TH64346A - องค์ประกอบทางเภสัชศาสตร์ในการรักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการล้มเหลวของการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่ - Google Patents

องค์ประกอบทางเภสัชศาสตร์ในการรักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการล้มเหลวของการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่

Info

Publication number
TH64346A
TH64346A TH101005299A TH0101005299A TH64346A TH 64346 A TH64346 A TH 64346A TH 101005299 A TH101005299 A TH 101005299A TH 0101005299 A TH0101005299 A TH 0101005299A TH 64346 A TH64346 A TH 64346A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
blood
clause
ghrp
pharmacy
hexapeptide
Prior art date
Application number
TH101005299A
Other languages
English (en)
Other versions
TH66198B (th
Inventor
เบอร์ลันดา อคอสต้า นายจอร์จ
เอนริเก กุยเลน นีโต นายเจราร์โด
การ์เซีย เดล บาร์โก เฮอร์เรร่า นางไดอาน่า
ราอูล เฟอร์นันเดซมาสโซ นายจูลิโอ
พาโบล เอสตราดาการ์เซีย นายมาริโอ
กุยเลน เปเรซ นางอิซาเบล
ซัวเรซ อัลบาล นายโฮเซ่
มาร์ติเนซ โรดริเกวซ นายรีเบก้า
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH64346A publication Critical patent/TH64346A/th
Publication of TH66198B publication Critical patent/TH66198B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับยาของมนุษย์ และโดยเฉพาะที่มีสารรวมทางเภสัชศาสตร์ที่ทำขึ้นกับ อิพิเดอร์มอลโกรธแฟคเตอร์ (Epidermal Growth Factor)(EGF) และเฮกซะเพปไทด์ที่กระตุ้นการ คัดหลั่งของโกรธฮอร์โมน (Growth Hormone secretagoge hexapeptide)(GHRP); ในการใช้ป้องกัน ความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการกดการไหลเวียนโลหิต และในการเพิ่มการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ หลังจากความเสียหายจากการที่ขาดแคลนโลหิต สารรวมดังกล่าวข้างต้น อาจใช้ในรูปองค์ประกอบ ทางเภสัชศาสตร์เดี่ยว ๆ ในอีกทางหนึ่งผู้นั้นก็อาจได้รับทั้ง EGF และ GHRP แยกจากกันแต่อยู่ใน แบบแผนทางการรักษาเดี่ยวในการเพิ่มการอยู่รอดของเซลล์ เมื่ออวัยวะสูญเสียการไหลเวียนโลหิต เป็นระยะเวลาที่วิกฤตช่วงหนึ่ง สารรวมนี้ลดการเกิดกลุ่มออกซิเจนที่ว่องไว (reactive oxygen species) (ROS) และความเป็นพิษต่อเซลล์ที่สัมพันธ์กันของสารนั้น สารรวมนี้มีประโยชน์ในการเสริมการ อยู่รอดของเซลล์เมื่อเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะสัมผัสกับช่วงการขาดแคลนโลหิตเป็นเวลานาน สารรวมนั้น อาจใช้ในรูปสารป้องกันในผู้ที่มีแนวโน้มในการเกิดการล้มเหลวของหลายอวัยวะ (multiple organ failure) (MOF) เช่น ผู้ที่มีแผลไหม้, ผู้ป่วยที่มีบาดแผลหลายแห่ง, เด็กแรกเกิดที่ขาดออกซิเจน, โรค ทางเดินหายใจเฉียบพลัน และผู้ป่วยที่มีลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่อักเสบซึ่งทำให้เนื้อเยื่อ หรือเซลล์ตาย การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับยาของมนุษย์ และโดยเฉพาะที่มีการรวมทางเภสัชศาสตร์ที่ทำขึ้นกับ อิพิเดอร์มอลโกรธแฟคเตอร์ (Epidermal GrowthFactor) (EGF) และเฮกซะเพปไทด์ที่กระตุ้นการคัด หลั่งของโกรธฮอร์โมน (Growth Horrnone Sccrctagogehoxapertide) (GHRP) ในการป้องกันความ เสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการกดการไหลเวียนโลหิต และในการเพิ่มการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ หลังจาก ความเสียหายจากการที่ขาดแคลนโลหิต การรวมดังกล่วข้างต้น อาจใช้ในรูปสารผสมทางเภสัช ศาสตร์เดี่ยวๆ ในอีกทางหนึ่งผู้นั้งก็อาจได้รับทั้ง EGE และ GHRP แยกจากกันแต่อยู่ในแบบแผนทาง การรักษาเดี่ยวในการเพิ่มการอยู่รอดของเซลล์ เมื่ออวัยวะสูญเสียการไหลเวียนโลหิตเป็นระยะเวลาที่ วิกฤตช่วงหนึ่ง สารผสมนี้ลดการเกิดกลุ่มออกซิเจนที่ว่องไว (reactive oxygen species) (ROS) และ ความเป็นพิษต่อเซลล์ที่สัมพันธ์กันของสารนั้น สารผสมนี้มีประโยชน์ในการเสริมการอยู่รอดของ เซลล์เมื่อเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะสัมผัสกับช่วงการขาดแคลนโลหิตเป็นเวลานานสารผสมนั้นอาจใช้ใน รูปสารป้องกันในผู้ที่มีแนวโน้มในการเกิดการล้มเหลวของหลายอวัยวะ (multiple organ failure) (MOF) เช่น ผู้ที่มีแผลไหม้, ผู้ป่วยที่มีบาดแผลหลายแห่ง, เด็กแรกเกิดที่ขาดออกซิเจน, โรคทางเดิน หายใจเฉียบพลัน และผู้ป่วยที่มีลำไส้เล็ก และลำไส้ใหญ่อักเสบซึ่งทำให้เนื้อเยื่อ หรือเซลล์ตาย สิทธิบัตรยา

Claims (9)

1. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยการให้เพปไดท์ ซึ่งมีความว่องไวของ อิพิเดอร์มอลโกรแฟคเตอร์ (Epidemnal Growth Factor) ร่วมกับเฮกซะเพปไทด์ ที่กระตุ้นการคัดหลั่ง ของโกรธฮอร์โมน (growth hormoneseeretagotue hexapeptide) (GHRP-6) สำหรับป้องกัน และ รักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการขาดการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่ และผลที่ ตามมาในสัตว์ และมนุษย์ 2. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเพปไดท์ที่มีความว่องไวของอิพิเดอร์ มอลโกรธแฟคเตอร์สามารถเป็นอิพิเดอร์มอลโกรธแฟคเตอร์ (EGF), ทรานฟอร์มมิ่งโกรธแฟคเตอร์ ชนิดแอลฟา (Transforming Growth Factor type alpha)(TGF-อัลฟา) หรือ โกรธแฟคเตอร์ที่คล้ายเฮพาริน ไบติ้ง EGF (Heparin Binding EGF-Like Growth Factor) (HB-EGF) 3. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเพปไดท์ที่มีความว่องไวของอิพิเดอร์ มอลโกรธแฟคเตอร์และเฮกซะเพปไทด์ที่กระตุ้นการคัดหลั่งของโกรธฮอร์โมน GHRP-6 คือ ส่วน ประกอบของสารผสมทางเภสัชศาสตร์เดี่ยว ๆ ซึ่งมีเอ็กซเพียนท์ที่เหมาะสมเพิ่มเติม 4. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งให้เฮกซาเพปไทด์ที่กระตุ้นการคัดหลั่ง ของโกรธฮอร์โมน GHRP-6 เดี่ยว ๆ หรือในการรวมกับเพปไดท์ที่มีความว่องไวของอิพิเดอร์ มอลโกรธแฟคเตอร์อย่างเป็นอิสระต่อกันแก่ผู้ป่วย ในการเป็นส่วนหนึ่งของการป้องกัน หรือการ รักษา 5. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งเพปไดท์ที่มีความ ว่องไวของอิพิเดอร์มอลโกรธแฟคเตอร์อยู่ที่ความเข้มข้น 0.5-50 ไมโครกรัม/มล. เมื่อเตรียมในรูปสาร ละลาย หรือในรูปไอโอฟิไลสด์ 6. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่ง เฮกซะเพปไทด์ที่ กระตุ้นการคัดหลั่งของโกรธฮอร์โมน GHRP-6 อยู่ที่ความเข้มข้น 2 y 100 ไมโครกรัม/มล. เมื่อเตรียม ในรูปสารละลาย หรือในรูปไลโอฟิไลสด์ 7. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งต้องให้โดยไม่ผ่าน ลำไส้ในปริมาณมากครั้งเดียว (bolnus) เพื่อให้มีความว่องไวในการป้องกัน ชักนำได้ในช่วงขนาด 0.5-1 ไมโครกรัม ของเพปไทด์ที่ว่องไวแต่ละชนิดต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัว 8. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งต้องให้ในรูปการ ปล่อยให้ไหลเข้าหลอดโลหิตดำอย่างต่อเนื่องสำหรับชักนำผลในการเปลี่ยนแปลง/สร้างใหม่ในช่วง ขนาด 0.01 y 5 ไมโครกรัม ของเพปไทด์ที่ว่องไวแต่ละชนิดต่อกิโลกรัมน้ำหนักตัวของผู้ป่วย 9. สารผสมทางเภสัชศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยการมีเฮกซะเพปไทด์ที่กระตุ้นการคัด หลั่งของโกรธฮอร์โมน GHRP-6 และเอ็กซีเพียนท์ที่เหมาะสมในการชักนำการป้องกันต่อความ เสียหายจากการที่ขาดแคลนโลหิต เพื่อที่จะป้องกันความเสียหายของเนื้อเยื่อ เมื่อมีการไหลเวียนโลหิต ของเส้นเลือดแดงใหญ่ล้อมเหลวในมนุษย์ และสัตว์ 1 0. การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ในการป้องกัน ความเสียหายของเนื้อเยื่อไม่ว่าจะเป็นอันตรายร้ายแรง หรือไม่ในเนื้อเยื่อ/หรืออวัยวะที่ได้รับผล กระทบโดยการขาดแคลนโลหิตที่ไม่มีการไหลเวียนกลับ, สภาวะที่มีการไหลเวียนน้อย หรือการขาด แคลนโลหิต/การผ่านของเหลวใหม่ 1
1. การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ในการบรรเทา หรือแก้ไขในการเป็นการรักษาเสริมของโรคทางเดินหายใจในผู้ใหญ่ (adult respiratory distress) (ARDS) 1
2. การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ในการป้องกัน และในการแก้ไขโรคที่อวัยวะหลายอย่างทำงานผิดปกติ (multiple organ dysfuncthin syndrome) และ กรรมวิธีที่สัมพันธ์กันซึ่งต้อการการดูแลอย่างเข้มงวด 1
3.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ในการรักษาผู้ป่วยที่มีบาดแผลจาก การเผาไหม้, ผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บหลายแห่ง, ผู้ป่วยที่ทำศัลยกรรมบริเวณกว้าง, ผู้ป่วยที่ทำ ศัลยกรรมปลูกถ่าย, ผู้ป่วยที่ทำศัลยกรรมให้มีหลอดหรือท่อใหม่, ผู้ป่วยที่ได้รับการเชื่อมติดกับ อุปกรณ์ของหัวใจ-ปอด, ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาทางการละลายลิ่มเลือดและ/หรือละลายไฟบริน และ ได้การไหลเวียนใหม่, โรคครัช (Crush syndromes), ผู้ป่วยที่ขาดเลือดบำรุง, อาการช๊อค, ผลผลิตของ หัวใจต่ำ 1
4.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งในการเป็นการ รักษาเสริมสำหรับการตกเลือด, การกระจายตัวของของเหลวผิดปกติ, อาการช๊อค และการขาดแคลน โลหิต/การผ่านของเหลวใหม่ของอวัยวะภายใน 1
5.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งในการเป็นสาร ป้องกัน และสารที่ใช้ก่อนสำหรับการทำศัลยกรรมปลูกถ่าย, การขาดแคลนโลหิตที่เกิดนาน ซึ่งเกิด จากการทำศัลยกรรม และสภาวะอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดระยะเริ่มของการขาดแคลนโลหิต ของอวัยวะภายใน โรคที่ตอบสนองต่อการอักเสบของระบบ และการทำงานผิดปกติของหลายอวัยวะ 1
6.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ในการรักษาภาวะสมดุลของสิ่ง แวดล้อมภายในของอวัยวะ และเนื่อเยื่อภายในระหว่างการทำศัลยกรรมให้มีหลอด หรือท่อใหม่ และ ในการเสริมการอยู่รอดของสิ่งปลูกถ่ายใด ๆ หลังจากการปลูกถ่ายอวัยวะเช่น ไต, ตับ, ตับอ่อน, ลำไส้, ปอด, หัวใจ และแผ่นผิวหนัง 1
7.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ในการป้องกัน ความเสียหายของเซลล์อย่างใดอย่างหนึ่ง หลังจากสภาวะใด ๆ ซึ่งสามารถกีดขวางการผ่านของเหลว ในเนื่อเยื่อ ด้วยโลหิตที่มีออกซิเจน 1
8.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ในการรักษาการ ประสานกันทางรูปแบบการทำงานของเนื้อเยื่อ/อวัยวะ หลังจากกรณีซึ่งผลหลังจากนั้นนำไปสู่การตาย ของเนื้อเยื่อ หรือกลุ่มของเซลล์ 1
9.การใช้สารผสมทางเภสัชศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งในการกระตุ้น กรรมวิธีการปรับตัวของลำไส้ หลังจากการตัดส่วนหนึ่งของลำไส้ออก, โรคลำไส้สั้น, ลำไส้ล้มเหลว เป็นต้น ที่สัมพันธ์ หรือไม่สัมพันธ์กับโภชนาการที่ไม่ผ่านลำไส้ทั้งหมด (total parpenteran nutrition)
TH101005299A 2001-12-27 องค์ประกอบทางเภสัชศาสตร์ในการรักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการล้มเหลวของการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่ TH66198B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH64346A true TH64346A (th) 2004-09-30
TH66198B TH66198B (th) 2018-11-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Brummelkamp et al. Treatment of anaerobic infections (clostridial myositis) by drenching the tissues with oxygen under high atmospheric pressure
Brücken et al. Argon reduces neurohistopathological damage and preserves functional recovery after cardiac arrest in rats
Beecher Preparation of battle casualties for surgery
CA2398983A1 (en) Pharmaceutical composition to prevent tissue damage due to arterial blood flow failure
HRP20050389A2 (en) Treatment for hemorrhagic shock
CA2874842C (en) Methods of administering nitric oxide to arterial or arterialized blood
JPH05501856A (ja) 脳及び筋肉組織傷害による浮腫の治療剤
US8535691B2 (en) Perflurochemical treatment process and apparatus
Ottani et al. Protective effects of the melanocortin analog NDP-α-MSH in rats undergoing cardiac arrest
Takasu et al. Effects of increased oxygen breathing in a volume controlled hemorrhagic shock outcome model in rats
AU2004283448B2 (en) Use of xenon for the prevention of programmed cell death
ES2233669T3 (es) Solucion cardioplejica.
TH64346A (th) องค์ประกอบทางเภสัชศาสตร์ในการรักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการล้มเหลวของการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่
TH66198B (th) องค์ประกอบทางเภสัชศาสตร์ในการรักษาความเสียหายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากการล้มเหลวของการไหลเวียนโลหิตของเส้นเลือดแดงใหญ่
Couves et al. Acute pulmonary embolism: Successful embolectomy using cardiopulmonary bypass
Papp et al. Pancreaticoduodenal lymph flow and lipase activity in acute experimental pancreatitis
WO2016066068A1 (zh) 金属硫蛋白复合制剂作为制备穴位介入治疗脑中风后遗症药物的应用
CN101095948A (zh) 乌司他丁在制备治疗和/或预防心搏骤停后脑损伤药物的用途
Esmond et al. Hyperbaric oxygenation in experimental hemorrhagic shock: experimental chamber design and operation
Van Meter Hyperbaric oxygen therapy as an adjunct to pre-hospital advanced trauma life support
RU2804125C1 (ru) Лекарственное средство (варианты) для поддержания жизни человека с большой кровопотерей, острой церебральной и миокардиальной ишемией, острой дыхательной недостаточностью и с гипотермией, устройство для применения
RU2302234C2 (ru) Способ защиты нижней половины туловища от ишемии
WO2024019637A1 (ru) Лекарственное средство (варианты) и устройство для применения
WO2022246595A2 (zh) 一种抑制肿瘤相关成纤维细胞及调控肿瘤基质正常化的方法
RU2371122C2 (ru) Способ лечения острой ишемии конечностей