TH21264C3 - กรรมวิธีและเครื่องสำเร็จสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเททและไอโซบิวทิลแอซิเทท - Google Patents

กรรมวิธีและเครื่องสำเร็จสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเททและไอโซบิวทิลแอซิเทท

Info

Publication number
TH21264C3
TH21264C3 TH9901000997A TH9901000997A TH21264C3 TH 21264 C3 TH21264 C3 TH 21264C3 TH 9901000997 A TH9901000997 A TH 9901000997A TH 9901000997 A TH9901000997 A TH 9901000997A TH 21264 C3 TH21264 C3 TH 21264C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
distillation
acid
acetate
separation
reaction
Prior art date
Application number
TH9901000997A
Other languages
English (en)
Other versions
TH37513A3 (th
Inventor
เลเดอเรอร์ นายจาโรมีร์
โคเลนา นายจีรี
ฮานิคา นายจีรี
โมราเวค นายปาเวล
สเมย์คาล นายควีโด
มาเซค นายวลาดีมีร์
วิลลิม วีเคิร์ต นายเลเวอริง
โอลิเวอร์ นายไบเลอร์
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH37513A3 publication Critical patent/TH37513A3/th
Publication of TH21264C3 publication Critical patent/TH21264C3/th

Links

Abstract

DC60 (27/04/42) การประดิษฐ์เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตบิวทิลแอซิเททโดยการเอสเทอริฟิเคชันของแอซิทิค แอซิดกับบิวทานอลในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็นกรด ซึ่งดำเนินการแยกส่วนประกอบ ที่ใช้การกลั่นในเวลาเดียวกันกับการเอสเทอริฟิเคชัน ดังนั้น นำแอซิทิค แอซิดและบิวทานอลใน ปริมาณที่นิยามไว้และในอัตราส่วนโมลาร์ 11 ถึง 1:10 ไปยังระบบ ซึ่งปฏิกิริยาและการแยกที่ใช้ การกลั่นดำเนินไปในสามเขต ดำเนินปฏิกิริยาร่วมกับการแยกที่ใช้การกลั่นของส่วนประกอบที่มี จุดเดือดแตกต่างกันในเขตปฏิกิริยา, ขณะที่การกลั่นเกิดขึ้นในเขตแยกส่วนล่างและส่วนบนเท่านั้น แยกสารผสมที่ระเหยง่ายในเขตแยกส่วนบน หลังจากที่ทำให้เย็นแล้วที่ 5 ถึง 80 องศาเซลเซียส, แยกวัฏภาคน้ำ และวัฏภาคอินทรีย์, ส่วนหลังสุดที่รีฟลักซ์ไปยังระบบ อัตราส่วนของปริมาณสารป้อนต่อปริมาณ รีฟลักซ์ของวัฏภาคอินทรีย์คือ 1:1 ถึง 1:20, ปริมาณรีฟลักซ์แสดงถึงปริมาณทั้งหมดของวัฏภาค อินทรีย์ 60 ถึง 100 % แยกบิวทิลแอซิเททเป็นผลิตภัณฑ์ก้นหอที่มีจุดเดือดสูง การประดิษฐ์ยัง เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตไอโซบิวทิลแอซิเททโดยการเอสเทอริฟิเคชันของแอซิทิค แอซิดกับ ไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็นกรด ซึ่งดำเนินงานการแยกส่วน ประกอบโดยการกลั่นในเวลาเดียวกันกับการเอสเทอริฟิเคชัน การประดิษฐ์เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตบิวทิลแอซิเททโดยการเอสเทอริฟิเคชันของแอซิทิค แอซิดกับบิวทานอลในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็นกรด ซึ่งดำเนินการแยกส่วนประกอบ ที่ใช้การกลั่นในเวลาเดียวกันกับการเอสเทอริฟิเคชัน ดังนั้น นำแอซิทิค แอซิดและบิวทานอลใน ปริมาณที่นิยามไว้และในอัตราส่วนโมลาร์ 1:1 ถึง 1:10 ไปยังระบบ ซึ่งปฏิกิริยาและการแยกที่ใช้ การกลั่นดำเนินไปในสามเขต ดำเนินปฏิกิริยาร่วมกับการแยกที่ใช้การกลั่นของส่วนประกอบที่มี จุดเดือดแตกต่างกันในเขตปฏิกิริยา, ขณะที่การกลั่นเกิดขึ้นในเขตแยกส่วนล่างและส่วนบนเท่านั้น แยกสารผสมที่ระเหยง่ายในเขตแยกส่วนบน หลังจากที่ทำให้เย็นแล้วที่ 5 ถึง 80 ํซ, แยกวัฏภาคน้ำ และวัฏภาคอินทรีย์, ส่วนหลังสุดที่รีฟลักซ์ไปยังระบบ อัตราส่วนของปริมาณสารป้อนต่อปริมาณ รีฟลักซ์ของวัฏภาคอินทรีย์คือ 1:1 ถึง 1:20, ปริมาณรีฟลักซ์แสดงถึงปริมาณทั้งหมดของวัฏภาค อินทรีย์ 60 ถึง 100 % แยกบิวทิลแอซิเททเป็นผลิตภัณฑ์ก้นหอที่มีจุดเดือดสูง การประดิษฐ์ยัง เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตไอโซบิวทิลแอซิเททโดยการเอสเทอริฟิเคชันของแอซิทิค แอซิดกับ ไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็นกรด ซึ่งดำเนินงานการแยกส่วน ประกอบ โดยการกลั่นในเวลาเดียวกันกับการเอสเทอริฟิเคชัน:

Claims (5)

1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเทท โดยการเอสเทอริฟิเคชันของแอซิทิค แอซิดกับบิวทานอล ในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็นกรด ที่มาพร้อมกับการ แยกโดยการกลั่นส่วนประกอบที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยนำแอซิทิค แอซิดและ บิวทานอลในอัตราส่วนโมลาร์ 1:1 ถึง 1:10 ปริมาณทั้งหมดของสารป้อนต่อหน่วย ปริมาตรของตัวเร่งปฏิกิริยา คือ 0.1 ถึง 10 ชม.-1 ไปยังระบบ ซึ่งปฏิกิริยาและการแยก โดยการกลั่นเกิดขึ้นในเขตที่หนึ่ง, สอง และที่สาม ปฏิกิริยาที่ดำเนินงานในเวลา เดียวกันกับการแยกโดยการกลั่นสารประกอบที่มีจุดเดือดที่แตกต่างกันในเขตปฏิกิริยา ขณะที่การแยกส่วนประกอบโดยการกลั่นเกิดขึ้น ในเขตแยกส่วนบนและเขตแยก ส่วนล่าง กล่าวคือ แยกส่วนกลั่นที่ระเหยง่ายในเขตแยกส่วนบน ซึ่งหลังจากที่ทำให้เย็น ที่ 5 ถึง 80 ํซ. ถูกแบ่งแยกออกเป็นวัฏภาคน้ำและวัฏภาคอินทรีย์, วัฏภาคอินทรีย์ที่รีฟ ลักซ์ไปยังเขตแยกส่วนบน, อัตราส่วนของการป้อนไปยังวัฏภาคอินทรีย์ที่ถูกรีฟลักซ์แล้ว คือ 1:1 ถึง 1:20 การรีฟลักซ์แสดงถึงวัฏภาคอินทรีย์ที่แยกแล้ว และบิวทิลแอซิเลทที่ ดึงออกเป็นผลิตภัณฑ์ก้นหอจุดเดือดสูง 60 ถึง 100%
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยนำแอซิทิค แอซิดและบิวทา นอลไปยังระบบที่เป็นสารผสม
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยนำแอซิทิค แอซิดและบิวทา นอลไปยังระบบโดยแยกกัน, แอซิทิค แอซิดที่นำไปยังเขตปฏิกิริยาหรือไปยังเขตแยก ด้านบน และบิวทานอลที่นำไปยังเขตปฏิกิริยา หรือไปยังเขตแยกข้างล่างของระบบ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยนำบิวทานอล 1 ถึง 99 % ที่เป็นสารผสมของแอซิทิค แอซิด ไปในเขตปฏิกิริยา หรือ ไปในเขตแยกส่วนบน และนำบิวทานอลเริ่ม 99 ถึง 1 % อย่างแยกกันไปในเขตปฏิกิริยา หรือไปในเขตแยก ส่วนล่างในเวลาเดียวกัน 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ การนำแอซิทิค และบิวทานอลไปยังระบบในอัตรส่วนโมลาร์ 1:1 ถึง 1:1.3 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 และการดูแลรักษาอัตราป้อนทั้งหมดของสาร ประกอบเริ่มต่อหน่วยปริมาตรอยู่ในช่วง 0.5 ถึง 5 ซม.-1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคืออัตราส่วนของปริมาณ ป้อนต่อปริมาณรีฟลักซ์ของวัฏภาคอินทรีย์อยู่ในช่วง 1:2 ถึง 1:7 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ปริมาณรีฟลักซ์แสดงถึงปริมาณทั้งหมด ของวัฏภาคอินทรีย์ที่แยกจากสิ่งกลั่น 90 ถึง 99% 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือแอซิทิค แอซิด หรือ สารผสมของแอซิดทิค แอซิดกับบิวทานอลที่ถูกนำไปในระบบยังมีบิวทิลแอซิเทท และ/ หรือ น้ำ 1 0. กรรมวิธีสำหรับการผลิตไอโซบิวทิลแอซิเทท โดยการเอสเทอริฟิเคชันของ แอซิทิค แอซิด และไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ ในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งที่เป็น กรด และการแยกในเวลาเดียวกันของส่วนประกอบโดยการกลั่น ซึ่งประกอบด้วยการนำ แอซิทิค แอซิด และไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์อย่างแยกกัน ในอัตราส่วนโมลาร์จาก 1:1 ถึง 1:10 และในปริมาณ ซึ่งถูกแสดงเป็นการป้อนทั้งหมดที่ขึ้นกับหน่วยปริมาตรของ ตัวเร่งปฏิกิริยาจาก 0.1 ถึง 10 ชม.