TH423A - หมึกผสมที่ลบออกได้ในช่วงแรกสำหรับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น - Google Patents

หมึกผสมที่ลบออกได้ในช่วงแรกสำหรับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น

Info

Publication number
TH423A
TH423A TH8201000070A TH8201000070A TH423A TH 423 A TH423 A TH 423A TH 8201000070 A TH8201000070 A TH 8201000070A TH 8201000070 A TH8201000070 A TH 8201000070A TH 423 A TH423 A TH 423A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
ink
approximately
ball
weight
range
Prior art date
Application number
TH8201000070A
Other languages
English (en)
Other versions
TH103B (th
TH423EX (th
Inventor
แอนดรู นายแฟรงค์
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH423A publication Critical patent/TH423A/th
Publication of TH423EX publication Critical patent/TH423EX/th
Publication of TH103B publication Critical patent/TH103B/th

Links

Abstract

หมึกผสมที่ลบออกได้เมื่อเขียนใหม่ๆ สำหรับใช้กับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น ซึ่งหมึกมีลักษณะเฉพาะอยู่ที่การลบออก ได้เมื่อเขียนใหม่ๆ โดยใช้ยางลบลบดินสอธรรมดา เมื่อใช้หมึก นี้กับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นเพื่อเขียนบนผิวสำหรับ เขียนซึ่งมีลักษณะคล้ายกระดาษที่ดูดซึมได้ และหลังจากนั้น กลายเป็นหมึกถาวร หมึกผสมนี้ประกอบด้วยอีลาสโตเมอร์ที่ เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วยยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ และ ของผสมของสารทั้งสองนั้น สีประเภทที่เป็นอนุภาคและระบบตัว ทำละลายสำหรับอีลาสโตเมอร์และสีดังกล่าว มีอีลาสโตเมอร์ อยู่ในช่วงประมาณ 18-28 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก และ มีสีอยู่ในช่วงประมาณ 10-22 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก ระบบตัวทำละลายประกอบด้วยองค์ประกอบที่ระเหยได้ในช่วง ประมาณ 8-30 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก และมีจุดเดือด ต่ำกว่าประมาณ 180 องศาเซลเซียส และประกอบด้วยองค์ประกอบ ที่แทบจะไม่ระเหย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นน้ำมันไฮโดรคาร์บอนที่มี ความหนืดต่ำ น้ำมันหอรยะเหย อนุพันธุ์ของปิโตรเลียม สาร ช่วยให้นิ่ม หรือของผสมของสารเหล่านี้ ซึ่งมีจุดเดือดต่ำ กว่าประมาณ 300 องศาเซลเซียส และสูงกว่าประมาณ 180 องศา เซลเซียสอยู่ด้วยในช่วงประมาณ 21 ถึง 50.5 เปอร์เซ็นต์ของ หมึกโดยน้ำหนัก ระบบตัวทำละลายอาจมีสารระเหยไม่ได้ที่มี ความหนืดสูงซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าประมาณ 300 องศาเซลเซียส รวมอยู่ด้วยในปริมาณไม่สูงกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ของหมึกผสม โดยน้ำหนัก

Claims (2)

1. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นที่มีหมึกซึ่งสามารถปล่อยหมึกให้เป็นรอยเขียนลงบนผิวเขียนที่มีลักษณะคล้ายกระดาษที่ ดูดซึมได้ ซึ่งมีช่องว่างขนาดเล็กมากอยู่ในผิวนั้น รอย เขียนดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะอยู่ที่การลบออกได้ด้วยดินสอลบ ยางลบธรรมดา และหลังจากนั้นเป็นช่วงเวลาหนึ่งจะกลายเป็นรอย เขียนถาวร หมึกดังกล่าวประกอบด้วยอีลาสโตเมอร์ที่เลือกจาก กลุ่มของสารที่ประกอบด้วยยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ ซึ่ง เลียนแบบสูตรโครงสร้างทางเคมีของยางธรรมชาติได้คล้ายคลึง ที่สุด หรือของผสมของสารทั้งสองประเภทนี้ สีที่เป็นอนุภาค และระบบตัวทำละลายสำหรับอีลาสโตเมอร์ดังกล่าวมีอีลาสโตเ มอร์อยู่ในช่วงประมาณ 18-28 เปอร์เซ็นต์ของหมึก โดยน้ำหนัก สีที่เป็นอนุภาคดังกล่าวมีอยู่ในช่วงประมาณ 10-22 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก ระบบตัวทำละลายดัง กล่าวประกอบด้วยองค์ประกอบที่ระเหยได้ในช่วงประมาณ 8-30 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก และมีจุดเดือดต่ำกว่าประมาณ 180 องศาเซลเซียส และประกอบด้วยองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหย ซึ่งมีอยู่ในช่วงประมาณ 21-50.5 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำ หนัก และซึ่งมีจุดเดือดต่ำกว่าประมาณ 300 องศาเซลเซียสแต่ สูงกว่าประมาณ 180 องศาเซลเซียส 2. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังให้ความหมายไว้ในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งหมึกดังกล่าวมีสารที่มีความหนืดสูงซึ่งมี จุดเดือดสูงกว่า 300 องศาเซลเซียสรวมอยู่ด้วยในปริมาณไม่ เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ของหมึกผสมนั้นโดยน้ำหมึก 3. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังให้ความหมายไว้ในข้อถือ สิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่งอีลาสโตเมอร์ดังกล่าวมีการกระจายตัว ของน้ำหนักโมเลกุลค่อนข้างสม่ำเสมอในช่วงของน้ำหนักโมเลกุล ตั้งแต่ประมาณ 100,000 ถึงประมาณ 900,000 4. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังให้ความหมายไว้ในข้อถือ สิทธิที่ 1 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยนั้นมีความหนืด อยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 1 ถึงประมาณ 15 เซ็นติพอยส์ 5. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังให้ความหมายไว้ในข้อถือ สิทธิที่ 2 ซึ่งสารที่มีความหนืดสูงดังกล่าวมีความหนืด อย่างน้อยประมาณ 58 เซ็นติพอยส์ 6. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นที่มีหมึกซึ่งสามารถปล่อย หมึกออกเป็นรอยเขียนลงบนผิวที่มีลักษณะคล้ายกระดาษที่ดูด ซึมได้ ซึ่งมีช่องว่างขนาดเล็กมากอยู่ในผิวนั้น รอยเขียน ดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะอยู่ที่การลบออกได้ด้วยดินสอลบยาง ธรรมดา และสามารถกลายเป็นรอยเขียนถาวรได้หลังจากช่วงเวลา หนึ่ง หมึกดังกล่าวประกอบด้วยสีที่เป็นอนุภาค ซึ่งมีอยู่ใน ช่วงประมาณ 10-22% ของหมึกโดยน้ำหนัก และอีลาสโตเมอร์เป็น สารที่เลือกจากกลุ่มของสารที่ประกอบด้วยยางธรรมชาติ ยาง สังเคราะห์ ซึ่งเลียนแบบสูตรโครงสร้างทางเคมีของยางธรรม ชาติได้คล้ายคลึงที่สุด หรือของผสมของยางทั้งสองประเภทนี้ ซึ่งมีอยู่ในช่วงประมาณ 18-28% ของหมึกโดยน้ำหนัก