TH21846A - กรรมวิธีการเตรียมเม็ดจากโพลิเอสเทอร์อสัณฐาน - Google Patents

กรรมวิธีการเตรียมเม็ดจากโพลิเอสเทอร์อสัณฐาน

Info

Publication number
TH21846A
TH21846A TH9601000173A TH9601000173A TH21846A TH 21846 A TH21846 A TH 21846A TH 9601000173 A TH9601000173 A TH 9601000173A TH 9601000173 A TH9601000173 A TH 9601000173A TH 21846 A TH21846 A TH 21846A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
temperature
pellets
process according
polyester
lowest
Prior art date
Application number
TH9601000173A
Other languages
English (en)
Other versions
TH26868B (th
Inventor
เคนเน็ธเวย์น เลฟฟิว นาย
เอลวูดนีล บลันชาร์ด นาย
แจนเอ็ม. สตูฟเฟอร์ นาย
Original Assignee
นาย ธเนศเปเรร่า
นาย โรจน์วิทย์เปเรร่า
นางสาว สนธยาสังขพงศ์
นาง ดารานีย์วัจนะวุฒิวงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นาย ธเนศเปเรร่า, นาย โรจน์วิทย์เปเรร่า, นางสาว สนธยาสังขพงศ์, นาง ดารานีย์วัจนะวุฒิวงศ์ filed Critical นาย ธเนศเปเรร่า
Publication of TH21846A publication Critical patent/TH21846A/th
Publication of TH26868B publication Critical patent/TH26868B/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับกรรมวิธีการเตรียมอนุภาคโพลิออสเทอร์ชนิดผลึกน้ำหนักโมเลกุลต่ำที่ สม่ำเสมอและแข็งแรง อนุภาคดังกล่าวใช้ประโยชน์สำหรับการเตรียมโพลิเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุล สูงขึ้น, ตัวอย่างเช่น, โดยการเกิดโพลีเมอร์สถานะของแข็ง สามารถทำให้เม็ดโพลีเอสเทอร์ที่ไม่ หลอมเหลวชนิดอสัณฐานโดยสมบูรณ์ที่เตรียมขึ้นสามัญทั่วไป ที่อุณหภูมิโดยรอบหรือไม่ก็, อีกวิธีหนึ่ง, หยดเล็กๆ ของโพลีเอสเทอร์หลอมเหลวชนิดอสัณฐานโดยสมบูรณ์ ตกผลึกโดยการนำหยดเล็กๆ หรือ เม็ดมาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความร้อนอย่างกะทันหันตามกรรมวิธีของการประดิษฐ์นี้อย่างรวดเร็ว

Claims (6)

1. กรรมวิธีการตกผลึกเม็ดโพลิเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุลต่ำที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยระหว่าง 500 ไมโครเมตร และ 2 เซนติเมตร ซึ่งกรรมวิธีประกอบด้วยการให้ความร้อนแก่เม็ดโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์ ของแข็งชนิดอสัณฐานโดยสมบูรณ์ ที่มีระดับการเกิดโพลีเมอร์ 2 ถึง 4 และอุณหภูมิสภาพแก้ว (Tg) สูงกว่า 25 ํ/ซ. จากอุณหภูมิ TO เมื่อ TO ต่ำกว่า Tg+20 ํ/ซ. ดังนั้นภายใน 15 วินาที อุณหภูมิเฉลี่ยรวมของเม็ดจะ เข้าสู่อุณหภูมิภายในช่วงที่เพิ่มขึ้นจาก T ต่ำสุด ถึง T สูงสุด เมื่อ T ต่ำสุด = Tc-0.5 (Tc-Tg),T สูงสุด =Tc+0.5(Tm-Tc) Tc คืออุณหภูมิที่มีอัตราการตก ผลึกของโอลิโกเมอร์สูงสุดซึ่งได้จากการคำนวณ โดยนิยามว่า Tc= 0.5(Tm+Tg) และ Tm คือจุดหลอมเหลวของ โอลิโกเมอร์ และนอกจากนี้ เมื่อถึงอุณหภูมิดังกล่าว ทำให้เม็ดดังกล่าวคงอยู่ภายในช่วงดังกล่าวเป็นเวลาอย่าง น้อย 3 วินาที 2. กรรมวิธีการตกผลึกเม็ดโพลีเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุลต่ำที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยระหว่าง 500 ไมโครเมตรและ 2 เซนติเมตร