TH54485A - กระบวนการสำหรับการแยกปริมาณต่ำของซัลเฟอร์อินทรีย์จากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน - Google Patents

กระบวนการสำหรับการแยกปริมาณต่ำของซัลเฟอร์อินทรีย์จากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน

Info

Publication number
TH54485A
TH54485A TH101003495A TH0101003495A TH54485A TH 54485 A TH54485 A TH 54485A TH 101003495 A TH101003495 A TH 101003495A TH 0101003495 A TH0101003495 A TH 0101003495A TH 54485 A TH54485 A TH 54485A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
approximately
sulfur
formic acid
hydrocarbon
fuel
Prior art date
Application number
TH101003495A
Other languages
English (en)
Other versions
TH54485B (th
TH20621B (th
Inventor
เอส. แรพปัส นายอัลคิส
เจ. เดอคานีโอ นายสตีเฟน
พี. เนโร นายวินเซ็นท์
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH54485B publication Critical patent/TH54485B/th
Publication of TH54485A publication Critical patent/TH54485A/th
Publication of TH20621B publication Critical patent/TH20621B/th

Links

Abstract

DC60 (02/10/44) กระบวนการสำหรับการดีซัลเฟอร์ไรซ์เชื้อเพลิง เช่น น้ำมันดีเซลและผลิตผลปิโตรเลียม คล้ายกันเพื่อลดปริมาณซัลเฟอร์จนถึงช่วงจากประมาณ 2 ถึง 15 ppm ซัลเฟอร์ถูกอธิบาย เชื้อเพลิง ซึ่งมีซัลเฟอร์สัมผัสที่อุณหภูมิสูงเล็กน้อยกับสารละลายออกซิไดซ์/การสกัดของกรดฟอร์มิก, ปริมาณ เล็กน้อยของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และไม่มากกว่าประมาณ 25% น้ำหนักน้ำ กระบวนการ แยกออกสำหรับการแยกผลิตผลออกซิเดชันไดเบนโซไธโอฟีนจากเชื้อเพลิงยังถูกอธิบาย กระบวนการสำหรับการดีซัลเฟอร์ไรซ์เชื้อเพลิง เช่น น้ำมันดีเซลและผลิตผลปิโตรเลียม คล้ายกันเพื่อลดปริมาณซัลเฟอร์จนถึงช่วงจากประมาณ 2 ถึง 15 ppm ซัลเฟอร์ถูกอธิบาย เชื้อเพลิง ซึ่งมีซัลเฟอร์สัมผัสที่อุณหภูมิสูงเล็กน้อยกับสารละลายออกซิไดซ์/การสกัดของกรดฟอร์มิก, ปริมาณ เล็กน้อยของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และไม่มากกว่าประมาณ 25% น้ำหนักน้ำ กระบวนการ แยกออกสำหรับการแยกผลิตผลออกซิเดชันไดเบนโซไธโอฟีนจากเชื้อเพลิงยังถูกอธิบาย

Claims (8)

