TH75901A - กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง - Google Patents

กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง

Info

Publication number
TH75901A
TH75901A TH501002471A TH0501002471A TH75901A TH 75901 A TH75901 A TH 75901A TH 501002471 A TH501002471 A TH 501002471A TH 0501002471 A TH0501002471 A TH 0501002471A TH 75901 A TH75901 A TH 75901A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
gas
materials
process according
oxygen
carbon
Prior art date
Application number
TH501002471A
Other languages
English (en)
Other versions
TH52679B (th
Inventor
ออร์ธ ดร.อันเดรียส
ไอช์เบอร์เกอร์ นายไฮนซ์
คีธ ฟิลพ์ ดร.โดนัลด์
ไดร นายร็อด
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH75901A publication Critical patent/TH75901A/th
Publication of TH52679B publication Critical patent/TH52679B/th

Links

Abstract

DC60 (20/09/59) กระบวนการรีดักชันโดยตรงสำหรับวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะแข็งซึ่งมีการกระจายขนาด อนุภาคซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะประกอบรวมด้วยอนุภาคขนาดไมครอนจะประกอบรวมด้วย การป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ, วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง, แก๊สที่มีออกซิเจน และฟลูอิไดซิ่ง แก๊สเข้า สู่ฟลูอิไดซ์ เบดในเวสเซล และการคงสภาพฟลูอิไดซ์ เบดในเวสเซล การรีดิวซ์อย่างน้อยที่สุดอย่าง เป็นบางส่วนของวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะในเวสเซล และการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบ รวมด้วยวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ผ่านการรีดิวซ์แล้วอย่างน้อยที่สุดเป็นบางส่วนจากเวสเซล กระบวนการนี้จะได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดย (a) การสร้างและการคงสภาพย่านอุดมด้วย คาร์บอนภายในฟลูอิไดซ์ เบด, (b) การส่งผ่านวัสดุเมทัลไลซ์ (ซึ่งรวมถึงวัสดุเมทัลไลซ์ผ่านเข้าไปใน ย่านอุดมด้วยคาร์บอน และ (c) การฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซินเจนเข้าไปยังย่านอุดมด้วยคาร์บอนและการ ออกซิไดซ์วัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็งและแก๊สที่สามารถออกซิไดซ์ได้ชนิดอื่น และการทำให้เกิดการเกาะรวมตัวของอนุภาคที่มีการควบคุม แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 20/09/2559 กระบวนการรีดักชันโดยตรงสำหรับวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะแข็งซึ่งมีการกระจายขนาด อนุภาคซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะประกอบรวมด้วยอนุภาคขนาดไมครอนจะประกอบรวมด้วย การป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ, วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง, แก๊สที่มีออกซิเจน และฟลูอิไดซิ่ง แก๊สเข้า สู่ฟลูอิไดซ์ เบดในเวสเซส และการคงสภาพฟลูอิไดซ์ เบดในเวสเซล การรีดิวซ์อย่างน้อยที่สุดอย่าง เป็นบางส่วนของวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะในเวสเซล และการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบ รวมด้วยวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ผ่านการรีดิวซ์แล้วอย่างน้อยที่สุดเป็นบางส่วนจากเวสเซล กระบวนการนี้จะได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดย (a) การสร้างและการคงสภาพย่านอุดมด้วย คาร์บอนภายในฟลูอิไดซ์ เบด, (b) การส่งผ่านวัสดุเมทัลไลซ์ (ซึ่งรวมถึงวัสดุเมทัลไลซ์ผ่านเข้าไปใน ย่านอุดมด้วยคาร์บอน และ (c) การฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนเข้าไปยังย่านอุดมด้วยคาร์บอนและการ ออกซิไดซ์วัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็งและแก๊สที่สามารถออกซไดซ์ได้ชนิดอื่น และการทำให้เกิดการเกาะรวมตัวของอนุภาคที่มีการควบคุม) ---------------------------------------------------------------------------- กระบวนการรีดักชันโดยตรงสำหรับวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะแข็งซึ่งมีการกระจายขนาด อนุภาคซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะประกอบรวมด้วยอนุภาคขนาดไมครอน จะประกอบรวมด้วย การป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง แก๊สที่มีออกซิเจน และแก๊สเพื่อการก่อ สภาพของไหลเข้าสู่ฐานก่อสภาพของไหลในเวสเซลและการคงสภาพฐานก่อสภาพของไหลใน เวสเซล การรีดิวซ์อย่างน้อยที่สุดอย่างเป็นบางส่วนของวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะในเวสเซล และ การปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบรวมด้วยวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ผ่านการรีดิวซ์แล้วอย่าง น้อยที่สุดเป็นบางส่วนจากเวสเซล กระบวนการนี้จะได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดย (a) การสร้างและการคงสภาพย่านอุดมด้วยคาร์บอนภายในฐานก่อสภาพของไหล (b) การส่งผ่าน วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ ซึ่งรวมถึงวัสดุที่มีความเป็นโลหะผ่านเข้าไปในย่านอุดมด้วยคาร์บอน และ (c) การฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนเข้าไปยังย่านอุดมด้วยคาร์บอนและการออกซิไดซ์วัสดุที่มีความเป็น โลหะ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็งและแก๊สที่สามารถออกซิไดซ์ได้ชนิดอื่นและการทำให้เกิด การเกาะรวมตัวของอนุภาคที่มีการควบคุม