ซึ่งกรรมวิธีประกอบด้วยการทำให้หยดเล็กๆ ของโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์ที่ หลอมเหลว ซึ่งมี DP และ Tg ดังที่ได้บรรยายไว้ข้างบนเย็นลงจากอุณหภูมิเริ่มต้น T1 เมื่อ T1 อย่างน้อยคือจุด หลอมเหลว Tm ของโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์ ดังนั้นภายใน 15 วินาที อุณหภูมิเฉลี่ยรวมของหยดเล็กๆ หรือเม็ด ที่ตกผลึกจะเข้าสู่อุณหภูมิภายในช่วงที่เพิ่มขึ้นจาก T ต่ำสุดถึง T สูงสุด เมื่อ T ต่ำสุด =Tc - 0.5 (Tc -Tg), T สูงสุด =Tc+0.5(Tm-Tc) Tc คืออุณหภูมิที่มีอัตราการตก ผลึกของโอลิโกเมอร์สูงสุดซึ่งได้จากการคำนวณ โดยนิยามว่า Tc= 0.5(Tm-Tg) และ Tm คือจุดหลอมเหลวของ โอลิโกเมอร์ และนอกจากนี้เมื่อถึงอุณหภูมิดังกล่าว ทำให้เม็ดดังกล่าวคงอยู่ภายในช่วงดังกล่าวเป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที 3. กรรมวิธีการเตรียมเม็ดโพลิเอสเทอร์ชนิดผลึกโดยสมบูรณ์ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยระหว่าง 500 ไมโครเมตร และ 2 เซนติเมตร จากสารหลอมเหลวชนิดอสัณฐานโดยสมบูรณ์ ซึ่งกรรมวิธีประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: (ก) การเตรียมหยดเล็กๆ ของโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์หลอมเหลวที่อุรหภูมิ T1 เมื่อ T1 อย่างน้อย คือจุดหลอมเหลว Tm ของโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์และเมื่อโพลิเอสเทอร์โอลิโกเมอร์มีระดับการเกิดโพลิเมอร์ (DP) 2 ถึง 40 และอุณหภูมิสภาพแก้ว (Tg) สูงกว่า 25 ํซ.; (ข) การตกผลึกของหยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวดังกล่าวโดยการใส่หยดเล็กๆ ให้สัมผัสกับพื้นผิว ของแข็งซึ่งอยู่ที่อุณหภูมิภายในช่วง T ต่ำสุด ถึง T สูงสุด ดังที่นิยามไว้ข้างล่างเป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที โดย หยดเล็กๆ หรือเม็ดที่ตกผลึกจะได้รับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็วไปยังอุณหภูมิดังกล่าวและคงอยู่ที่ อุณหภูมิภายในช่วงดังกล่าวเป็นช่วงระยะเวลาเพียงพอ; เมื่อ T ต่ำสุด =Tg+10 ํซ.,T สูงสุด =Tc-+0.5 (Tm-Tc) เมื่อ Tc คืออุณหภูมิที่มีอัตราการตกผลึก ของโอลิโกเมอร์สูงสุดซึ่งได้จากการคำนวณ โดยนิยาม Tc= 0.5(Tm+Tg) ; นอกเหนือจาก ถ้าพื้นผิวของแข็งมีสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนคามร้อน (hs) ซึ่งต่ำกว่า 1.5 จูล/วินาที ซม.2 ํซ. ดังนั้น T ต่ำสุด ของพื้นผิวของแข็งอาจอยู่ระหว่าง 0 ํซ. และ (Tg+10 ํซ.) โดยมีเงื่อนไขว่าอุณหภูมิ เฉลี่ยรวมของเม็ดยังคงสูงกว่า T ต่ำสุด เป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที หลังจากที่เม็ดสัมผัสพื้นผิวของแข็ง และโดย มีเงื่อนไขอุณหภูมิเฉลี่ยรวมของเม็ดถึง T สูงสุด ภายใน 15 วินาที หลังจากที่เม็ดสัมผัสพื้นผิวของแข็ง 4. กรรมวิธีการเตรียมอนุภาคโพลีเอสเทอร์ชนิดผลึกโดยสมบูรณ์ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยระหว่าง 500 ไมโครเมตร และ 2 เซนติเมตร กรรมวิธีดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: (ก) การได้รับเม็ดของโพลีเอสเทอร์โอลิโกเมอร์ของแข็งชนิดอสัณฐานโดยสัมบูรณ์ที่อุณหภูมิ TO เมื่อโพลิเอสเทอร์โอลิโกเมอร์มีระดับการเกิดดพลิเมอร์ (DP) 2 ถึง 40 และอุณหภูมิสภาพแก้ว (Tg) สูงกว่า 25 ํซ.; (ข) การนำเม็ดมาปฏิบัติด้วยความร้อนโดยการนำเม็ดเหล่านั้นมาสัมผัสกับแก๊สที่อุณหภูมิอย่าง น้อย T ต่ำสุด เป็นเวลาอย่างน้อยประมาณ 0.5 วินาที เมื่อ T ต่ำสุด อย่างน้อยคือจุดหลอมเหลวของโพลิเอสเทอร์ โอลิโกเมอร์ 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่ง T สูงสุด =Tc+0.3 (Tm-Tc) และ T ต่ำสุด =Tc-0.3 (Tc-Tg) 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่ง T ต่ำสุด =Tc-30 ํซ. และ T สูงสุด =Tc+30 ํซ. 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่ง T สูงสุด =Tc+0.3 (Tm-Tc) และ T ต่ำสุด =Tc+0.5 (Tc-Tg) 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่ง T ต่ำสุด =Tc-0.3 (Tc-Tg) 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยรวมของเม็ดจะเข้าสู่อุณหภูมิดังกล่าวภายในอย่าง น้อย 3 วินาที 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยรวมของเม็ดคงอยู่ที่อุณหภูมิดังกล่าวเป็นเวลาอย่าง น้อย 60 วินาที 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งโพลิเอสเทอร์คือ PET และ T สูงสุด คือ 220 ํซ. และ T ต่ำสุดคือ 130 ํซ. 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่ง T สูงสุด คือ 200 ํซ. และ T ต่ำสุด คือ 150 ํซ. 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่ง T สูงสุด เท่ากับ Tc+10 ํซ. 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่ง T1 อยู่ระหว่าง Tm และ Tm+30 ํซ. 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งพื้นผิวของแข็งคือโลหะ 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งพื้นผิวของแข็งดังกล่าวคือพื้นผิวที่สำหรับการลำเลียงเม็ด 1 7.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งเม็ดเปิดรับพื้นผิวของแข็งดังกล่าวในช่วงอุณหภูมิที่ระบุเป็นเวลา อย่างน้อย 5 วินาที 1 8.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งเม็ดเปิดรับพื้นผิวของแข็งดังกลาวในช่วงอุณหภูมิที่ระบุเป็นเวลา ไม่เกิน 30 นาที 1 9.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งเม็ดเปิดรับพื้นผิวของแข็งดังกล่าวในช่วงอุรหภูมิที่ระบุในช่วง ระยะเวลาระหว่าง 10 วินาที และ 10 นาที 2 0.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งในเวลาดังกล่าว หยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวเปิดรับการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิภายนอกดังกล่าวเกือบทันทีหลังจากที่เกิดหยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวขึ้น 2 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งเตรียมหยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวโดยปาสทิลเลเตอร์ 2 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งโพลิเอสเทอร์คือ PET และทำให้หยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวชนิด อสัณฐานโดยสมบูรณ์ ซึ่งเริ่มต้นอยู่ที่อุณหภูมิระหว่าง 250 ํซ. และ 280 ํซ. ตกผลึกโดยการใส่หยดเล็กๆ เหล่านี้ ให้สัมผัสกับพื้นผิวของแข็งซึ่งอยู่ที่อุณหภูมิภายในช่วง 80 ํซ. และ 220 ํซ. เป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที 2 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งทำให้หยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวชนิดอสัณฐานโดยสมบูรณ์ตกผลึก โดยการใส่หยดเล็กๆ เหล่านี้ให้สัมผัสกับพื้นผิวของแข็งซึ่งอยู่ที่อุณหภูมิภายในช่วง 130 ํซ. และ 200 ํซ.