1. กระบวนการสำหรับการแยกสารประกอบซัลเฟอร์ออกจากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ : การสัมผัสเชื้อเพลิงซึ่งมีซัลเฟอร์กับสารละลายออกซิไดซ์แอคเควียสซึ่งประกอบรวมด้วย ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์และกรดฟอร์มิกในอัตราส่วนโดยโมลอย่างน้อยที่สุดประมาณ 11:1; ของ กรดฟอร์มิกต่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และซึ่งมีน้ำต่ำกว่าประมาณ 25% โดยน้ำหนักในปริมาณเพื่อ ให้มีไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์อยู่มากกว่าประมาณสองเท่าของปริมาณทางปริมาณสารสัมพันธ์ (Stoichiometric) ที่ต้องการในการเปลี่ยนสารประกอบซัลเฟอร์ที่มีอยู่ไปเป็นซัลโฟนที่สมนัยกัน ที่ อุณหภูมิจากประมาณ 50 ํ ซ จนถึงประมาณ 130 ํ ซ เพื่อก่อตัววัฏภาคเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนจาก ที่ซึ่งซัลเฟอร์ถูกแยกออกและวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีซัลเฟอร์ที่ถูกออกซิไดซ์ แล้วถูกสกัดออกจาก วัฎภาคเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน; การแยกวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีสารประกอบซัลเฟอร์ถูกสกัดจากวัฎภาคเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน; และ การนำเชื้อเพลิงซึ่งมีวัฎภาคไฮโดรคาร์บอนซึ่งมีปริมาณซัลเฟอร์ลดลงกลับคืนมา 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งอัตราส่วนโดยโมลของกรดฟอร์มิกต่อไฮโดรเจน- เพอร์ออกไซด์คือ จากประมาณ 20:1 จนถึงประมาณ 60:1 3.กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 รวมถึงขั้นตอนของ : การแยกไล่ ( flashing) วัฎภาคแอคเควียสเพื่อแยกกรดฟอร์มิกและน้ำจากสารประกอบ ซัลเฟอร์ที่ถูกออกซิไดซ์แล้ว; การกลั่นวัฎภาคแอคเควียสเพื่อแยกน้ำจากกรด; และ การนำกรดกลับคืนมา 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 3 ยังรวมถึงขั้นตอนของการรีไซเคิลกรดถูกนำกลับคืนมา เป็นบางส่วนของกรดเพื่อใช้ในสารละลายเครื่องออกซิไดซ์แอคเควียส 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งกรดฟอร์มิกมีอยู่ในสารละลายออกซิไดซ์ในปริมาณ จากประมาณ 75 % โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 92% โดยน้ำหนัก และไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์มีอยู่ใน ปริมาณจากประมาณ 0.5 % ถึงประมาณ 4 % โดยน้ำหนัก 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งขั้นตอนออกซิเดชันเกิดขึ้นต่ำกว่าเวลาการสัมผัส ประมาณ 15 นาที 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งปริมาณของสารละลายออกซิไดซ์ถูกเติมลงเพียงพอ ต่อการจัดให้มีส่วนเกินพอทางปริมาณสารสัมพันธ์ จากประมาณ 2 ถึงประมาณ 4 เท่าของปริมาณที่ ต้องการต่อการออกซิไดซ์ซัลเฟอร์มีอยู่ 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 7 ซึ่งส่วนเกินพอปริมาณสารสัมพันธ์ จากประมาณ 3.0 จนถึงประมาณ 3.3 เท่า ของปริมาณที่ต้องการต่อการออกซิไดซ์ซัลเฟอร์ที่มีอยู่ในเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 รวมถึงขั้นตอนต่อมาของ : การกระทำต่อวัฏภาคไฮโดรคาร์บอนที่ถูกนำกลับคืนมาด้วยปริมาณเพียงพอของแคลเซียม ออกไซด์เพื่อทำให้กรดส่วนที่เหลืออยู่ใดๆ เป็นกลาง และการแยกเชื้อเพลิงที่เป็นกลางออกจากแคลเซียมออกไซด์ 1 0. กระบวนการสำหรับการแยกสารประกอบซัลเฟอร์จากเชื้อเพลิงดีเซล ซึ่งประกอบ รวมด้วยขั้นตอนของ : การสัมผัสเชื้อเพลิงดีเซลที่อุณหภูมิจากประมาณ 90 ํ ซ ถึงประมาณ 105 ํ ซ ในช่วงเวลา จนถึงประมาณ 15 นาที กับสารละลายออกซิไดซ์ซึ่งประกอบรวมด้วย : จากประมาณ 79% โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 89 % โดยน้ำหนักของกรดฟอร์มิก, จากประมาณ 2% โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 3% โดยน้ำหนักของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และ จากประมาณ 8% โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 14% โดยน้ำหนักของน้ำ : ในปริมาณโดยที่อัตราส่วนโดยโมลของกรดฟอร์มิกต่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์คือ จากประมาณ 20 :1 ถึงประมาณ 60:1, ซึ่งปริมาณของสารละลายออกซิไดซ์ที่ถูกเติมเพื่อให้มีส่วนเกิน