TH71536B - วิธีใหม่สำหรับการควบคุมชนิดลดลงของแอมีลอยด์ - Google Patents

วิธีใหม่สำหรับการควบคุมชนิดลดลงของแอมีลอยด์

Info

Publication number
TH71536B
TH71536B TH201003020A TH0201003020A TH71536B TH 71536 B TH71536 B TH 71536B TH 201003020 A TH201003020 A TH 201003020A TH 0201003020 A TH0201003020 A TH 0201003020A TH 71536 B TH71536 B TH 71536B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
amino acid
followed
polyamide
conjugate
acid
Prior art date
Application number
TH201003020A
Other languages
English (en)
Other versions
TH78119A (th
TH78119B (th
Inventor
เกรกอเรียส นีลเซน คลอส
เบิร์ค รัสมุสเซน ปีเตอร์
โคฟีด ปีเตอร์
ดัล ดีแกน ฟลอเรนว์
โรแลนด์ เจนเซ่น มาร์ติน
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH78119A publication Critical patent/TH78119A/th
Publication of TH78119B publication Critical patent/TH78119B/th
Publication of TH71536B publication Critical patent/TH71536B/th

Links

Abstract

DC60 (22/07/54) ที่ได้เปิดเผยไว้ คือ วิธีชนิดใหม่สำหรับการต่อสู้กับโรคที่ถูกแสดงคุณลักษณะโดยการตกค้าง ของแอมีลอยด์ โดยทั่วไปวิธีอาศัยการก่อภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนพรีเคอร์เซอร์แอมีลอยด์ (APP) หรือ เบต้าแอมีลอยด์ (Aเบตา) การก่อภูมิคุ้มกันที่นิยมได้ถูกทำให้เกิดผลโดยการให้อะนาลอกของ APP หรือ Aเบตา ออโตโลกัส อะนาลอกดังกล่าวซึ่งสามารถเหนี่ยวนำการผลิตแอนติบอดีต่อพอลิเพพไทด์ แอมีโลโดเจนิคออโตโลกัส ที่นิยมโดยเฉพาะเป็นสิ่งก่อภูมิคุ้มกันคือ Aเบตา ออโตโลกัสซึ่งได้ถูก ดัดแปลงโดยการนำอีพิโทป T-เซลล์แปลกปลอม มีโดมิแนนท์ทางภูมิคุ้มกัน และชนิดไม่เลือกแปลก ปลอมเดียวหรือสองสามชนิด ที่ได้ถูกเปิดเผยไว้เช่นกันคือ การให้วัคซีนกรดนิวคลีอิคต่อ APP หรือ Aเบตา และการให้วัคซีนโดยใช้วัคซีนมีชีวิตเช่นเดียวกับวิธี (methods and means) ที่เป็นประโยชน์ สำหรับการให้วัคซีน วิธีเหล่านี้รวมถึงวิธีสำหรับการเตรียมอะนาลอก และสูตรผสมทางเภสัชกรรม เช่นเดียวกับชิ้นส่วนกรดนิวคลีอิค, เวกเตอร์, เซลล์ที่ถูกทรานสฟอร์ม, พอลิเพพไทด์ และสูตรผสม ทางเภสัชกรรม ที่ได้เปิดเผยไว้ คือ วิธีชนิดใหม่สำหรับการต่อสู้กับโรคที่ถูกแสดงคุณลักษณะโดยการตกค้าง ของแอมีลอยด์ โดยทั่วไปวิธีการอาศัยการก่อภูมิคุ้มกันต่อโปรตีนพรีเคอร์เซอร์แอมีลอยด์ (APP) หรือ เบต้าแอมีลอยด์ (Aเบตา) การก่อภูมิคุ้มกันที่นิยมได้ถูกทำให้เกิดผลโดยการให้อะนาลอกของ APP หรือ Aเบตา ออโตโลกัส อะนาลอกดังกล่าวซึ่งสามารถเหนี่ยวนำการผลิตแอนติบอดีต่อพอลิเพพไทด์ แอมีโลโดเจนิคออโตโลกัส ที่นิยมโดยเฉพาะเป็นสิ่งก่อภูมิคุ้มกันคือ Aเบตา ออโตโลกัสซึ่งได้ถูก ดัดแปลงโดยการนำอีพิโทป T-เซลล์แปลกปลอม มีโดมิแนนท์ทางภูมิคุ้มกัน และชนิดไม่เลือกแปลก ปลอมเดียวหรือสองสามชนิด ที่ได้ถูกเปิดเผยไว้เช่นกันคือ การให้วัคซีนกรดนิวคลีอิคต่อ APP หรือ Aเบตา และการให้วัคซีนโดยใช้วัคซีนมีชีวิตเช่นเดียวกับวิธี (methods and means) ที่เป็นประโยชน์ สำหรับการให้วัคซีน วิธีเหล่านี้รวมถึงวิธีสำหรับการเตรียมอะนาลอก และสารผสมตามสูตรทางเภสัชกรรม เช่นเดียวกับชิ้นส่วนกรดนิวคลีอิค, เวกเตอร์, เซลล์ที่ถูกทรานสฟอร์ม, พอลิเพพไทด์ และสูตรผสม ทางเภสัชกรรม สิทธิบัตรยา