Claims (4)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 24/07/2558 1. กระบวนการฟลูอิไดซ์ เบดหมุนเวียนสำหรับรีดักชันโดยตรงของวัสดุที่ประกอบด้วย โลหะของแข็งที่มีการกระจายของขนาดอนุภาค ซึ่งอย่างน้อยในบางส่วนประกอบรวมด้วยอนุภาค ขนาดไมครอน โดยกระบวนการดังกล่าวประกอบรวมด้วย การจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ, วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง, แก๊สที่มีออกซิเจนและฟลูอิไดซิ่ง แก๊สยังเวสเซล โดยที่ฟลูอิไดซ์ เบดถูกรักษาไว้ในเวลเซล ซึ่งฟลูอิไดซ์ เบดที่มีย่านอุดมด้วยคาร์บอน การเก็บคืนแก๊สและของแข็งที่ถูกนำพาจากส่วนด้านบนของเวสเซล การแยกของแข็งจากแก๊สที่ถูก เก็บคืนและการหมุนเวียนซ้ำของแข็งที่ถูกแยกไปยังเวสเซล และการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์จากส่วน ด้านล่างของเวสเซล ที่ซึ่งขั้นตอนของการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจน ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนลง ข้างล่างเข้าสู่ย่านอุดมด้วยคาร์บอน โดยใช้ส่วนทวน (lance) ที่เย็น ที่เว้นห้างเข้าไปด้านในในแนว ระดับจากผนังด้านข้างของเวสเซล โดยที่ความร้อนเกิดขั้นในย่านอุดมด้วยคาร์บอนโดยปฏิกิริยา ระหว่างออกซิเจน และวัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง และของแข็ง และแก๊สที่ออกซิไดซ์ได้ อื่นๆ ในฟลูอิไดซ์ เบด ซึ่งวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะจะถูกรีดิวซ์อย่างน้อยบางส่วนในย่านอุดมด้วย โลหะข้างใต้ย่านอุดมด้วยคาร์บอน และกระแสผลิตภัณฑ์ที่ถูกปล่อยจากเวสเซลประกอบรวมด้วย วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่อย่างน้อยถูกรีดิวซ์บางส่วน และโดยที่กระบวนการประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาค โดยการปรับอย่างน้อยหนึ่งอย่างในอัตราการป้อนของวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ อัตราการป้อนของ วัสดุที่มีคาร์บอน และอัตราการป้อนของแก๊สที่มีออกซิเจน 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะในรูปละเอียด 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะ ในรูปสินแร่เหล็กละเอียดขนาดลบ 6 มิลลิเมตร 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะ ในรูปละเอียดที่มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยในพิสัยจาก 0.1 ถึง 0.8 มิลลิเมตร 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่ประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ 90% ของอนุภาคที่ปล่อยจากส่วนด้านล่างของเวสเซลเป็นกระแสผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกินกว่า ขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุกที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 30% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนโดย ใช้ส่วนทวนที่มีปลายที่ชี้ลงด้านล่างที่มากถึง 40 องศาจากแนวดิ่ง ที่ควรมากถึง 15 องศาจากแนวดิ่ง 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนถูกหล่อเย็นด้วยน้ำ 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนที่ท่อกลาง และกระบวนการประกอบ รวมด้วยการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจนผ่านท่อกลางของทวน 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจนด้วยความเร็วอย่างเพียงพอโดยย่านที่ไร้ของแข็งอย่างมี นัยสำคัญจะก่อรูปในบริเวณของปลายส่วนทวน โดยที่การก่อรูปส่วนพอกพูนที่สามารถกั้นการฉีด ของแก๊สที่มีออกซิเจนถูกทำให้น้อยที่สุด 1 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 10, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนด้วยความเร็วในพิสัย 50 ถึง 300 เมตร/วินาที 1 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สกำบังสำหรับกำบังบริเวณของปลายส่วนทวน 1 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 12, ซึ่งประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สกำบังไปใน เวสเซลด้วยความเร็วอย่างน้อย 60% ของความเร็วของแก๊สที่มีออกซิเจน 1 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวนที่เว้นห่างเข้าไป ด้านในของผนังด้านข้างของเวสเซล และประกอบรวมด้วยท่อกลาง และส่วนทวนยังมีพื้นผิวด้านนอก และกระบวนการประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนผ่านท่อกลาง และการหล่อเย็นพื้นผิวด้าน นอกของส่วนทวนด้วยน้ำ 1 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้ของแข็ง และ ฟลูอิไดซิ่ง แก๊สแก่เวสเซลในลักษณะที่ว่าของแข็งผ่านย่านอุดมด้วยคาร์บอน และย่านรีดิวซ์ 1 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการรักษาฟลูอิไดซ์ เบด โดยการจัดให้การไหลลงข้างล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน การไหลขึ้นด้านบนของของแข็ง และ ฟลูอิไดซิ่ง แก๊สทวนการไหลลงข้างล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน และการไหลลงข้างล่างของของแข็ง ออกด้านนอกของการไหลขึ้นด้านบนของของแข็ง และแก๊สที่มีออกซิเจน 1 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 16, ที่ซึ่งความร้อนที่เกิดขึ้นในย่านที่อุดมด้วยคาร์บอน โดยปฏิกิริยาระหว่างออกซิเจน และวัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็ง และแก๊สที่ ออกซิไดซ์ได้อื่นๆ จะทำให้ของแข็งร้อนในการไหลขึ้นข้างบน และลงข้างล่างของของแข็ง โดยที่ของ แข็งในการไหลลงข้างล่างของของแข็งงจะถ่ายโอนความร้อนไปยังย่านที่อุดมด้วยโลหะ 1 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 16, ที่ซึ่งการไหลขึ้นข้างบน และการไหลลงข้างล่าง ของของแข็งจะกำบังผนังด้านข้างของเวสเซลจากความร้อนแผ่รังสีที่เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส ที่มีออกซิเจน และวัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง และของแข็ง และแก๊สที่ออกซิไดซ์ได้อื่นๆ ในฟลูอิไดซ์ เบด 1 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งวัสดุที่มีคาร์บอน คือ ถ่านหิน 2 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก๊สประกอบรวมด้วยแก๊สเพื่อการ รีดิวซ์ 2 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 20, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก็สประกอบรวมด้วย CO และ H2 และปริมาณของ H2 ในฟลูอิไดซิ่ง แก๊สอยู่ที่อย่างน้อย 15% โดยปริมาตรของปริมาตรทั้งหมดของ CO และ H2 ในแก๊ส 2 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งกระแสผลิตภัณฑ์ยังคงประกอบรวมด้วยของ แข็งที่นอกเหนือจากวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ถูกรีดิวซ์บางส่วนเป็นอย่างน้อย และกระบวนการ ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแยกอย่างน้อยส่วนหนึ่งของของแข็งอื่นๆ จากกระแสผลิตภัณฑ์ 2 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 22, ซึ่งประกอบรวมด้วยการนำอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ ของแข็งอื่นกลับไปยังเวสเซล 2 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการหมุนเวียนของแข็งที่ถูก แยกซ้ำไปยังส่วนด้านล่างของเวสเซล 2 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการทำให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะที่ถูกจัดให้แก่เวสเซลร้อนล่วงหน้าด้วยแก๊สที่เก็บคืนจากส่วนด้านบนของเวสเซล 2 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติกับแก๊สที่เก็บคืน จากส่วนด้านบนของเวสเซล และการนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลในฐานะเป็นฟหูอิไดซิ่ง แก๊ส 2 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติที่เก็บแก๊สคืนจาก ส่วนด้านบนของเวสเซลโดยอย่างน้อยหนึ่งใน (a) การกำจัดของแข็ง, (b) การหล่อเย็น, (c) การกำจัด น้ำ, (d) การกำจัด CO2, (e) การบีบอัด และ (f) การอุ่น และการนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลใน ฐานะที่เป็นฟลูอิไดซิ่ง แก๊ส 2 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติแก๊สที่เก็บคืนจาก ส่วนด้านบนของเวสเซตโดยการกำจัดของแข็ง การนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลในฐานนะที่ เป็นฟลูอิไดซิ่ง แก๊ส และการนำของแข็งที่ถูกกำจัดกลับไปยังเวสเซล 2 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก๊สมีแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ และ มากกว่า 50% ของวัสดุที่ประกอบด้วยโหละถูกรีดิวซ์ 3 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งแก๊สที่มีออกซิเจนประกอบรวมด้วยออกซิเจน อย่างน้อย 90% โดยปริมาตร 3 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ได้รับการปล่อยจากวัสดุที่มี คาร์บอนในย่านที่อุดมด้วยคาร์บอน และแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ทำปฏิกิริยากับวัสดุที่ประกอบด้วยโหละ ในย่านอุดมด้วยโลหะ 3 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 20% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ 3 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 10% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ ------------------------------------------------- แก้ไข 