พอทางปริมาณสารสัมพันธ์ของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ที่จำเป็นในการออกซิไดซ์ซัลเฟอร์ที่มีอยู่ใน เชื้อเพลิงดีเซลในปริมาณจากประมาณ 2.5 ถึงประมาณ 3.5 เท่าของปริมาณที่จำเป็นในการออกซิไดซ์ ซัลเฟอร์ในเชื้อเพลิง; การสกัด, ในช่วงขั้นตอนออกซิไดซ์, สารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูกออกซิไดซ์แล้วจากเชื้อเพลิง ดีเซลเข้าสู่สารละลายออกซิไดซ์แอคเวียสเพื่อก่อให้เกิดวัฎภาคไฮโดรคาร์บอน และวัฎภาค แอคเควียส; การแยกวัฎภาคแอคเควียสซี่งมีสารประกอบซัลเฟอร์ถูกสกัดจากวัฎภาคเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน; การทำให้กรดส่วนที่เหลือใดๆ ในเชื้อเพลิงเป็นกลาง; การนำเชื้อเพลิงดีเซลที่ถูกทำให้เป็นกลางซึ่งมีซัลเฟอร์ต่ำกว่าประมาณ 25 pmm กลับคืนมา; และ การนำกรดฟอร์มิกจากวัฎภาคแอคเควียสกลับคืนมา 1
1. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 10 ซึ่งกรดฟอร์มิกถูกนำกลับคืนมาโดยขั้นตอน เพิ่มเติมของ : การแยกไล่วัฎภาคแอคเควียสเพื่อแยกกรดฟอร์มิกและน้ำออกจากสารประกอบซัลเฟอร์ที่ ถูกออกซิไดซ์แล้วเป็นกระแสส่วนบน; การกลั่นกระแสส่วนบนเพื่อแยกน้ำออกจากกรดฟอร์มิก; และ การรีไซเคิลกรดฟอร์มิกสำหรับการใช้ใหม่ในสารละลายออกซิไดซ์ 1
2. กระบวนการสำหรับการแยกออกของสารประกอบซัลเฟอร์จากเชื้อเพลิงดีเซล ซึ่งประกอบ รวมด้วยขั้นตอนของ : การสัมผัสเชื้อเพลิงดีเซลที่อุณหภูมิจากประมาณ 90 ํ ซ ถึงประมาณ 105 ํ ซ ในช่วงเวลา จนถึงประมาณ 15 นาที กับสารละลายออกซิไดซ์ซึ่งประกอบรวมด้วย : จากประมาณ 79 % โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 89 % โดยน้ำหนักของกรดฟอร์มิก, จากประมาณ 2 %โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 3% โดยน้ำหนักของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และ จากประมาณ 8% โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 14% โดยน้ำหนักของน้ำ : ในปริมาณโดยที่อัตราส่วนโดยโมลของกรดฟอร์มิกต่อเพอร์ออกไซด์คือ จากประมาณ 20:1 ถึงประมาณ 60:1, ซึ่งปริมาณของสารละลายออกซิไดซ์ถูกเติมเพื่อให้มีส่วนเกิน พอทางปริมาณสารสัมพันธ์ของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ที่จำเป็นในการออกซิไดซ์ซัลเฟอร์ที่มีอยู่ใน เชื้อเพลิงดีเซลในปริมาณจากประมาณ 2.5 ถึงประมาณ 3.5 เท่าของปริมาณที่จำเป็นในการออกซิไดซ์ ซัลเฟอร์ในเชื้อเพลิง; การสกัด, ในช่วงขั้นตอนออกซิไดซ์, สารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูกออกซิไดซ์แล้วจากเชื้อเพลิง ดีเซลเข้าสู่สารละลายออกซิไดซ์แอคเวียสเพื่อก่อให้เกิดวัฎภาคไฮโดรคาร์บอน และวัฎภาค แอคเควียส; การแยกวัฎภาคแอคเควียสซี่งมีสารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูกสกัดออกจากวัฎภาคเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน; การทำให้กรดส่วนที่เหลือใดๆ ในเชื้อเพลิงเป็นกลาง; การนำเชื้อเพลิงดีเซลที่ถูกทำให้เป็นกลางซึ่งมีซัลเฟอร์ต่ำกว่าประมาณ 25 pmm กลับคืนมา; การเติมก๊าซออยล์ลงนี้วัฏจภาคแอเควียสที่ถูกแยก และ การนำกรดฟอร์มิกกลับคืนมาจากวัฎภาคแอคเควียส การแยกไล่วัฎภาคแอเควียสเพื่อแยกกรดฟอร์มิกและน้ำออกจากสารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูก ออกซิไดซ์เป็นกระแสส่วนบน การกลั่นกระแสส่วนบนเพื่อแยกน้ำออกจากกรดฟอร์มิก; และ การนำกรดฟอร์มิกกลับมาสำหรับใช้ใหม่ในสารละลายออกซิไดซ์ 1
3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 10 ซึ่งดีเซลมีซัลเฟอร์จนถึงประมาณ 500 ppm โดย น้ำหนัก 1