เป็น เวลาอย่างน้อย 3 วินาที 2 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งนำเม็ดมาปฏิบัติด้วยความร้อนโดยนำเม็ดเหล่านี้มาสัมผัสกับแก๊สที่ อุณหภูมิระหว่าง Tm และ 2000 ํซ. เป็นเวลาอย่างน้อยประมาณ 0.5 วินาที 2 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 24 ซึ่งเวลาของการเปิดรับอุณหภูมิที่ระบุอยู่ระหว่างประมาณ 0.5 วินาที และ 2 นาที 2 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งโพลิเอสเทอร์คือ PET และนำเม็ดของแข็งอสัณฐานโดยสมบูรณ์ ซึ่งเริ่มต้นอยู่ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 90 ํซ. มาเปิดรับสิ่งแวดล้อมด้านความร้อนที่มีของไหลที่เป็นแก๊สที่อุณหภูมิอย่าง น้อย 250 ํซ. เป็นเวลาอย่างน้อยประมาณ 0.5 วินาที 2 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่งนำเม็ดของแข็งอสัณฐานโดยสมบูรณ์ดังกล่าว ซึ่งเริ่มต้นอยู่ที่ อุณหภูมิระหว่างอุณหภูมิโดยรอบและ 90 ํซ. มาเปิดรับสิ่งแวดล้อมทางความร้อนที่มีของไหลที่เป็นแก๊สที่ อุณหภูมิระหว่าง 270 ํซ. และ 1500 ํซ. เป็นเวลาอย่างน้อยประมาณ 0.5 วินาที 2 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งเตรียมเม็ดโดยปาสทิลเลชัน การทำให้เป็นเม็ด (prilling) หรือ การ ตัดสารหลอมเหลว (melt cutting)& 2 9. กรรมวิธีการผลิตโพลีเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุลสูงโดยการนำเม็ดโพลีเอสเทอร์ที่ผลิตตามข้อถือ สิทธิ์ 1, 2, 3 หรือ 4 ข้อใดข้อหนึ่งใส่เข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์เพื่อให้เกิดโพลิเมอร์ต่อไป 3 0. กรรมวิธีข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งเครื่องปฏิกรณ์คือเครื่องปฏิกรณ์การเกิดโพลิเมอร์สถานะของแข็ง ซึ่งโดยพื้นฐานมีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิหลอมเหลววัสดุที่นำมาทำให้เกิดโพลีเมอร์ 3
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 หรือ 30 ซึ่ง IV ของ โพลิเอสเทอร์ในเม็ดที่นำมาใส่เข้าในเครื่อง ปฏิกรณ์ต่ำกว่า 0.3 และ IV ของโพลีเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุลสูงที่ผลิตขึ้นมี IV อย่างน้อย 0.6 3
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 หรือ 30 ซึ่งนำเม็ดใส่เข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์โดยปราศจากขั้นตอน การอบนิ่มใดๆ 3
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 29 หรือ 30 ซึ่งโพลีเอสเทอร์คือ PET 3
4. กรรมวิธีการตกผลึกเม็ดโพลี(เอทิลีนเทอเรพพาเลต)ที่มีขนาดเฉลี่ย 500 ไมครอน ถึง 2 เซนติเมตร ซึ่งประกอบด้วย การให้ความร้อนแก่โพลิ(เอทิลีนเพอเรพทาเลต)สภาพแล้วสัณฐานให้สมบูรณ์ซึ่งมีระดับการเกิด โพลิเมอร์ (DP) 2 ถึง 40 จากอุณหภูมิเริ่มต้นต่ำกว่า 90 ํ ซ. จนมีอุณหภูมิเฉลี่ยรวมประมาณ 120 ํซ. ถึง ประมาณ 210 ํซ. ภายในช่วงเวลา 15 วินาที และนอกจากนี้เมื่อถึงอุณหภูมิดังกล่าวทำให้เม็ดดังกล่าวคงอยู่ ภายในช่วงดังกล่าวเป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที, หรืออีกวิธีหนึ่ง