TH7202B - เมล็ดสารปล่อยอิบูดพรเฟนเป็นเวลานานและกรรมวิธีในการผลิต - Google Patents

เมล็ดสารปล่อยอิบูดพรเฟนเป็นเวลานานและกรรมวิธีในการผลิต

Info

Publication number
TH7202B
TH7202B TH8801000237A TH8801000237A TH7202B TH 7202 B TH7202 B TH 7202B TH 8801000237 A TH8801000237 A TH 8801000237A TH 8801000237 A TH8801000237 A TH 8801000237A TH 7202 B TH7202 B TH 7202B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
alcohol
agent
weight
starch
granulation
Prior art date
Application number
TH8801000237A
Other languages
English (en)
Other versions
TH5988A (th
TH5988EX (th
Inventor
เวสลีย์ ราเดบอฟ นายแกเลน
นิโคลาส จูเลียน นายโธมัส
ไกลเนคเกอ นายโรเบริต์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH5988A publication Critical patent/TH5988A/th
Publication of TH5988EX publication Critical patent/TH5988EX/th
Publication of TH7202B publication Critical patent/TH7202B/th

Links

Abstract

เม็ดหรือชั้นของเม็ดสารซึ่งปลดปล่อยอิบูโทรเฟนเป็นเวลานานผลิตโดยทำแกรนูลเปียกโดยใช้โพวิโดน (PVP) ในแอลกอฮอล์เป็น ของเหลวทำให้เกิดแกรนูลผสมกับอิบูโพรเฟน, เอธิลเซลลูโลส, สารทำให้เกิดร่อง เช่นไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส, สารช่วย การแตกตัว เช่นแป้งที่ทำให้เป็นเจลลาตินแล้ว, หลังจากนั้น ทำให้แห้งและบดแกรนูลนั้นและผสมกับผงแห้งของสารช่วยการแตก ตัว, สารทำให้เกิดรอ่ง, สารหล่อลื่น เช่น แมกนีเซียม สเ ทียเรท และสารช่วยการไหลผ่าน ซิลิคอน ไดออกไซด์ และอัดแกรนูลที่ ได้ให้เป็นเม็ด ซึ่งเมื่อใช้เม็ดสารนี้จะทำให้เกิดการปลด ปล่อย อิบูโพรเฟนในปริมาณที่ค่อนข้างสม่ำเสมอเป็นเวลานาน สิทธิบัตรยา

Claims (1)