4. กระบวนการสำหรับการแยกสารประกอบซัลเฟอร์ออกจากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนซึ่งมี เบนโซไธโอฟีน, ไดเบนโซไธโอฟิน, และเบนโซไธโอฟีนถูกแทนที่ด้วยอัลคิลและไดเบนโซไธโอฟีน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ ; การสัมผัส, ที่อุณหภูมิจากประมาณ 50 ํ ซ ถึงประมาณ 130 ํ ซ, เชื้อเพลิงซึ่งมีซัลเฟอร์กับสาร ละลายออกซิไดซ์แอคเควียส ซึ่งประกอบรวมด้วยไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์และกรดฟอร์มิกในอัตรา ส่วนโดยโมลอย่างน้อยที่สุดประมาณ 11:1 ของกรดฟอร์มิกต่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์และซึ่งมีต่ำ กว่าประมาณ 25% โดยน้ำหนัก, ในปริมาณโดยที่ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์มีอยู่มากกว่าประมาณ 2 เท่า ของปริมาณทางปริมาณสัมพันธ์ที่ต้องการในการเปลี่ยนสารประกอบซัลเฟอร์มีอยู่ไปเป็นซัลโฟน สมนัยกัน ซึ่งวัฎภาคเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนก่อตัวซึ่งมีเบนโซไธโอฟีนถูกแทนที่ด้วยอัลคิลที่ถูก ออกซิไดซ์และไดเบนโซไธโอฟิน, เป็นซัลโฟน, และวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีเบนโซไธโอฟีนและ ไดเบนโซไธโอฟีนที่ถูกออกซิไดซ์ทั้งหมดอย่างมีนัยสำคัญ; การแยกวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีเบนโซไธโอฟีนที่ถูกออกซิไดซ์, และสารประกอบ ไดเบนโซไธโอฟีนซัลเฟอร์ที่ถูกสกัดออกจากวัฎภาคไฮโดรคาร์บอนซึ่งมีเบนโซไธโอฟีนถูกแทนที่ ด้วยอัลคิลที่ถูกออกซิไดซ์และไดเบนโซไธโอฟีน; การแยกไล่วัฎภาคไฮโดคาร์บอนเพื่อแยกกรดฟอร์มิกที่เหลือและน้ำจากวัฎภาค ไฮโดรคาร์บอน; การทำให้วัฏภาคไฮโดรคาร์บอนเป็นกลางและการขจัดน้ำออก; การผ่านวัฎภาคไฮโดรคาร์บอนผ่านเบดของตัวดูดซับอลูมินาเพื่อดูดซับเบนโซไธโอฟีน ถูกแทนที่ด้วยอัลคิลถูกออกซิไดซ์และไดเบนโซไธโอฟีนจากเชื้อเพลิง; และ การนำเชื้อเพลิงซึ่งมีปริมาณซัลเฟอร์ต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญออกจากสารประกอบซัลเฟอร์ ถูกออกซิไดซ์ 1
5. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ซึ่งการทำให้แห้งและการทำให้เป็นกลางทำให้สำเร็จ โดยการเติมแคลเซียมออกไซด์เข้าสู่เชื้อเพลิงวัฎภาคไฮโดรคาร์บอน; และ การกรองเชื้อเพลิงเพื่อแยกของแข็งจากเชื้อเพลิง 1
6. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 14 รวมถึงขั้นตอนเพิ่มเติมของ : การทำให้วัฎภาคไฮโดรคาร์บอนเย็นระหว่างขั้นตอนการแยกไล่และขั้นตอนการทำให้เป็น กลางและการขจัดน้ำ; และ การเติมแคลเซียมออกไซด์ลงในกระแสไฮโดรคาร์บอนก่อนการนำเข้าสู่อุปกรณ์กระทำ ส่วนหลังทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์แยกของแข็งของเหลว 1
7. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ซึ่งซัลเฟอร์มีอยู่ในปริมาณจนถึงประมาณ 7000 ppm โดยน้ำหนักซัลเฟอร์ 1
8. กระบวนการสำหรับการแยกสารประกอบซัลเฟอร์ออกจากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ : การสัมผัสเชื้อเพลิงซึ่งมีซัลเฟอร์กับสารละลายออกซิไดซ์แอคเควียสซึ่งประกอบรวมด้วย ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์และกรดฟอร์มิกในอัตราส่วนโดยโมลอย่างน้อยที่สุดประมาณ 11:1; ของ กรดฟอร์มิกต่อไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์, และซึ่งมีต่ำกว่าประมาณ 25% โดยน้ำหนักในปริมาณเพื่อ ให้มีไฮโดรเจน เพอร์ออกไซด์อยู่มากกว่าประมาณสองเท่าของปริมาณทางปริมาณสารสัมพันธ์ ที่ ต้องการในการเปลี่ยนสารประกอบซัลเฟอร์ที่มีอยู่ไปเป็นซัลโฟนที่สมนัยกัน ที่อุณหภูมิจากประมาณ 50 ํ ซ จนถึงประมาณ 130 ํ ซ เพื่อก่อให้เกิดวัฏภาคเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอนจากที่ ซึ่งซัลเฟอร์ถูกแยก ออกและวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีซัลเฟอร์ถูกออกซิไดซ์แล้วถูกสกัดออกจากวัฎภาคเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน; การแยกวัฎภาคแอคเควียสซึ่งมีสารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูกสกัดออกจากวัฎภาคเชื้อเพลิง ไฮโดรคาร์บอน; การนำเชื้อเพลิงซึ่งมีวัฎภาคไฮโดรคาร์บอนซึ่งมีปริมาณซัลเฟอร์ลดลงกลับคืนมา การติมก๊าซออยล์ลงสู่วัฏภาคแอคเควียสที่ถูกแยก การแยกไล่วัฏภาคแอคเควียสเพื่อแยกกรดฟอร์มิกและน้ำออกจากสารประกอบซัลเฟอร์ที่ถูก ออกซิไดซ์เป็นกระแสส่วนบน; การกลั่นกระแสส่วนบนเพื่อแยกน้ำออกจากกรดฟอร์มิก; และ การนำกรดฟอร์มิกหลับมาสำหรับใช้ใหม่ในสารละลายออกซิไดซ์
TH101003495A 2001-08-30 กระบวนการสำหรับการแยกปริมาณต่ำของซัลเฟอร์อินทรีย์จากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน TH20621B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH54485B TH54485B (th) 2002-12-17
TH54485A true TH54485A (th) 2002-12-17
TH20621B TH20621B (th) 2006-10-02