Claims (4)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 08/11/2561 หน้า 1 ของจำนวน 5 หน้า ข้อถือสิทธิ 1.(DAEFRHDSGYEV) ที่ควรใช้คือ อาจเลือก ถูกแทนที่ด้วย Pro ในการเตรียมสารเตรียมทางเภสัชกรรมที่มีสารก่อภูมิคุ้มกัน (immunogen) สำหรับการรักษา, การป้องกัน หรือการเยียวยาโรคอัลไซเมอร์ หรือโรคอื่นๆ ที่มีลักษณะเฉพาะโดยการตกค้างของ แอมีลอยด์ในสัตว์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ------19/04/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 5 หน้า ข้อลือสิทธิ 1.(DAEFRHDSGYEV) อาจเลือกถูกแทนที่ ในการเตรียมสารเตรียมทางเภสัชกรรมที่มีสารก่อภูมิคุ้มกัน (immunogen) สำหรับการรักษา, การ!]องกัน หรือการเยียวยาโรคอัลไซเมอร์ หรือโรคอื่นๆ ที่มีลักษณะเฉพาะโดยการตกด้างของ แอมีลอยด์ในสัตว์ 2. การใช้ตามข้อลือสิทธิที่ 1, ซึ่งพอลิอะมิโน แอชิด หรือคอนจูเกท รวมถึง - อย่างน้อยมอยอิตีแรกหนึ่งมอยอิตีซึ่งมีผลต่อการนำไปสู่เป็าหมายของพอลิอะมิโน แอชิด ไปยังเซลล์ที่แสดงแอนติเจน (APC) หรือ B-ลิมโฟไซด์, และ/หรือ - อย่างน้อยมอยอิตีที่สองหนึ่งมอยอิตีซึ่งกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน, และ/หรือ - อย่างน้อยมอยอิตีที่สามหนึ่งมอยอิตี ซึ่งทำให้การแสดงของพอลิอะมิโน แอชิดต่อระบบ ภูมิคุ้มกันเหมาะที่สุด 3. การใช้ตามข้อถือสิทธิที่ 2, ซึ่งมอยอิตีแรก และ/หรือ มอยอิตีที่สอง และ/หรือ มอยอิตี ที่สามถูกยึดเกาะเป็นหมู่ข้าง โดยการจับเกาะแบบโคเวเลนด์หรือไม่ใช่โคเวเลนด์กับหมู่ทางเคมีที่ เหมาะสมในลำดับ APP หรือ A(3 4. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอลิอะมิโนแอชิด หรือคอนจูเกท ประกอบรวมด้วยพอลิเพพไทด์เชื่อม (fusion polypeptide) หน้า 2 ของจำนวน 5 หน้า 5. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอลิอะมิ\'โน แอชิด หรือคอนจูเกท รวมถึงการทำ\'ชาของอีพิ\'โทป ร-เชลล์ ของ APP หรือ A(3 อย่างน้อยหนึ่งชนิด และ/หรือ การนำ แฮปเทนเข้าไป 6. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งอีพโทป T-เซลล์แปลกปลอม มี โดมแนนททางภูมิคุ้มกัน (immunodominant) ในสัตว 7. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งอีพิ\'โทป T-เซลล์แปลกปลอมเป็น อีพิโทป T-เซลล์แปลกปลอม ที่ถูกคัดเลือกจากอีพิ\'โทป T-เซลล์ ชนิดไม่เลือกตามธรรมชาติ และลำดับ เพพไทด์จับเกาะ MHC-II ที่ทำขึ้น 8. การใช้ตามข้อถือสิทธิที่ 7, ซึ่งอีพิ\'โทป T-เชลล์ ตามธรรมชาติถูกกัดเลือกจากอีพิ,โทป ทอกชอยด์บาดทะยัก P2 หรือ P30, อีพิโทปทอก1ซอยด์คอตีบ, อีพิโทปฮีแมกกลูตินินไวรัส ก่อโรค ไข้หวัดใหญ่ และรพิโทป p. falciparum CS 9. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอลิอะมิ\'โน แอชิด หรือคอนจูเกท ประกอบรวมด้วยรพิโทป ร-เซลล์ ซึ่งไม่ไค้รับสัมผัสกับเฟสนอกเซลล์เมื่ออยู่ในรูปจับเกาะกับเซลล์ ของพรีเคอร์เซอร์พอสิเพพไทด์ของ aP 1 0. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอสิอะมิ,โน แอชิด หรือคอนจูเกท ขาดรพิ\'โทป ร-เชลล์ อย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งไค้รับสัมผัสกับเฟสนอกเชลล์เมื่ออยู่ในรูปจับเกาะกับ เซลล์ของพรีเคอร์เชอร์พอสิเพพไทด์ของ Ap 1 1. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, สิ่งผันแปร a), ซึ่งสารก่อภูมิคุ้มกัน ประกอบรวมด้วย หรือประกอบด้วยพอสิอะมิ\'โน แอชิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย: - เรชิดิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2 ตามด้วยเรชิดิวของกรด อะมิโน 1-28 ของ aP ตามด้วยเรชิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกชอยด์บาดทะยัก P30, - เรชิคิวของกรดอะมิโน 1-12 ของ aP ตามด้วยเรชิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยค์บาดทะยัก P30 ตามด้วยเรชิคิวของกรคอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2 ตาม ด้วยกรดอะมิโน 13-28 ของ aP, หน้า 3 ของจำนวน 5 หน้า - เรซิคิวของกรดอะมิโน 1-12 ของ Ap ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกชอยด์บาดทะยัก P30 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 1-12 ของ A(3 ตามด้วยเรชิคิวของกรด อะมิโน\'ของอีพโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2 ตามด้วยเรชิคิวของกรดอะมิโน 1-12 ของ A(3, - เรซิคิวของกรดอะมิโน 13-28 ของ A(3 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P30 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 13-28 ของ aP ตามด้วยเรซิคิวของกรด อะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2 ตามด้วยเรชิคิวของกรดอะมิโน 13-28 ของ aP, - เรซิคิวของกรดอะมิโน 1-12 ของ aP ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P30 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 13-35 ของ aP ตามด้วยเรชิคิวของกรด อะมิโนของอีพิโทป ทอกชอยด์บาดทะยัก P2 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 36-42 ของ aP, - เรซิคิวของกรดอะมิโน 1-28 ของ aP ตามด้วยเรชิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโฑป ทอกชอยด์บาดทะยัก P30 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 1-28 ของ Ap ตามด้วยเรชิคิวของกรด อะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2 ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโน 1-28 ของ aP, และ - เรชิคิวของกรดอะมิโน 1-43 ของ aP, ซึ่ง Phe 19 ได้ถูกแทนที่ด้วย Pro และ Met 35 ได้ ถูกแทนที่ด้วย Lys, ตามด้วยเรซิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P30 ตามด้วย เรซิคิวของกรดอะมิโนของอีพิโทป ทอกซอยด์บาดทะยัก P2, ซึ่งลำดับกรดอะมิโนทั้งหมดถูกระบุในทิศทางจากปลาย N- ไปยัง C- 1 2. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอลิอะมิโน แอชิด หรือคอนจูเกท อย่างน้อยสองชุดเชื่อมแบบโคเวเลนต์ หรือไม่ใช่โคเวเลนต์กับโมเลกุลตัวพาที่สามารถก่อให้เกิดผลต่อ การแสดงส่วนกำหนดฤทธิแอนติเจนหลายชุด 1 3. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, สิ่งผันแปร a), ซึ่งพอลิอะมิ\'โนแอ1ชิดถูก จับเกาะกับพอลิไฮดรอกชิพอณิมอร์โดยอาศัยพันธะเอไมด์ 1 4. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, สิ่งผันแปร a), ซึ่งพอลิไฮดรอกชิ พอลิเมอร์ คือ พอณิเซ็กคาไรด์ 1 5. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งพอลิอะมิโน แอชิด หรือคอนจูเกท ได้ถูกกำหนดสูตรผสมโดยมีสารเสริมฤทธ (adjuvant) ซึ่งช่วยทำให้มีการหยุดของความทนโดยเกิด ขึ้นเองต่อแอนติเจนของตัวเอง หน้า 4 ของจำนวน 5 หน้า 1 6. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งการรักษา, การ!]องกัน หรือการเยียวยา ที่นำมาโดยการให้ปริมาณที่มีประสิทธิภาพของพอลิอะมิโน แอชิด หรือคอนจูเกทแก่สัตว์ผ่านช่อง ทางที่คัดเถือกจากช่องทางที่ไม่ผ่านทางเดินอาหาร ที่รวมถึงช่องทางในผิวหนัง, ใต้ผิวหนัง และใน กล้ามเนื้อ; ช่องทางช่องท้อง; ช่องทางปาก; ช่องทางแก้ม; ช่องทางใต้ลิน; ช่องทางเนือเยื่อดูรา; ช่อง ทางไขสันหลัง; ช่องทางทวารหนัก; และในกระโหลกศีรษะ 1 7. การใช้ตามข้อถือสิทธิที่ 16, ซึ่งปริมาณที่มีประสิทธิภาพคือ ระหว่าง 0.5 ไมโครกรัม และ 2,000 ไมโครกรัม ของพอลิอะมิโน แอชิดหรือคอนจูเกท 1 8. การใช้ตามข้อถือสิทธิที่ 1-11 ข้อใดข้อหนึ่ง, สิ่งผันแปร a), ซึ่งการรักษา, การป้องกัน หรือการเยียวยาโดยการนำกรดนิวคลีอิค (หลายชนิด) ซึ่งประมวลรหัสพอลิอะมิโน แอชิด หรือ คอนจูเกทเข้าสู่เชลล์ของสัตว์ และด้วยวิธีนั้นไต้รับการแสดงลักษณะในกายโดยเซลล์ที่ไต้ถูกนำกรด นิวคลีอิคเข้าไป 1 9. การใช้ตามข้อถือสิทธิที่ 18, ซึ่งกรดนิวคลีอิค (หลายชนิด) ที่ถูกนำเข้าไต้/ถูกคัดเลือกจาก DNA เปลือย, DNA ที่ถูกกำหนดสูตรผสมกับลิพิดที่มีหรือไม่มีประจุ, DNA ที่ถูกกำหนดสูตรผสม ในไลโพโซม, DNA ที่ถูกรวมไว้ในเวณตอรํไวรัส, DNA ที่ถูกกำหนดสูตรผสมกับโปรตีน หรือ พอณิพพไทด์ที่ช่วยทำให้ทรานสเฟคชันง่ายขึ้น, DNA ที่คูกกำหนดสูตรผสมกับโปรตีน หรือ พอลิเพพไทด์ที่นำไปสู่เป้าหมาย, DNA ที่ถูกกำหนดสูตรผสมกับสารตกตะกอนแคลเซียม, DNA ที่ถูกคู่ควบกับโมเลกุลตัวพาเฉื่อย, DNA ที่คูกห่อหุ้มในไคดิน หรือไคโตแซน และ DNA ที่ถูก กำหนดสูตรผสมกับสารเสริมฤทธ์ 2 0. การใช้ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านีข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งการรักษา, การป้องกัน หรือการ เยียวยาที่นำมาโดย APP หรือ A(3 ถูกทำให้ลดลงถึงขอบเขตที่ว่าปริมาณทั้งหมดของแอมีลอยด์ ถูกทำให้ลดลง หรือที่ว่าอัตราการเกิดแอมีลอยด์ถูกทำให้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางคลินิก 2
1. พอลิอะมิ\'โน แอชิดหรือคอนจูเกท ซึ่งอนุพัทธ์จาก APP หรือ A(3 สัตว์ ซึ่งไต้ถูกนำไปทำ การตัดแปลง ซึ่งมีผลที่ว่า การก่อภูมิคุ้มกันของสัตว์ด้วยพอลิอะมิโน แอชิด หรือคอนจูเกทเหนี่ยวนำ การผลิตแอนติบอดีต่อ APP หรือ A(3 ที่เกิดขึ้นเองของสัตว์ และ1ซึ่งพอลิอะมิ\'โน แอชิด หรือคอนจูเกท เป็นไปตามที่กำหนดนิยามในข้อถือสิทธิที่ 1-14 ข้อใดข้อหนึ่ง หน้า 5 ของจำนวน 5 หน้า 2
2. องค์ประกอบก่อภูมิคุ้มกันซึ่งประกอบรวมด้วยปริมาณที่มีประสิทธิภาพทางการ ก่อภูมิคุ้มกันของพอลิอะมิโน แอชิดหรือคอนจูเกท ตามข้อถือสิทธิที่ 21, ซึ่งองค์ประกอบประกอบ รวมต่อไปด้วยตัวพา และ/หรือ สิ่งนำยาที่ยอมรับได้ทางเภสัชกรรม และทางวิทยาภูมิคุ้มกัน และ โดยทางเลือกอาจมีสารเสริมฤทธ 2
3. ชิ้นส่วนกรดนิวคลีอิคซึ่งประมวลรหัสพอลิอะมิโน แอชิดตามข้อถือสิทธิที่ 21 2
