งในระหว่างทำให้ขวดเอียงไปจนถึง 180 ํC หรือว่าภายในเวลา 1 นาที จากที่ได้เอียงไปจนถึง 180 ํC มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวด กำหนดให้เป็น 1 คะแนน (3) ไม่มีผงตัวอย่างไหลไปทางปากขวดแม้ว่าเวลาจะผ่านไป 1 นาทีหลังจากได้ทำให้มุม ของขวดใส่ตัวอย่างเอียงไปจากจนถึง 180 ํC แล้วก็ตาม กำหนดให้เป็น 2 คะแนน 7. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่ามีการทำให้กระแสอากาศที่มีอุณหภูมิ 25~42 ํC และความชื้นสัมพันธ์ 8~45% สัมผัสกับผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับ ตัวเป็นก้อนสูงกว่า 0.6 คะแนนเป็นเวลา 8~48 ชั่วโมงโดยใช้อัตราเร็วเชิงปริภูมิ [=SV] 3~4 (h1-) 8. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6 หรือ 7 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีอุณหภูมิของอากาศที่ทำให้ สัมผัสเป็น 28~33 ํC และมีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนต่ำกว่า 0.4 คะแนน 9. วิธีการผลิตผงมิลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะที่ว่าจะทำให้ได้ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตามวิธีวัดระดับ การจับตัวเป็นก้อนต่ำกว่า 0.2 คะแนน 1 0. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลิกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6~9 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อนตาม วิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนต่ำกว่า 0.6 คะแนนจะมีความชื้นต่ำกว่า 0.2% โดยน้ำหนักและมี ปริมาณมัลติทอลลที่ผสมอยู่ต่อส่วนที่เป็นของแข็งมากกว่า 98% โดยน้ำหนัก 1
1. วิธีการผลิตผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่จับตัวเป็นก้อนได้ยากดังระบุในข้อถือสิทธิข้อ 6~10 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ว่าผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่มีระดับการจับตัวเป็นก้อน ตามวิธีวัดระดับการจับตัวเป็นก้อนต่ำกว่า 0.6 จะมีผงมากกว่า 90% โดยน้ำหนักที่เล็กกว่าช่องตา ข่ายกรอง JIS ที่มีช่องขนาด 0.50 มม.
TH501003986A 2005-08-25 ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่แข็งตัวได้ยากและวิธีการผลิตสิ่งเดียวกันนี้ TH62973B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH80518A true TH80518A (th) 2006-10-19
TH80518B TH80518B (th) 2006-10-19
TH62973B TH62973B (th) 2018-06-13

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
ES2668466T3 (es) Leche en estado sólido y método de fabricación de la misma
TWI685304B (zh) 甜味劑組成物以及改善阿洛酮糖的味道的方法
Nurhadi et al. Influence of anti-caking agent on the water sorption isotherm and flow-ability properties of vacuum dried honey powder
CN107001753A (zh) 聚四氟乙烯组合物
CN107764593A (zh) 一种连续混合水样采集装置及其水样采集方法
JP2013503839A (ja) 微粒子含有量の低いマンニトール結晶粉末ならびに、その製造方法
TH80518A (th) ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่แข็งตัวได้ยากและวิธีการผลิตสิ่งเดียวกันนี้
TH62973B (th) ผงมัลติทอลที่เป็นผลึกที่แข็งตัวได้ยากและวิธีการผลิตสิ่งเดียวกันนี้
CN105492503B (zh) 粉末形式生物可吸收聚酯的制备方法
CN104990826B (zh) 干砂中含泥量测定仪以及干砂中含泥量测量方法
WO2006022206A1 (ja) 固結し難い結晶性マルチトール粉末およびその製造方法
CN102190702B (zh) 提高蛋白质结晶率的方法
CN207649940U (zh) 一种连续混合水样采集装置
CN104406898B (zh) 一种测定纳米‑微米带电荷颗粒比表面积的方法
CN205562325U (zh) 卷烟过滤材料持水性检测装置
TW201623583A (zh) 土壤侵蝕防止劑
CN109283096A (zh) 一种铁矿粉粘结性指数的检测方法
Khojare et al. Moisture adsorption characteristics of sandesh powder
JP4826473B2 (ja) 炭酸水素ナトリウム結晶粒子の固結性評価方法
JP5973664B2 (ja) 蒸発晶析によって調製される自由流動塩組成物
Balsari et al. Sprayer tank agitation check: A proposal for a simple instrumental evaluation
JP2635274B2 (ja) にがり含有食用塩
CN106457241B (zh) 聚合物总溶解固体容器
CN106053283A (zh) 一种生物膜吸附磷的测定方法
CN104945397B (zh) 治疗恶心和呕吐的药物盐酸托烷司琼化合物及其制备方法