TH7441A3 - กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม - Google Patents
กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอมInfo
- Publication number
- TH7441A3 TH7441A3 TH603001753U TH0603001753U TH7441A3 TH 7441 A3 TH7441 A3 TH 7441A3 TH 603001753 U TH603001753 U TH 603001753U TH 0603001753 U TH0603001753 U TH 0603001753U TH 7441 A3 TH7441 A3 TH 7441A3
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- agarwood
- wood
- solvent
- solution
- degrees celsius
- Prior art date
Links
- 239000002023 wood Substances 0.000 title claims abstract 12
- 238000000034 method Methods 0.000 title claims abstract 7
- 230000035943 smell Effects 0.000 title claims abstract 4
- 241000271309 Aquilaria crassna Species 0.000 claims abstract 13
- 239000002904 solvent Substances 0.000 claims abstract 9
- UHOVQNZJYSORNB-UHFFFAOYSA-N benzene Chemical compound C1=CC=CC=C1 UHOVQNZJYSORNB-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 4
- LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N ethanol Chemical compound CCO LFQSCWFLJHTTHZ-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 4
- VLKZOEOYAKHREP-UHFFFAOYSA-N hexane Chemical compound CCCCCC VLKZOEOYAKHREP-UHFFFAOYSA-N 0.000 claims abstract 4
- 239000000843 powder Substances 0.000 claims abstract 3
- 239000000126 substance Substances 0.000 claims abstract 3
- 238000001816 cooling Methods 0.000 claims abstract 2
- 239000008079 hexane Substances 0.000 claims abstract 2
- 239000007788 liquid Substances 0.000 claims abstract 2
- 239000000243 solution Substances 0.000 claims 3
- 239000007864 aqueous solution Substances 0.000 claims 1
- 230000005494 condensation Effects 0.000 claims 1
- 238000009833 condensation Methods 0.000 claims 1
- 238000010438 heat treatment Methods 0.000 claims 1
- 125000003118 aryl group Chemical group 0.000 abstract 1
- 238000004821 distillation Methods 0.000 abstract 1
- 238000001914 filtration Methods 0.000 abstract 1
- 238000002156 mixing Methods 0.000 abstract 1
- 238000003756 stirring Methods 0.000 abstract 1
- 238000005406 washing Methods 0.000 abstract 1
Abstract
กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม มีขั้นตอนดังนี้ นำไม้กฤษณามาทำการบดให้เป็นผงหรือเป็นเศษไม้ชิ้น เล็กๆ จากนั้นนำไปแช่ในลายทำละลายที่เลือกได้ จาก เอธานอล,เฮกเซน,เบนซิน เพื่อให้สารทำละลาย กับผงไม้กฤษณาผสมกัน โดยทำการกวนด้วยใบพัดจนเกิดกระบวนการชะล้างและผสมกันจนเป็นเนื้อ เดียวกัน จากนั้นจึงทำการกรองเพื่อแยกกากของไม้กฤษณาออกจากสารละลาย แล้วจึงทำการกลั่นระเหย ด้วยสุญญากาศที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียสเพื่อแยกสารละลายกฤษณากับสารละลายออกจาก กัน ทำการหล่อเย็นที่อุณหภูมิ 4-20 องศาเซลเซียสเพื่อให้สารทำละลายนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และนำเอา สารละลายกฤษณาไปทำการกลายสภาพเป็นของเหลวโดยนำไปผสมกับสารทำละลายใน อัตรา 11 พร้อมให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียสแล้วนำไปแช่ในเนื้อไม้ที่มิใช่ไม้กฤษณาเป็นเวลา ประมาณ 3-7 วันตามความหนาของไม้ เพื่อให้สารที่มีความหอมถูกดูดซึมเข้าไปในเนื้อไม้:
Claims (2)
1. กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำเศษไม้กฤษณามาบดให้เป็นผงหรือเป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นจึงนำไปแช่กับสารละลายที่ เป็นตัวทำละลาย เพื่อให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยใช้เวลา 2 วัน หรือ 48 ชั่วโมงต่อเนื่องกัน จากนั้นจึงนำมา กรองเพื่อแยกชิ้นไม้ออกจากสารละลายกฤษณา จากนั้นจึงนำสารละลายกฤษณามากลั่นให้ระเหยด้วย สุญญากาศ โดยผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียส จนได้สารกฤษณาเข้มข้นหรือ สารเรซินอยด์ และสารทำละลายที่กลายเป็นไอ โดยสารทำละลายที่กลายเป็นไอจะถูกนำไปทำกระบวนการ ควบแน่น โดยการหล่อเย็นที่อุณหภูมิ 4-20 องศาเซลเซียส และทำให้กลายเป็นน้ำจนได้สารทำละลายที่ นำกลับมาใช้ใหม่ได้ ข. นำสารกฤษณาเข้มข้นหรือสารเรซินอยด์ที่ได้จากข้อ ก. มาผสมกับสารทำละลายในอัตรา 1 : 1 เพื่อให้สารกฤษณากลายสภาพเป็นของเหลว จากนั้นนำไม้ที่ขึ้นรูปกับสารกฤษณาไปผ่าน กระบวนการออสโมซิส (Osmosis) พร้อมให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียส เพื่อให้เปลือก ไม้ดูดซึมสารกฤษณา ค. นำสารที่ได้จากข้อ ข. ทำการออสโมซิสเป็นเวลา 3-7 วัน ตามความหนาของไม้
2. กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง ตัวทำละลาย เลือกได้จาก เอทานอล,เฮก เซน,เบนซิน อย่างใดย่างหนึ่ง
Publications (2)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH7441A3 true TH7441A3 (th) | 2012-09-05 |
TH7441C3 TH7441C3 (th) | 2012-09-05 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
Yansheng et al. | Microwave-assisted extraction of lactones from Ligusticum chuanxiong Hort. using protic ionic liquids | |
Sahne et al. | Enzyme-assisted ionic liquid extraction of bioactive compound from turmeric (Curcuma longa L.): Isolation, purification and analysis of curcumin | |
Rente et al. | Review of deep eutectic systems from laboratory to industry, taking the application in the cosmetics industry as an example | |
EP2349519B1 (en) | Compositions and methods for dissolving oils | |
CN110218232B (zh) | 一种虎杖中虎杖苷的提取方法 | |
Yorgun et al. | Activated carbon from paulownia wood: Yields of chemical activation stages | |
CN103756787A (zh) | 木材加工废弃物杉木屑提取精油联产化学法活性炭的方法 | |
Wang et al. | Ionic liquid-based ultrasonic/microwave-assisted extraction of steroidal saponins from Dioscorea zingiberensis CH Wright | |
CN103361177B (zh) | 一种从致香原料中提取致香化合物的方法 | |
Liang et al. | Ultrasound‐Assisted Natural Deep Eutectic Solvents as Separation‐Free Extraction Media for Hydroxytyrosol from Olives | |
Fu et al. | Enhanced extraction efficiency of natural D‐borneol from Mei Pian tree leaves pretreated with deep eutectic solvents | |
TH7441C3 (th) | กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม | |
TH7441A3 (th) | กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม | |
Peydayesh et al. | Treatment of bentazon herbicide solutions by vacuum membrane distillation | |
CN106351026B (zh) | 一种硅橡胶膜及其制备方法 | |
CN104173238A (zh) | 竹醋面膜的制备方法 | |
Lateef et al. | Ionic liquids in the selective recovery of fat from composite foodstuffs | |
CN105153250B (zh) | 高效富集唐古特虎耳草中二芳基庚烷类化合物的方法 | |
Wang et al. | Optimization of ultrasonic-assisted extraction of flavonoid from Portulaca oleracea L. by response surface methodology and chemical composition analysis | |
CN103408616A (zh) | 一种鸦胆子苷a的制备方法 | |
Fareghi-Alamdari et al. | An efficient synthetic approach to substituted trisphenols (phloroglucide analogues) using tungstosilicic acid in water | |
CN104211578A (zh) | 一种对-薄荷烷-3,8-二醇的提纯工艺 | |
JP2017018873A (ja) | カシューナッツ殻油を用いた植物系液化物の製造方法、並びに、植物系フェノール粉体及び炭化物の製造方法 | |
Meng et al. | Advances on applications of supramolecular solvents in sample pretreatment and analytical techniques | |
DE102013013401A1 (de) | Nutzung von Siliciumcarbid (Dielektrikum)als ggf. Verbrauchsmaterial zur Erwärmung dünner Materialschichten mittels Mikrowellenstrahlung |