1. กรรมวิธีสำหรับเตรียมเม็ดสารที่อัดทำรูปร่าง ซึ่งปลดปล่อยอิบูโพรเฟนเป็นเวาลานาน ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ จะปลด ปล่อยอิบูโพรเฟนอย่างช้าๆ และค่อนข้างสม่ำเสมอและเป็นเวลา นานเมื่อใช้เม็ดสารนี้ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ (A) ทำสารให้เกิดแกรนูลโดยละลายโพวิโดน 5-30 ส่วนโดยน้ำ หนักของสารผสมทั้งหมดในแอลกออฮล์ หรือสารผสมของ แอลกอฮอล์-น้ำ, (B) ผสมส่วนประกอบต่อไปนี้เข้าด้วยกันโดยมีส่วนโดยน้ำหนัก เทียบกับน้ำหนักทั้งหมดของสารผสม ดังต่อไปนี้โดยมีอิบู โพรเฟนเพียงพอที่จะประกอบอยู่ 73 ถึงิ 93 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนักของสารผสมทั้งหมดในรูปผงแห้ง ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก เอธิลเซลลูโลส 3-12 สารทำให้เกิดร่อง 10-35 สารช่วยการแตกตัว 5-25 (C) เติมสารทำให้เกิดแกรนูลจากขั้น A ลงในผงผสมจากขั้น B และทำให้เป็นแกรนูลเปียก (D) ทำให้แกรนูลเปียกของชั้น C แห้ง (E) บดแกรนูลแห้งจากขั้น D (F) ผสมแกนูลที่บดและทำให้แห้งแล้วจากขั้น E ให้เข้ากันดี กับส่วนประกอบต่อไปนี้ในรูปผงแห้งตามส่วนโดยน้ำหนักเทียบ กับน้ำหนักสารผสมทั้งหมด ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก สารช่วยการแตกตัว 1-20 สารทำให้เกิดร่อง 3-20 สารหล่อลื่น 0-10 สารช่วยการไหลผ่าน 2-10 และ (G) อัดแกรนูลสุดท้ายจากขั้น F ให้เป็นเม็ดหรือชั้นของเม็ด 2. กรรมวิธีาของข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง: ในขั้น A แอลกอฮอล์ที่ใช้คือ แอลกอฮอล์ USP หรืออีไฮเดรเทด แอลกอฮอล์ USP หรือเมธิล แอลกอฮอล์ USP หรือไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์ USP; ในขั้น B สารทำให้เกิดร่องที่ใช้คือ ไมโครค ริสทัลไลน์ เซลลูโลสหรือผงเซลลูโลส และสารช่วยการแตกตัวที่ ใช้คือ แป้งที่ทำให้เกิดเจลาตินแล้วหรือสตาร์ช (starch) NF หรือแป้งข้าวเจ้า, ในขั้น C ทำให้เกิดแกรนูลเปียกโดยผสมใน เครื่องทำแกรนูลชนิดแรงเฉือนสูง, และในขั้น F สารช่วยการ แตกตัวที่ ใช้คือ แป้งที่ทำให้เกิดเจลาตินแล้วหรือสตาร์ช NF หรือแป้ง ข้าวเจ้า 3-20 ส่วนโดยน้ำหนัก, หรือโซเดียมสตาร์ช ไกล คอเลทม หรือครอสคาร์เมลโลสโซเดียม หรือครอสโพวิโดน 1-15 ส่วนโดยน้ำหนัก, สารหล่อลื่นที่ใช้คือ แมกนีเซียม สเทียเรท หรือกรดสเทียริด และสารช่วยการไหลผ่านคือ คลอลอยดัล ซิลิคอนไดออกไซด์ หรือฟูน ซิลิคอนไดออกไซด์ 3. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่ง : ในขั้น A แอลกอฮอล์ที่ใช้คือ แอลกอฮอล์ USP; ในขั้น B สาร ทำให้เกิดร่องที่ใช้คือ ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส, สาร ช่วยการแตกตัวที่ใช้คือ แป้งทำให้เกิดเจลาตินแล้ว, ในขั้น F สารข่วยการแตกตัวที่ใช้คือ แป้งทำให้เกิดเจลาตินแล้ว, สารหล่อลื่นที่ใช้คือ แมกนีเซียม สเทียเรท , และสารช่วยการ ไหลผ่านที่ใช้คือ คอลลอยคัล ซิลิคอน ไดออกไซด์ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งส่วนประกอบที่เฉพาะ เจาะจงและปริมาณที่ใช้คือ : ขั้น ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก A แอลกอฮอล์-น้ำ (1:1) ปริมาณเพียงพอ โพวิโดน 14.7 B อิบูโพรเฟน 440.0 เอธิลเซลลูโลส 7.3 ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส 22 แป้งทำให้เกิดเจลาตินแล้ว 14 F แป้งทำให้เกิดเจลาติดแล้ว 8 ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส 7.3 แมกนีเซียม สเทียเรท 5 คอลลอยดัล ซิลิคอน ไดออกไซด์ 5 5. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งส่วนโดยน้ำหนักที่แสดง หมายถึง มิลลิกรัมต่อเม็ด 6. กรรมวิธีสำหรับเตรียมเม็ดสอบชั้นของอิบูโพรเฟนชนิดปลด ปล่อยสารเป็นเวลานานซึ่งประกอบด้วยชั้นแรกเป็นชั้นที่ปลด ปล่อยสารทันที่และชั้นที่สองเป็นชั้นที่ปลดปล่อยอิบูโพรเฟน ช้าๆ , เป็นเวลานานและเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมดโดยสัมพัทธ์ ตามขั้นตอนต่อไปนี้: (A) เตรียมชั้นที่ปลดปล่อยสารทันที่ซึ่งประกอบด้วยอิบู โพรเฟนและตัวเติมซึ่งเป็นที่ยอมรับทางเภสัชศาสตร์, และ (B) เตรียมชั้นที่ปลดปล่อยสาร เป็นเวลานานซึ่งประกอบ ด้วยอิบูโพรเฟนเป็นสารแสดงฤทธิ์ตามขั้นตอนต่างๆ ต่อไปนี้ : (1) ผลิตสารทำให้เกิดแกรนูลโดยละลายโพวิโดนประมาณ 5-30 ส่วนโดยน้ำหนักของชั้นที่ปลดปล่อยสารเป็นเวลานานทั้งหมด, ในแอลกอฮอล์หรือสารผสมของแอลกอฮอล์-น้ำ (2) ผสมอิบูโพรเฟนในปริมาณเพียงพอที่จะทำให้มีอยู่ 73 ถึง 93 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักทั้งหมดของชั้นสารที่ปลดปล่อยเป็น เวลานาน, กับส่วนประกอบต่อไปนี้ในรูปผงแห้งเป็นส่วนโดยน้ำ หนักทั้งหมดของชั้นสารปลดปล่อยเป็นเวลานานดังต่อไปนี้: ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก เอธิลเซลลูโลส 3-12 สารทำให้เกิดร่อง 10-35 สารช่วยการแตกตัว 5-25 (3) เติมสารทำให้เกิดแกรนูลจากขั้น A ลงในผงผสมจากขั้น 2 และทำให้เป็นแกรนูลเปียก (4) ทำให้แกรนูลเปียกของชั้น 3 แห้ง (5) บดแกรนูลแห้งจากขั้น 4 (6) ผสมแกนูลที่บดและทำให้แห้งแล้วจากขั้น 5 ให้เข้ากันดี กับส่วนประกอบต่อไปนี้ในรูปผงแห้ง, ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก สารช่วยการแตกตัว 1-20 สารทำให้เกิดร่อง 3-20 สารหล่อลื่น 0-10 สารช่วยการไหลผ่าน 2-10, และ (C) รวมและอัดขึ้นรูปปลดปลอ่ยสารพันทีของขั้น A กับขึ้นที่ ปลดปล่อยสารเป็นเวลานานของขั้น B ให้เป็นเม็ดสองชั้น 7. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่ง : ในขั้น 1 แอลกอฮอล์คือ แอลกอฮอล์ USP, ดีไฮเดรเทด แอลกอ ออล์ USP, เมธิล แอลกอฮอล์ USP หือไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์ USP;ในขั้น 2 สารทำให้เกิดร่องที่ใช้คือ ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลสหรือผงเซลลูโลส และสารช่วยการแตกตัวคือ แป้งที่ทำ ให้เกิดเจลาตินแล้ว, แป้ง NF หรือแป้งข้าวเจ้า, ในขั้น 6 สารช่วยการแตกตัว มีอยู่ 3-20 ส่วนโดยน้ำหนักทั้งหมดของ ชั้นปลดปล่อยสารเป็นเวลานานและคือ แป้ง NF ที่ทำให้เกิดเจ ลาตินแล้วหรือ แป้งข้าวเจ้า หรือโซเดียม สตาร์ช ไหลคอเลท, ครอสสคาร์เ มลโลส โซเดียมหรือครอสโพวิโคน, ปริมาณ 1-15 ส่วนโดยน้ำหนัก ของชั้นปลดปล่อยสารเป็นเวลานานทั้งหมด, สารหล่อลื่นคือ แมกนีเซียม สเทียเรท หรือกรดสเทียริคและสารช่วยการไหลผ่าน คือ คอลลอยดัล ซิลิคอน ไดออกไซด์ หรือฟูม ซิลิ่คอน ได ออกไซด์ 8. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่ง: ในขั้น 1 แอลกอฮอล์ คือ แอลกอฮอล์ USP; ในขั้น 2 สารทำให้เกิดร่องคือ ไมโคร่คริสทัลไลน์ เซลลูโลส และสารช่วยการแตกตัว คือ แป้งที่ทำให้เกิดเจลาตินแล้ว ในขั้น 3 ทำให้เกิดแกรนูลเปียกโดยผสมในเครื่องทำแกรนูลชนิด แรงเฉือนสูง, และ ในขั้น 6 สารช่วยการแตกตัวคือ แป้งที่ทำให้เกิดเจลาติน แล้ว, สารหล่อลื่นคือ แมกนีเซียม สเทียเรท, และสารช่วยการ ไหลผ่านคือ คอลลอยคัลซิลิคอน ไดออกไซด์ 9. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่งส่วนประกอบที่เฉพาะ เจาะจงและปริมาณที่ใช้ในชั้นปลดปล่อยสารเป็นเวลานานคือ: ขั้น ส่วนประกอบ ส่วนโดยน้ำหนัก 1 แอลกอฮอล์-น้ำ (1:1) ปริมาณเพียงพอ โพวิโดน 14.7 2เอธิลเซลลูโลส 7.3 แป้งทำให้เกิดเจลาตินแล้ว 14 6 แป้งทำให้เกิดเจลาติดแล้ว 8 ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส 7.3 แมกนีเซียม สเทียเรท 5 คอลลอยดัล ซิลิคอน ไดออกไซด์ 5 1 0. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งช่นที่ปลดปล่อยสารใน ทันทีประกอบด้วยสารผสมซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้: อิบู โพรเฟน, ไมโครคริสทัลไลน์ เซลลูโลส, แป้ง, โซเดียม สทาร์ช ไกลคอเลท, และสารทำให้เกิดแกรนูล 1
1. กรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งชั้นที่ปลดปล่อยสาร ในทันทียังประกอบด้วย คอลลอยดัล ซิลิคอน ไดออกไซด์ และสาร ทำให้เกิดแกรนูลคือ ไฮดรอกซิโพรพิล เมธิลเซลลูโลส (ข้อถือสิทธิ 11 ข้อ, 6 หน้า, 1 รูป)
TH8801000237A 1988-04-01 เมล็ดสารปล่อยอิบูดพรเฟนเป็นเวลานานและกรรมวิธีในการผลิต TH7202B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH5988A TH5988A (th) 1989-05-01
TH5988EX TH5988EX (th) 1989-05-01
TH7202B true TH7202B (th) 1997-10-02