และระบบตัวทำละลายสำหรับอีลาสโตเมอร์นี้ ระบบตัวทำละลายดัง กล่าวประกอบด้วย องค์ประกอบที่ระเหยได้ ซึ่งมีอยู่ในช่วง ประมาณ 8-30% ของหมึกโดยน้ำหนัก และองค์ประกอบที่แทบจะไม่ ระเหย ซึ่งมีอยู่ในช่วงประมาณ 21-50.5% ของหมึกโดยน้ำหนัก ซึ่งองค์ประกอบที่ระเหยได้มีจุดเดือดต่ำกว่าประมาณ 180 องศษเซลเซียส และองค์ประกอบที่แทบจะระเหยไม่ได้ดังกล่าวมี ความหนืดอยู่ในช่วงตั้งแต่ประมาณ 1 ถึง 15 เซ็นติพอยส์ และ จุดเดือดต่ำกว่า 300 องศาเซลเซียส และสูงกว่าประมาณ 180 องศาเซลเซียส 7. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 6 ซึ่งอีลาสโตเมอร์ดังกล่าวประกอบด้วยของผสม ของยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ซึ่งเลียนแบบสูตรโครง สร้างทางเคมีของยางธรรมชาติได้คล้ายคลึงที่สุดอย่างละเท่าๆ กันโดยประมาณ 8. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 1 ถึงที่ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งองค์ประกอบที่ แทบจะระเหยไม่ได้ดังกล่าวเป็นน้ำมันไฮโดรคาร์บอน 9. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นที่มีหมึกซึ่งสามารถปล่อย หมึกออกเป็นรอยเขียนลงบนผิวที่มีลักษณะคล้ายกระดาษที่ดูด ซึมได้ซึ่งมีช่องว่างขนาดเล็กมากอยู่ในผิวนั้น รอยเขียนดัง กล่าวมีลักษณะเฉพาะอยู่ที่การลบออกได้ด้วยยางลบลบดินสอธรรม ดา และสามารถกลายเป็นรอยเขียนถาวรได้หลังจากช่วงเวลาหนึ่ง หมึกดังกล่าวประกอบด้วยอีลาสโตเมอร์ที่เลือกจากกลุ่มซึ่ง ประกอบด้วยยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ซึ่งเลียนแบบสูตรโครง สร้างทางเคมีของยางธรรมชาติได้คล้ายคลึงที่สุดและของผสมของ สารทั้งสองประเภท อีลาสโตเมอร์ดังกล่าวมีอยู่ในปริมาณอย่าง น้อยที่สุด 18% ของหมึกโดยน้ำหมึก, สีซึ่งมีอยู่ในปริมาณ อย่างน้อยที่สุด 10% ของหมึกโดยน้ำหนัก และระบบตัวทำละลายสำหรับอีลาสโตเมอร์ดังกล่าว ระบบตัวทำละ ลายดังกล่าวประกอบด้วยองค์ประกอบที่ระเหยได้ และองค์ประกอบ ที่แทบจะไม่ระเหย องค์ประกอบที่ระเหยได้ดังกล่าวมีจุดเดือด ต่ำกว่า 180 องศาเซลเซียส และมีอยู่ในปริมาณอย่างน้อย 8 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก และองค์ประกอบที่แทบจะไม่ ระเหยดังกล่าวมีจุดเดือดต่ำกว่า 300 องศาเซลเซียส และสูง กว่า 180 องศาเซลเซียส และมีอยู่ในปริมาณอย่างน้อย 21 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก 1 0. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยดังกล่าว คือ น้ำมันไฮโดรคาร์บอนที่มีความหนืดต่ำ 1 1. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 10 ซึ่งน้ำมันไฮโดรคาร์บอนดังกล่าวมีความหนืด อยู่ในช่วงประมาณ 1 ถึงประมาณ 15 เซ็นติพอยส์ 1 2. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่ระเหยได้ดังกล่าวนั้นมี อยู่ในช่วงปริมาณตั้งแต่ประมาณ 8-30 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดย น้ำหนัก 1 3. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยดังกล่าวนั้น มีอยู่ในช่วงปริมาณตั้งแต่ประมาณ 21 ถึง 50.5 เปอร์เซ็นต์ ของหมึกโดยน้ำหนัก 1 4. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งสีที่เป็นอนุภาคดังกล่าวมีอยู่ในช่วง ปริมาณตั้งแต่ประมาณ 10-22 เปอร์เซ็ฯต์ของหมึกโดยน้ำหนัก 1 5. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งอีลาสโตเมอร์ที่มีลักษณะคล้ายยางดัง กล่าวมีอยู่ในช่วงปริมาณตั้งแต่ประมาณ 18-29 เปอร์เซ็นต์ ของหมึกโดยน้ำหนัก 1 6. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งอีลาสโตเมอร์ที่มีลักษณะคล้ายยางดัง กล่าวมีการกระจายตัวของน้ำหนักโมเลกุลที่ค่อนข้างสม่ำเสมอ ในช่วงของน้ำหนักโมเลกุลตั้งแต่ประมาณ 100,000 ถึง 900,000 1 7. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งระบบตัวทำละลายดังกล่าวมีสารที่มีความ หนืดสูง และไม่ระเหยซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่า 300 องศา เซลเซียส เป็นส่วนประกอบเพิ่มเติมในปริมาณไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ของหมึกโดยน้ำหนัก 1 8. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 17 ซึ่งสารที่มีความหนืดสูง และไม่ระเหยดัง กล่าวมีความหนืดอย่างน้อยประมาณ 58 เซ็นติพอยส์ 1 9. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งอีลาสโตเมอร์ดังกล่าวประกอบด้วยของผสม ระหว่างยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ซึ่งเลียนแบบสูตรโครง สร้างทางเคมีของยางธรรมชาติได้คล้ายคลึงที่สุดอย่างละเท่า กันโดยประมาณ 2 0. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยดังกล่าวเป็น น้ำมันหอมระเหยที่มีความหนืดต่ำ 2
1. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยดังกล่าวเป็น อนุพันธุ์ของปิโตรเลียมที่มีความหนืดต่ำ 2
2. ในเครื่องเขียนประเภทลูกลื่นดังได้ให้ความหมายไว้ในข้อ ถือสิทธิที่ 9 ซึ่งองค์ประกอบที่แทบจะไม่ระเหยดังกล่าวเป็น สารช่วยให้นิ่มประเภทที่มีความหนืดต่ำ (ข้อถือสิทธิ 22 ข้อ, 4 หน้า, 0 รูป)
TH8201000070A 1982-03-24 หมึกผสมที่ลบออกได้ในช่วงแรกสำหรับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น TH103B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH423A true TH423A (th) 1982-06-18
TH423EX TH423EX (th) 1982-06-18
TH103B TH103B (th) 1983-08-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR830009177A (ko) 초기에 지울 수 있는 보올펜용 잉크 조성물
KR830009178A (ko) 초기에 지울 수 있는 보올펜용 잉크 조성물 및 그의 제조방법
JPH0354712B2 (th)
JPS5880368A (ja) 筆記具用顔料水性インキ組成物
US4391927A (en) Erasable inks containing thermoplastic block copolymers
TH423A (th) หมึกผสมที่ลบออกได้ในช่วงแรกสำหรับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น
US2956038A (en) Erasable graphitic writing solution
EP0092578A4 (en) ERASABLE INKS CONTAIN THERMOPLASTIC BLOCK POLYMERS.
TH423EX (th) หมึกผสมที่ลบออกได้ในช่วงแรกสำหรับเครื่องเขียนประเภทลูกลื่น
US2852398A (en) Base for non-solid writing media
JPH0362189B2 (th)
US6491466B1 (en) Applicator for fluid
RU2154080C2 (ru) Озонсберегающая корректирующая жидкость с улучшенной затирающей способностью
JPH04332776A (ja) 消去性インキ組成物
JPH0297570A (ja) 修正液
DE2823503A1 (de) Korrekturmittel fuer aufzeichnungsmaterialien
JP2015120815A (ja) 水消去性水性インキ組成物及びそれを用いた水性ペン
KR20050025830A (ko) 소거성 잉크 조성물 및 그 제조방법
JP2000343879A (ja) 流動体塗布具
JP2949233B2 (ja) 消去性インキ組成物
JPS60190481A (ja) ボ−ルペン用インキ
JPS60233168A (ja) 消去可能なボ−ルペン用インキ
TH339B (th) กรรมวิธีการทำและการประกอบสารหมึกที่สามารถลบออกได้ในขั้นต้นโดยใช้ประกอบกับอุปกรณ์การเขียนประเภทลูกลื่น
JPH064805B2 (ja) ボ−ドマ−カ−用インキ組成物
JPS59217771A (ja) 無色染料−顕色剤系インキの消去材