การทำให้หยดเล็กๆ ที่หลอมเหลวของโพลิ(เอทิลีนเทอเรพพาเลต)โอลิโกเมอร์ซึ่งมี DP ดังที่กล่าวไว้ ข้างบน เย็นลงจากอุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวโอลิโกเมอร์ ดังนั้นอุณหภูมิเฉลี่ยรวมของหยดเล็กๆ หรือเม็ด ที่ตกผลึกจะเข้าสู่อุณหภูมิ 120 ํซ. ถึงประมาณ 210 ํซ. ภายใน 15 วินาที และนอกจากนี้เมื่อถึงอุณหภูมิดังกล่าว ทำให้เม็ดดังกล่าวคงอยู่ภายในช่วงดังกล่าวเป็นเวลาอย่างน้อย 3 วินาที 3
5. กรรมวิธีดังที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 34 ซึ่งอุณหภูมิดังกล่าวคือประมาณ 150 ํซ. ถึงประมาณ 190 ํซ. 3
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 34 ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยรวมของเม็ดจะเข้าสู่อุณหภูมิดังกล่าวในอย่าง น้อย 3 วินาที
TH9601000173A 1996-01-18 กรรมวิธีการเตรียมเม็ดจากโพลิเอสเทอร์อสัณฐาน TH26868B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH21846A true TH21846A (th) 1996-11-20
TH26868B TH26868B (th) 2009-10-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5443780A (en) Oriented films of polylactic acid and methods of producing same
EP0804499B1 (en) Process for pellet formation from amorphous polyester
EP0338085B1 (en) Process for preparing crystallized aromatic polycarbonate and crystallized aromatic polycarbonate obtained by the process
JP2978545B2 (ja) ポリエチレンナフタレートの結晶化法
US8962791B2 (en) Polylactic acid stereocomplex compositions and methods for making and using same
US5510454A (en) Production of poly(ethylene terephthalate)
US4254253A (en) Preparation of high molecular weight polyester
JP4564698B2 (ja) 結晶性プラスチック材料の製法及び製造装置
TH21846A (th) กรรมวิธีการเตรียมเม็ดจากโพลิเอสเทอร์อสัณฐาน
US6297315B1 (en) Process for preparing polytrimethylene terephthalate
AU710116B2 (en) Production of poly(ethylene terephthalate)
US5536810A (en) Process for thermal treatment of polyester chips in the solid state
JPH08231691A (ja) 発泡ポリ(エチレンナフタレート)の固相重合法
TH26868B (th) กรรมวิธีการเตรียมเม็ดจากโพลิเอสเทอร์อสัณฐาน
US6610819B2 (en) Reduction of friability of poly(trimethylene terephthalate)
JP2004537622A (ja) 固体状態重合速度を速める方法
JP2004536918A (ja) 結晶性ポリカーボネートオリゴマーを調製する方法
MXPA06008183A (es) Terftalato de polietileno parcialmente cristalino.
CHANG et al. Thermal properties of high performance thermoplastic composites based on poly (ether ketone ketone)(PEKK)
TH28999B (th) วิธีการสำหรับผลิตกรดพอลิแลคทิคและเครื่องมือที่ใช้สำหรับผลิต
JP2993369B2 (ja) 成形用ポリエステル材料の製造方法および溶融ポリエステルの冷却固化装置
MXPA97005458A (en) Process for the formation of pelotillas from amy polyester
MXPA98004983A (en) Poly production (trimetile tereftalate
THEIL et al. The crystallization and crystalline properties of LARC-TPI(Final Technical Report, 1 Jan. 1987- 31 Dec. 1988)
KR20060074270A (ko) 폴리에스테르 펠렛의 표면 결정화 방법 및 그 장치