TH7441C3 - กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม - Google Patents

กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม

Info

Publication number
TH7441C3
TH7441C3 TH603001753U TH0603001753U TH7441C3 TH 7441 C3 TH7441 C3 TH 7441C3 TH 603001753 U TH603001753 U TH 603001753U TH 0603001753 U TH0603001753 U TH 0603001753U TH 7441 C3 TH7441 C3 TH 7441C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
agarwood
wood
solvent
solution
degrees celsius
Prior art date
Application number
TH603001753U
Other languages
English (en)
Other versions
TH7441A3 (th
Inventor
กัลยาวุฒิพงศ์ นายวีรศักดิ์
Original Assignee
นางสาวรตินุช ก้าวหน้าชัยมงคล
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวรตินุช ก้าวหน้าชัยมงคล filed Critical นางสาวรตินุช ก้าวหน้าชัยมงคล
Publication of TH7441A3 publication Critical patent/TH7441A3/th
Publication of TH7441C3 publication Critical patent/TH7441C3/th

Links

Abstract

กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม มีขั้นตอนดังนี้ นำไม้กฤษณามาทำการบดให้เป็นผงหรือเป็นเศษไม้ชิ้น เล็กๆ จากนั้นนำไปแช่ในลายทำละลายที่เลือกได้ จาก เอธานอล,เฮกเซน,เบนซิน เพื่อให้สารทำละลาย กับผงไม้กฤษณาผสมกัน โดยทำการกวนด้วยใบพัดจนเกิดกระบวนการชะล้างและผสมกันจนเป็นเนื้อ เดียวกัน จากนั้นจึงทำการกรองเพื่อแยกกากของไม้กฤษณาออกจากสารละลาย แล้วจึงทำการกลั่นระเหย ด้วยสุญญากาศที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียสเพื่อแยกสารละลายกฤษณากับสารละลายออกจาก กัน ทำการหล่อเย็นที่อุณหภูมิ 4-20 องศาเซลเซียสเพื่อให้สารทำละลายนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และนำเอา สารละลายกฤษณาไปทำการกลายสภาพเป็นของเหลวโดยนำไปผสมกับสารทำละลายใน อัตรา 11 พร้อมให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียสแล้วนำไปแช่ในเนื้อไม้ที่มิใช่ไม้กฤษณาเป็นเวลา ประมาณ 3-7 วันตามความหนาของไม้ เพื่อให้สารที่มีความหอมถูกดูดซึมเข้าไปในเนื้อไม้:

Claims (2)

1. กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำเศษไม้กฤษณามาบดให้เป็นผงหรือเป็นชิ้นเล็กๆ จากนั้นจึงนำไปแช่กับสารละลายที่ เป็นตัวทำละลาย เพื่อให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยใช้เวลา 2 วัน หรือ 48 ชั่วโมงต่อเนื่องกัน จากนั้นจึงนำมา กรองเพื่อแยกชิ้นไม้ออกจากสารละลายกฤษณา จากนั้นจึงนำสารละลายกฤษณามากลั่นให้ระเหยด้วย สุญญากาศ โดยผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียส จนได้สารกฤษณาเข้มข้นหรือ สารเรซินอยด์ และสารทำละลายที่กลายเป็นไอ โดยสารทำละลายที่กลายเป็นไอจะถูกนำไปทำกระบวนการ ควบแน่น โดยการหล่อเย็นที่อุณหภูมิ 4-20 องศาเซลเซียส และทำให้กลายเป็นน้ำจนได้สารทำละลายที่ นำกลับมาใช้ใหม่ได้ ข. นำสารกฤษณาเข้มข้นหรือสารเรซินอยด์ที่ได้จากข้อ ก. มาผสมกับสารทำละลายในอัตรา 1 : 1 เพื่อให้สารกฤษณากลายสภาพเป็นของเหลว จากนั้นนำไม้ที่ขึ้นรูปกับสารกฤษณาไปผ่าน กระบวนการออสโมซิส (Osmosis) พร้อมให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50-80 องศาเซลเซียส เพื่อให้เปลือก ไม้ดูดซึมสารกฤษณา ค. นำสารที่ได้จากข้อ ข. ทำการออสโมซิสเป็นเวลา 3-7 วัน ตามความหนาของไม้
2. กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง ตัวทำละลาย เลือกได้จาก เอทานอล,เฮก เซน,เบนซิน อย่างใดย่างหนึ่ง
TH603001753U 2006-11-02 กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม TH7441C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH7441A3 TH7441A3 (th) 2012-09-05
TH7441C3 true TH7441C3 (th) 2012-09-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Yansheng et al. Microwave-assisted extraction of lactones from Ligusticum chuanxiong Hort. using protic ionic liquids
Sahne et al. Enzyme-assisted ionic liquid extraction of bioactive compound from turmeric (Curcuma longa L.): Isolation, purification and analysis of curcumin
Mashhadi et al. Microwave-induced H2SO4 activation of activated carbon derived from rice agricultural wastes for sorption of methylene blue from aqueous solution
EP2349519B1 (en) Compositions and methods for dissolving oils
Rente et al. Review of deep eutectic systems from laboratory to industry, taking the application in the cosmetics industry as an example
CN110218232B (zh) 一种虎杖中虎杖苷的提取方法
Wang et al. Ionic liquid-based ultrasonic/microwave-assisted extraction of steroidal saponins from Dioscorea zingiberensis CH Wright
Fu et al. Enhanced extraction efficiency of natural D‐borneol from Mei Pian tree leaves pretreated with deep eutectic solvents
TH7441C3 (th) กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม
TH7441A3 (th) กรรมวิธีการทำให้ไม้เกิดกลิ่นหอม
HRP20211461T1 (hr) Postupak ekstrakcije mirisnog ekstrakta uporabom alternativnog otapala u usporedbi s konvencionalnim otapalima
Peydayesh et al. Treatment of bentazon herbicide solutions by vacuum membrane distillation
CN102304027B (zh) 从厚朴树叶中提取厚朴酚的方法
Lateef et al. Ionic liquids in the selective recovery of fat from composite foodstuffs
CN105153250B (zh) 高效富集唐古特虎耳草中二芳基庚烷类化合物的方法
CN105622679A (zh) 食用单宁酸的制备方法
Fujimori et al. Fluorescence Enhancement of a Dicyanostilbene Derivative Film Casted from an Alcoholic Solution Triggered by UV-light Irradiation
Fareghi-Alamdari et al. An efficient synthetic approach to substituted trisphenols (phloroglucide analogues) using tungstosilicic acid in water
Meng et al. Advances on applications of supramolecular solvents in sample pretreatment and analytical techniques
DE102013013401A1 (de) Nutzung von Siliciumcarbid (Dielektrikum)als ggf. Verbrauchsmaterial zur Erwärmung dünner Materialschichten mittels Mikrowellenstrahlung
Mukhlisa et al. Synthesis Of Silver Nanoparticles (Agnp) From The Extract Of Kemloko Fruit (Phyllantus Emblica L.)
Zhou et al. Resourcing Potential of Diverse Functional Components from Chaenomeles Sinensis Immature Fruits.
Tang et al. Study on quenching effect of nitrite ions on zinc oxide modified by polyvinylpyrrolidone
Li et al. Effects of Solvents and Extraction Methods to Extraction of Fructus Leonuri
CN105053030A (zh) 茉莉花茶喷雾剂的制备方法