4. เวกเตอร์ซึ่งมีชิ้นส่วนกรดนิวคลีอิคตามข้อถือสิทธิที่ 23 ที่รวมถืงเวกเตอร์ซึ่งสามารถถ่าย แบบได้อย่างอิสระ ------------ 1.อาจเลือกถูกแทนที่; หรือ b) คือ คอนจูเกท ซึ่งประกอบรวมด้วยโครงสร้างพอลิไฮดรอกซิพอลิเมอร์ ซึ่งถูกแยกกันคู่ควบกับ พอลิอะมิโน แอซิด ตามที่นิยามไว้ใน a); หรือ c) คือ กรดนิวคลีอิคที่ประมวลรหัสพอลิอะมิโน แอซิดตามที่นิยามไว้ใน a); หรือ d) คือ จุลินทรีย์หรือไวรัสไม่ก่อโรค ซึ่งมีชิ้นส่วนกรดนิวคลีอิคซึ่งประมวลรหัส และแสดง ลักษณะพิลิอะมิโน แอซิด ตามที่นิยามไว้ใน a), ในการเตรียมสารเตรียมทางเภสัชกรรมที่มีสารก่อภูมิคุ้มกันสำหรับการรักษา, การป้องกัน หรือการเยียวยาโรคอัลไซเมอร์ หรือโรคอื่น ๆ ที่มีลักษณะเฉพาะโดยการตกค้างของแอมีลอยด์ ในสัตว์
TH201003020A 2002-08-15 วิธีใหม่สำหรับการควบคุมชนิดลดลงของแอมีลอยด์ TH71536B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH78119A TH78119A (th) 2006-06-22
TH78119B TH78119B (th) 2006-06-22
TH71536B true TH71536B (th) 2019-09-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA1340956C (en) Synthetic peptides representing a t-cell epitope as a carrier molecule for conjugate vaccines
DE68928251T2 (de) Cs-Peptide von P. Falciparum als allgemeines t-Zellen-Epitop
TWI379839B (en) Aβ immunogenic peptide carrier conjugates and methods of producing same
EP0752886B1 (en) Inducing antibody response against self-proteins with the aid of foreign t-cell epitopes
FI80603C (fi) Foerfarande foer framstaellning av en linear polymer polypeptid, en produkt som anvaends som preventivmedel och vaccin som innehaoller en produkt.
DE60130877T2 (de) Modifizierte peptide enthaltende pharmazeutische präparationen
GC0000355A (en) Novel method for down-regulation of amyloid
ES2271954T3 (es) Expresion de lipoproteinas.
CA2457140A1 (en) Beta-amyloid-analogue - t-cell epitope vaccine
IE912559A1 (en) The class ii protein of the outer membrane of neisseria¹meningitidis, and vaccines containing same
JP2003506325A5 (th)
RU2003110574A (ru) Векторы для доставки молекул к экспрессирующим cd11b клеткам
JPH01502190A (ja) インフルエンザ菌用ワクチンおよび診断法
AU707083B2 (en) Inducing antibody response against self-proteins with the aid of foreign T-cell epitopes
EP0289110A2 (en) Conjugate malaria vaccine
JPH05260963A (ja) ペプチド−ポリサッカライド−蛋白質複合体ワクチン
EP0597838B1 (en) Vaccine compositions
TWI754817B (zh) 以人工混雜t輔助細胞抗原決定位以有限度的t細胞發炎反應促進目標抗體的生產
DE69333992T2 (de) Verfahren zur herstellung eines sets von kombinatorischen polypeptidantigenen
TH71536B (th) วิธีใหม่สำหรับการควบคุมชนิดลดลงของแอมีลอยด์
TH78119A (th) วิธีใหม่สำหรับการควบคุมชนิดลดลงของแอมีลอยด์
JP2000513353A (ja) 不安定結合による担体結合抗原から成るワクチン
EP0093851A2 (en) Fatty acid carriers for synthetic vaccines
JPH11515013A (ja) 合成複合ワクチンの免疫原性担体としてのシュードモナスエクソトキシン
CA2050635A1 (en) Class ii protein of the outer membrane of neisseria meningitidis having immunologic carrier and enhancement properties, and vaccines containing same