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5169645A (en) Directly compressible granules having improved flow properties
EP0235986B1 (en) Slow release formulation
AU767671B2 (en) Directly compressible, ultra fine acetaminophen compositions and process for producing same
US3773920A (en) Sustained release medicinal composition
AU742301B2 (en) Sustained release formulation containing three different types of polymers and tablet formed therefrom
US5780055A (en) Cushioning beads and tablet comprising the same capable of forming a suspension
US3622677A (en) Compressed tablets containing compacted starch as binder-disintegrant ingredient
US6399096B1 (en) Pharmaceutical formulation
EP0330284B1 (en) Process for the preparation of a pharmaceutical granulate
US4562024A (en) Process for preparing granulate containing poorly compressible medicinally active matter
US5104648A (en) High ibuprofen content granulations
US5370878A (en) Method for preparing a direct compression granulated acetaminophen composition
KR890001526A (ko) 경구용 서방성 아세트 아미노펜 제형 및 이의 제조방법
JPS5839618A (ja) 持続性積層錠剤
MXPA02000290A (es) Forma de dosificacion oral de liberacion inmediata rapida.
PL203778B1 (pl) Granulki na bazie skrobi i laktozy i sposób ich wytwarzania
KR100511113B1 (ko) 비수용성 비정질 또는 부분비정질 서방성 매트릭스의 제조방법
EP0359746B1 (en) Use of vinyl alcohol homopolymers and copolymers for tableting active materials
JP2001039894A (ja) 圧縮タブレットのための結合剤および崩壊剤として使用される時の賦形剤の性質の増強剤としての直接圧縮性の澱粉
CN1120312A (zh) β-苯基,苯基·乙基酮衍生物的缓释微粒药片
JP2711528B2 (ja) ロキソプロフェン製剤
TH7202B (th) เมล็ดสารปล่อยอิบูดพรเฟนเป็นเวลานานและกรรมวิธีในการผลิต
TH5988A (th) เมล็ดสารปล่อยอิบูดพรเฟนเป็นเวลานานและกรรมวิธีในการผลิต
GB1506345A (en) Multitioned tablets
JPH09100229A (ja) ロキソプロフェン・ナトリウム含有固形製剤