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP2004524377A5 (th)
RU2450977C2 (ru) Способ удаления серосодержащих остаточных соединений из потока щелочного сырья (варианты)
JP4216586B2 (ja) 炭化水素燃料から少量の有機硫黄を除去する方法
CN101821359B (zh) 用于从石油料流中回收芳烃的萃取蒸馏方法
US7144499B2 (en) Desulfurization process
US3767766A (en) Method of removing gaseous sulfides from gaseous mixtures
AU762639B2 (en) Desulfurization process
Yazu et al. Tungstophosphoric acid-catalyzed oxidative desulfurization of light oil with hydrogen peroxide in a light oil/acetic acid biphasic system
ES2274325T3 (es) Proceso de oxidacion de compuestos organicos de azufre.
CN102309913A (zh) 一种含硫化物和烃类恶臭废气的处理方法
PT110250B (pt) Processo para a redução do teor de enxofre de combustíveis.
AU2004289867B2 (en) Removal of mercury compounds from glycol
RU2691985C2 (ru) Способы очистки углеводородных потоков, содержащих меркаптаны
CN1952050A (zh) 一种加氢柴油氧化脱硫的方法
TH20621B (th) กระบวนการสำหรับการแยกปริมาณต่ำของซัลเฟอร์อินทรีย์จากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน
TH54485A (th) กระบวนการสำหรับการแยกปริมาณต่ำของซัลเฟอร์อินทรีย์จากเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน
JPS59109222A (ja) ガスに含まれるメルカプタンの除去法
US20050218038A1 (en) Pre-treatment of hydrocarbon feed prior to oxidative desulfurization
US3642431A (en) Method of removing hydrogen sulfide from gaseous mixtures
EP0040892A1 (en) A regenerable process for the selective removal of sulfur dioxide from effluent gases
CN111471493B (zh) 一种净化焦炉煤气脱硫液的方法
CN111151098A (zh) 用于voc废气处理的废弃餐厨油脂吸收液、吸收方法及分离回收方法
NO870351L (no) Fremgangsmaate for fjerning av hydrogensulfid.
RU2101320C1 (ru) Способ очистки жидкого углеводородного сырья от сероорганических соединений
CN110624366A (zh) 用于voc废气处理的棉籽油吸收液、吸收方法及分离回收方法