20/09/2559 1. กระบวนการฟลูอิไดซ์ เบดหมุนเวียนสำหรับรีดักชันโดยตรงของวัสดุที่ประกอบด้วย โลหะของแข็งที่มีการกระจายของขนาดอนุภาค ซึ่งอย่างน้อยในบางส่วนประกอบรวมด้วยอนุภาค ขนาดไมครอน โดยกระบวนการดังกล่าวประกอบรวมด้วย การจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ, วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง, แก๊สที่มีออกซิเจนและฟลูอิไดซิ่ง แก๊สยังเวสเซล โดยที่ฟลูอิไดซ์ เบดถูกรักษาไว้ในเวลเซล ซึ่งฟลูอิไดซ์ เบดที่มีย่านอุดมด้วยคาร์บอน การเก็บคืนแก๊สและของแข็งที่ถูกนำพาจากส่วนด้านบนของเวสเซล การแยกของแข็งจากแก๊สที่ถูก เก็บคืนและการหมุนเวียนซ้ำของแข็งที่ถูกแยกไปยังเวสเซล และการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์จากส่วน ด้านล่างของเวสเซล ที่ซึ่งขั้นตอนของการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจน ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนลง ข้างล่างเข้าสู่ย่านอุดมด้วยคาร์บอน โดยใช้ส่วนทวน (lance) ที่เย็น ที่เว้นห้างเข้าไปด้านในในแนว ระดับจากผนังด้านข้างของเวสเซล โดยที่ความร้อนเกิดขั้นในย่านอุดมด้วยคาร์บอนโดยปฏิกิริยา ระหว่างออกซิเจน และวัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง และของแข็ง และแก๊สที่ออกซิไดซ์ได้ อื่นๆ ในฟลูอิไดซ์ เบด ซึ่งวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะจะถูกรีดิวซ์อย่างน้อยบางส่วนในย่านอุดมด้วย โลหะข้างใต้ย่านอุดมด้วยคาร์บอน และกระแสผลิตภัณฑ์ที่ถูกปล่อยจากเวสเซลประกอบรวมด้วย วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่อย่างน้อยถูกรีดิวซ์บางส่วน และโดยที่กระบวนการประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาค โดยการปรับอย่างน้อยหนึ่งอย่างในอัตราการป้อนของวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ อัตราการป้อนของ วัสดุที่มีคาร์บอน และอัตราการป้อนของแก๊สที่มีออกซิเจน 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะในรูปละเอียด 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะ ในรูปสินแร่เหล็กละเอียดขนาดลบ 6 มิลลิเมตร 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะ ในรูปละเอียดที่มีขนาดอนุภาคเฉลี่ยในพิสัยจาก 0.1 ถึง 0.8 มิลลิเมตร 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่ประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ 90% ของอนุภาคที่ปล่อยจากส่วนด้านล่างของเวสเซลเป็นกระแสผลิตภัณฑ์ที่ไม่เกินกว่า ขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุกที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 30% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนโดย ใช้ส่วนทวนที่มีปลายที่ชี้ลงด้านล่างที่มากถึง 40 องศาจากแนวดิ่ง ที่ควรมากถึง 15 องศาจากแนวดิ่ง 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนถูกหล่อเย็นด้วยน้ำ 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนที่ท่อกลาง และกระบวนการประกอบ รวมด้วยการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจนผ่านท่อกลางของทวน 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการจัดให้แก๊สที่มีออกซิเจนด้วยความเร็วอย่างเพียงพอโดยย่านที่ไร้ของแข็งอย่างมี นัยสำคัญจะก่อรูปในบริเวณของปลายส่วนทวน โดยที่การก่อรูปส่วนพอกพูนที่สามารถกั้นการฉีด ของแก๊สที่มีออกซิเจนถูกทำให้น้อยที่สุด 1 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 10, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนด้วยความเร็วในพิสัย 50 ถึง 300 เมตร/วินาที 1 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวน และกระบวนการ ประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สกำบังสำหรับกำบังบริเวณของปลายส่วนทวน 1 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 12, ซึ่งประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สกำบังไปใน เวสเซลด้วยความเร็วอย่างน้อย 60% ของความเร็วของแก๊สที่มีออกซิเจน 1 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งส่วนทวนมีปลายส่วนทวนที่เว้นห่างเข้าไป ด้านในของผนังด้านข้างของเวสเซล และประกอบรวมด้วยท่อกลาง และส่วนทวนยังมีพื้นผิวด้านนอก และกระบวนการประกอบรวมด้วยการฉีดแก๊สที่มีออกซิเจนผ่านท่อกลาง และการหล่อเย็นพื้นผิวด้าน นอกของส่วนทวนด้วยน้ำ 1 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้ของแข็ง และ ฟลูอิไดซิ่ง แก๊สแก่เวสเซลในลักษณะที่ว่าของแข็งผ่านย่านอุดมด้วยคาร์บอน และย่านรีดิวซ์ 1 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการรักษาฟลูอิไดซ์ เบด โดยการจัดให้การไหลลงข้างล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน การไหลขึ้นด้านบนของของแข็ง และ ฟลูอิไดซิ่ง แก๊สทวนการไหลลงข้างล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน และการไหลลงข้างล่างของของแข็ง ออกด้านนอกของการไหลขึ้นด้านบนของของแข็ง และแก๊สที่มีออกซิเจน 1 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 16, ที่ซึ่งความร้อนที่เกิดขึ้นในย่านที่อุดมด้วยคาร์บอน โดยปฏิกิริยาระหว่างออกซิเจน และวัสดุเมทัลไลซ์ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็ง และแก๊สที่ ออกซิไดซ์ได้อื่นๆ จะทำให้ของแข็งร้อนในการไหลขึ้นข้างบน และลงข้างล่างของของแข็ง โดยที่ของ แข็งในการไหลลงข้างล่างของของแข็งงจะถ่ายโอนความร้อนไปยังย่านที่อุดมด้วยโลหะ 1 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 16, ที่ซึ่งการไหลขึ้นข้างบน และการไหลลงข้างล่าง ของของแข็งจะกำบังผนังด้านข้างของเวสเซลจากความร้อนแผ่รังสีที่เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส ที่มีออกซิเจน และวัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง และของแข็ง และแก๊สที่ออกซิไดซ์ได้อื่นๆ ในฟลูอิไดซ์ เบด 1 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งวัสดุที่มีคาร์บอน คือ ถ่านหิน 2 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก๊สประกอบรวมด้วยแก๊สเพื่อการ รีดิวซ์ 2 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 20, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก็สประกอบรวมด้วย CO และ H2 และปริมาณของ H2 ในฟลูอิไดซิ่ง แก๊สอยู่ที่อย่างน้อย 15% โดยปริมาตรของปริมาตรทั้งหมดของ CO และ H2 ในแก๊ส 2 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งกระแสผลิตภัณฑ์ยังคงประกอบรวมด้วยของ แข็งที่นอกเหนือจากวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ถูกรีดิวซ์บางส่วนเป็นอย่างน้อย และกระบวนการ ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแยกอย่างน้อยส่วนหนึ่งของของแข็งอื่นๆ จากกระแสผลิตภัณฑ์ 2 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 22, ซึ่งประกอบรวมด้วยการนำอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ ของแข็งอื่นกลับไปยังเวสเซล 2 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการหมุนเวียนของแข็งที่ถูก แยกซ้ำไปยังส่วนด้านล่างของเวสเซล 2 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการทำให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะที่ถูกจัดให้แก่เวสเซลร้อนล่วงหน้าด้วยแก๊สที่เก็บคืนจากส่วนด้านบนของเวสเซล 2 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติกับแก๊สที่เก็บคืน จากส่วนด้านบนของเวสเซล และการนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลในฐานะเป็นฟหูอิไดซิ่ง แก๊ส 2 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติที่เก็บแก๊สคืนจาก ส่วนด้านบนของเวสเซลโดยอย่างน้อยหนึ่งใน (a) การกำจัดของแข็ง, (b) การหล่อเย็น, (c) การกำจัด น้ำ, (d) การกำจัด CO2, (e) การบีบอัด และ (f) การอุ่น และการนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลใน ฐานะที่เป็นฟลูอิไดซิ่ง แก๊ส 2 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการปฏิบัติแก๊สที่เก็บคืนจาก ส่วนด้านบนของเวสเซตโดยการกำจัดของแข็ง การนำแก๊สที่ถูกปฏิบัติกลับไปยังเวสเซลในฐานนะที่ เป็นฟลูอิไดซิ่ง แก๊ส และการนำของแข็งที่ถูกกำจัดกลับไปยังเวสเซล 2 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งฟลูอิไดซิ่ง แก๊สมีแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ และ มากกว่า 50% ของวัสดุที่ประกอบด้วยโหละถูกรีดิวซ์ 3 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งแก๊สที่มีออกซิเจนประกอบรวมด้วยออกซิเจน อย่างน้อย 90% โดยปริมาตร 3 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ได้รับการปล่อยจากวัสดุที่มี คาร์บอนในย่านที่อุดมด้วยคาร์บอน และแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ทำปฏิกิริยากับวัสดุที่ประกอบด้วยโหละ ในย่านอุดมด้วยโลหะ 3 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 20% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ 3 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1, ซึ่งประกอบรวมด้วยการจัดให้วัสดุที่ประกอบด้วย โลหะไปยังเวสเซลด้วยขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือก และการควบคุมการเกาะรวมตัวกันของอนุภาคใน ลักษณะที่ไม่มากกว่า 10% โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็กที่ปล่อยจากกระบวนการ ถูกนำออกในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ ---------------------------------------------------------- 1. กระบวนการรีดักชันโดยตรงสำหรับวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะซึ่งมีการกระจายขนาด อนุภาคซึ่งอย่างน้อยที่สุดในส่วนหนึ่งจะประกอบรวมด้วยอนุภาคขนาดไมครอน ซึ่งกระบวนการจะ ประกอบรวมด้วย การป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ วัสดุที่มีคาร์บอน แก๊สที่มีออกซิเจน และแก๊ส เพื่อการก่อสภาพของไหลเข้าสู่ฐานก่อสภาพของไหลในเวสเซลและการคงสภาพฐานก่อสภาพของ ไหลในเวสเซล การรีดิวซ์วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะอย่างน้อยที่สุดอย่างเป็นบางส่วนในเวสเซลและ การคงสภาพฐานก่อสภาพของไหลในเวสเซล และการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์ซึ่งจะประกอบรวม ด้วยวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ผ่านการรีดิวซ์แล้วอย่างน้อยที่สุดเป็นบางส่วนจากเวสเซล และใน กระบวนการนี้จะได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดย (a) การสร้างและการคงสภาพย่านอุดมด้วยคาร์บอนภายในฐานก่อสภาพของไหล (b) การส่งผ่านวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ ซึ่งรวมถึงวัสดุที่มีความเป็น โลหะผ่านเข้าไปใน ย่านอุดมด้วยคาร์บอน และ (c) การฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนเข้าไปยังย่านอุดมด้วยคาร์บอนและการออกซิไดซ์วัสดุที่มี ความเป็นโลหะ วัสดุที่มีคาร์บอนแข็งและของแข็งและแก๊สที่สามารถออกซิไดซ์ได้ชนิดอื่นและการ ทำให้เกิดการเกาะรวมตัวของอนุภาคที่มีการควบคุม 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการป้อนวัสดุที่ ประกอบด้วยโลหะในรูปแบบของส่วนละเอียด 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งในที่นี้วัสดุที่ประกอบด้วยโลหะจะอยู่ในรูปแบบ ของส่วนละเอียดของสินแร่เหล็ก ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนละเอียดได้รับการทำให้ มีขนาดเท่ากับลบ 6 มิลลิเมตร 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือข้อ 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าส่วนละเอียดจะมีขนาดอนุภาคเฉลี่ยอยู่ในพิสัยเท่ากับ 0.1 ถึง 0.8 มิลลิเมตร 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะด้วยการมีขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือกไว้และการควบคุม การเกาะรวมตัวกัน เพื่อที่ว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของอนุภาคที่ปล่อยออกจากกระบวนการนี้ในฐานะเป็น กระแสผลิตภัณฑ์จะไม่เกินกว่าขนาดส่วนป้อนที่เลือกไว้ด้วยค่าสูงสุด 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่มีขนาดอนุภาคสูงสุดที่เลือกไว้แล้วและการควบคุมการ เกาะรวมตัวกัน เพื่อที่ว่าไม่มากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ถ้าให้ดียิ่งขึ้นแล้วจะไม่มากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ และ ถ้าให้ดียิ่งขึ้นไปอีกนั้นจะไม่มากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของน้ำหนักทั้งหมดของหน่วยเหล็ก ซึ่งปล่อยออกจากกระบวนการ จะได้รับการจัดการในกระแสแก๊สขับออกจากกระบวนการ 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการควบคุมการเกาะรวมตัวกันโดยการปรับแต่งอัตราป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ วัสดุที่มีคาร์บอน อุณหภูมิการเกิดปฏิกิริยา และแก๊สที่มีออกซิเจน สิ่งหนึ่งหรือมากกว่านี้ 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนเข้าสู่ย่านกลางของเวสเซล กล่าวคือ ย่านซึ่งอยู่บริเวณด้านใน ของผนังข้างของเวสเซล 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษ โดยการฉีดพ่นแก๊ส ที่มีออกซิเจนเพื่อที่ว่าจะมีการไหลลงทางด้านล่างของแก๊สในเวสเซล 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการฉีกพ่น แก๊สที่มีออกซิเจนที่มีการไหลลงทางด้านล่างในพิสัยเท่ากับบวกหรือลบ 40 องศากับแนวระดับ ถ้าให้ ดียิ่งขึ้นแล้วจะอยู่ในพิสัยเท่ากับบวกหรือลบ 15 องศากับแนวดิ่ง 1 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนผ่านทางส่วนทวนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนซึ่งมีส่วนปลายทวน ที่มีทางออกซึ่งกำหนดตำแหน่งไว้ในเวสเซลเข้าหาผนังข้างของเวสเซลในย่านกลางของเวสเซล 1 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปลาย ทวนจะได้รับการทำให้ชี้ลงทางด้านล่าง ถ้าให้ดียิ่งขึ้นไปอีกจะทำให้ชี้ลงทางด้านล่างตามแนวดิ่ง 1 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 หรือข้อ 12 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่า ตำแหน่งของส่วนทวน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้ว ความสูงของทางออกของ ส่วนปลายทวนจะได้รับการพิจารณากำหนดโดยการอ้างอิงกับปัจจัยหลายประการ เช่น การฉีดพ่น แก๊สที่มีออกซิเจน การเลือกใช้ และปริมาณของวัสดุป้อนอื่นๆ ไปยังเวสเซล และความหนาแน่นของ ฐานก่อสภาพของไหล 1 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ถึงข้อ 13 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษโดยการหล่อเย็นส่วนปลายทวนด้วยน้ำเพื่อที่จะทำให้ความเป็นไปได้ในการเกิดส่วน พอกพูนซึ่งมีการก่อตัวบนส่วนปลายทาวนน้อยที่สุดซึ่งจะสามารถกีดขวางการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจน 1 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ถึงข้อ 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษโดยการหล่อเย็นด้วยน้ำของพื้นผิวด้านนอกของส่วนทวนที่ว่านี้ 1 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ถึงข้อ 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษโดยการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนผ่านท่อกลางของส่วนทวนที่ว่านี้ 1 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนด้วยความเร็วที่พอเพียงเพื่อที่จะก่อรูปย่านไร้ของแข็งอย่างเป็น สำคัญในย่านของทางออกของส่วนปลายทวน เพื่อที่จะทำให้มีการก่อตัวของส่วนพอกพูนซึ่งสามารถ กีดขวางการฉีดพ่นแก๊สที่มีออกซิเจนให้มีน้อยที่สุด 1 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า ออกซิเจนจะ ได้รับการฉีดพ่นด้วยเร็วในพิสัยเท่ากับ 50-300 เมตร/วินาที 1 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการฉีดพ่นไนโตรเจน และ/หรือ ไอน้ำและ/หรือแก๊สกำบังที่เหมาะสมอื่นและการกำบังย่าน ทางออกของส่วนปลายทวน 2 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 19 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการฉีดพ่น แก๊สกำบังเข้าสู่เวสเซลที่ความเร็วซึ่งมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 60 เปอร์เซ็นต์ของความเร็วแก๊สที่มี ออกซิเจน 2 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษ โดยการสร้างย่านการเกิดปฏิกิริยาในฐานก่อสภาพของไหลและการเคลื่อนย้ายของแข็งและฐาน ก่อสภาพของไหลภายในฐานก่อสภาพของไหล เพื่อที่ว่าของแข็งจะผ่านย่านการเกิดปฏิกิริยาเข้าไป 2 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า ย่านการ เกิดปฏิกิริยาอาจจะเป็นแบบชิดกัน 2 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 20 หรือข้อ 21 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าย่านการเกิดปฏิกิริยาย่านหนึ่งจะเป็นย่านอุดมด้วยคาร์บอนและได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าย่านการเกิดปฏิกิริยาย่านอื่นจะเป็นย่านอุดมด้วยโลหะซึ่งวัสดุที่ประกอบด้วย โลหะ เช่น สินแร่เหล็ก จะได้รับการรีดิวซ์ในภาวะของแข็งในย่านนี้ 2 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าย่านอุดมด้วย โลหะจะได้รับการจัดให้อยู่ในตำแหน่งในตอนด้านล่างของฐานก่อสภาพของไหลและย่านอุดมด้วย คาร์บอนจะได้รับการจัดให้อยู่ในบริเวณเหนือย่านอุดมด้วยโลหะ 2 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าฐานก่อสภาพของไหลจะประกอบรวมด้วย การเคลื่อนที่ขึ้นทางด้านบนและเคลื่อนที่ลง ทางด้านล่างของของแข็งผ่านย่านต่างๆ 2 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการป้อนวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะ วัสดุที่มีคาร์บอน แก๊สที่มีออกซิเจน และแก๊สเพื่อการ ก่อสภาพของไหลไปยังฐานก่อสภาพของไหลและการคงสภาพฐานก่อสภาพของไหลด้วย (a) การ ไหลลงทางด้านล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน (b) การไหลขึ้นทางด้านบนของของแข็งและแก๊สเพื่อการ ก่อสภาพของไหลต้านกระแสกับการไหลลงทางด้านล่างของแก๊สที่มีออกซิเจน และ (c) การไหลลง ทางด้านล่างของของแข็งออกทางด้านนอกของส่วนการไหลขึ้นทางด้านบนของของและแก๊สเพื่อ การก่อสภาพของไหล 2 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า ของแข็งใน ส่วนการไหลขึ้นทางด้านบนและไหลลงทางด้านล่างของของแข็งจะได้รับการทำให้ร้อนโดยความ ร้อนที่เกิดจากการเกิดปฏิกิริยาระหว่างแก๊สที่มีออกซิเจน วัสดุที่มีคาร์บอน และวัสดุที่สามารถ ออกซิไดซ์ได้ชนิดอื่น(เช่น CO ส่วนระเหยง่าย และ H2) ในย่านอุดมด้วยคาร์บอน ซึ่งในที่นี้ของแข็ง ในส่วนการไหลลงทางด้านล่างของของแข็งจะถ่ายโอนความร้อนไปยังย่านอุดมด้วยโลหะ 2 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 หรือข้อ 27 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนการไหลขึ้นด้านบนและไหลลงทางด้านล่างของของแข็ง จะกำบังผนังข้าง ของเวสเซลจากการรับความร้อนจากการแผ่รังสีซึ่งเกิดขึ้นโดยการเกิดปฏิกิริยาระหว่างแก๊สที่มี ออกซิเจนและวัสดุที่มีคาร์บอนแข็ง และของแข็งและแก๊สที่สามารถออกซิไดซ์ได้ชนิดอื่นในฐานก่อ สภาพของไหล 2 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าวัสดุที่มีคาร์บอนจะเป็นถ่านหิน 3 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าแก๊สเพื่อการก่อสภาพของไหลจะประกอบรวมด้วยแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ เช่น CO และ H2 3 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าแก๊สเพื่อการก่อสภาพของไหลจะมีค่าอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 15 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตรของ ปริมาตรทั้งหมดของ CO และ H2 ในแก๊ส 3 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษ โดยการปล่อยกระแสผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบรวมด้วยวัสดุที่ประกอบด้วยโลหะที่ผ่านการรีดิวซ์ แล้วอย่างน้อยที่สุดเป็นบางส่วนจากตอนล่างของเวสเซล 3 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งในที่นี้กระแสผลิตภัณฑ์ ยังประกอบรวมด้วยของแข็งอื่นอีกด้วย จะได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการแยกส่วนอย่าง น้อยที่สุดหนึ่งส่วนของของแข็งอื่นที่ว่านี้ออกจากกระแสผลิตภัณฑ์ 3 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 33 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการส่งกลับ ส่วนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนของของแข็งอื่นที่ว่านี้ไปยังเวสเซล 3 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการปล่อยกระแสแก๊สขับออกซึ่งมีของแข็งที่ผ่านการกักกันไว้จากตอนบนของเวสเซล 3 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษ โดยการแยกส่วน อย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนของของแข็งที่มีการกักกันไว้จากกระแสแก๊สขับออก 3 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 35 หรือข้อ 36 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดย การคงสภาพฐานก่อสภาพของไหลที่มีการไหลเวียนโดยการแยกของแข็งที่ได้รับการกักกันไว้จาก กระแสแก๊สขับออกและการส่งกลับส่วนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนของของแข็งที่ได้รับการแยกไว้แล้ว ไปยังเวสเซล 3 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ถึงข้อ 37 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษ โดยการส่งกลับของแข็งซึ่งได้รับการแยกไว้แล้วจากแก๊สขับออกไปยังตอนล่าง ฐานก่อสภาพของไหล 3 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษโดยการอุ่นวัสดุป้อนที่ประกอบด้วยโลหะด้วยแก๊สขับออกจากเวสเซล 4 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 39 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการปฏิบัติ ต่อแก๊สขับออกหลังจากขั้นตอนการอุ่นและการส่งกลับส่วนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนของแก๊สขับออก ที่ผ่านการปฏิบัติแล้วไปยังเวสเซลในฐานะเป็นแก๊สเพื่อการก่อสภาพของไหล 4
1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าการปฏิบัติต่อ แก๊สขับออกจะประกอบรวมด้วย (a) การกำจัดของแข็ง (b) การหล่อเย็นแก๊สขับออก (c) การกำจัดน้ำ (d) การกำจัด CO2 (e) การบีบอัด และ (f) การอุ่น การดำเนินการหนึ่งขั้นตอนหรือมากกว่านี้ 4
2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 40 หรือข้อ 41 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า การปฏิบัติต่อแก๊สขับออกจะประกอบรวมด้วยการส่งกลับของแข็งไปยังเวสเซล 4
3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่มีความเป็นโลหะมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษโดยการปฏิบัติด้วยแก๊สเพื่อการรีดิวซ์ในฐานก่อสภาพ ของไหล 4
4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะ พิเศษที่ว่าแก๊สที่มีออกซิเจนจะประกอบรวมด้วยออกซิเจนอย่างน้อยที่สุด 90 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร
TH501002471A 2005-05-30 กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง TH52679B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH75901A true TH75901A (th) 2006-02-23
TH52679B TH52679B (th) 2016-12-02

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4693682A (en) Treatment of solids in fluidized bed burner
JPH0143799B2 (th)
JPS6013401B2 (ja) 液状銑鉄及び還元ガスを発生させる方法及び装置
JP5000486B2 (ja) 直接還元方法および装置
US7947107B2 (en) Direct reduction apparatus and process
JPH0120206B2 (th)
RU2276691C2 (ru) Способ и устройство для прямой плавки
TH75901A (th) กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง
TH52679B (th) กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง
JP5000487B2 (ja) 直接還元方法
US5006062A (en) Treatment of solids in fluidized bed burner
EP1756324B1 (en) Direct reduction process using a single fluidised bed
JP2000514504A (ja) 溶融ガス化領域に対する金属含有物の供給方法
JP2024515323A (ja) 金属粉末の冷却および搬送プロセス
KR20230172011A (ko) 가스 분무기
KR20240024942A (ko) 가스 무화기
AU2005248040B2 (en) A direct reduction process
TH52391B (th) กระบวนการและเครื่องมือเพื่อการรีดักชันโดยตรง
TH75898A (th) กระบวนการและเครื่องมือเพื่อการรีดักชันโดยตรง
TH75899A (th) กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง
MXPA00002928A (en) Direct smelting process for producing metals from metal oxides
TH51221B (th) กระบวนการเพื่อการรีดักชันโดยตรง
TH51901B (th) กระบวนการและเครื่องมือเพื่อการรีดักชันโดยตรง