-1 ไปในระบบซึ่งปฏิกิริยา และการแยกโดยการกลั่น เกิดขึ้นในเขตต่าง ๆ ซึ่งปฏิกิริยาดำเนินงานในเวลาเดียวกันกับการแยกโดยการกลั่นของ ส่วนประกอบที่มีจุดเดือดที่แตกต่างกันในเขตปฏิกิริยา และการแยกของส่วนประกอบ โดยการกลั่นเกิดขึ้นในเขตแยกที่หนึ่ง และที่สอง น้ำที่เกิดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ข้างเคียงของ ปฏิกิริยา และการทำให้เกิดสารผสมแอซิโอโทรที่มีจุดเดือดต่ำกับไอโซบิวทิล แอล กอฮอล์ และไอโซบิวทิลแอซิเทท, การกลั่นออกของระบบ, หลังจากนั้นการทำให้ เย็นลงของสิ่งกลั่นจนถึง 5 ถึง 80 ํซ. การแยกน้ำจากส่วนอินทรีย์ของสิ่งกลั่น และการ ดึงมันออกจากระบบ ขณะที่ส่วนประกอบอินทรีย์ของสิ่งกลั่นถูกรีฟลักซ์กลับ, การนำ สารป้อนของแอซิดทิค แอซิด และไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ ไปในระบบในวิธีการที่สาร ป้อนแอซิทิค แอซิด ถูกนำไปในเขตปฏิกิริยา หรือเหนือเขตปฏิกิริยาที่จุดที่อยู่สูงกว่าการ ใส่ไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ และการนำสารป้อนไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ ไปในเขต ปฏิกิริยา หรือต่ำกว่าเขตปฏิกิริยา ซึ่งอัตราส่วนระหว่างสารป้อนของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่ เข้าไป และวัฎภาคอินทรีย์ที่ถูกรีฟลักซ์แล้ว คือ จาก 1:1 ถึง 1:20 และซึ่งการรีฟลักซ์ ซึ่งแสดงถึงจาก 50 ถึง 100% ของวัฎภาคอินทรีย์ที่แยกแล้ว และไอโซบิวทิลแอซิเทท ถูกแยกเป็นผลิตภัณฑ์ก้นหอที่มีจุดเดือดสูงกว่า 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะโดยนำแอซิดทิค แอซิด และไอโซบิวทิล แอลกอฮอล์ในอัตราส่วนโมลาร์ 1:1 ถึง 1:1.5 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซึ่งอัตราป้อนทั้งหมดของสารประกอบเริ่ม ต่อหน่วยปริมาตรของตัวเร่งปฏิกิริยาอยู่ในช่วง 0.5 ถึง 5 ชม.-1 1 1.1
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซึ่ง ปริมาณรีฟลักซ์แสดงถึงปริมาณทั้งหมด ของวัฎภาคอินทรีย์ที่แยกจากสิ่งกลั่น 80 ถึง 99% 1
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซึ่ง แอซิทิค แอซิดที่นำไปยังระบบยังมี อย่างน้อยหนึ่งไอโซบิวทิลแอซิเทท, น้ำ และ ไอโซบิวทิลแอลกอฮอล์
TH9901000997A 1999-03-24 กรรมวิธีและเครื่องสำเร็จสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเททและไอโซบิวทิลแอซิเทท TH21264C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH37513A3 TH37513A3 (th) 2000-03-06
TH21264C3 true TH21264C3 (th) 2007-01-19

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU99112576A (ru) Способ получения уксусной кислоты
BR9909040A (pt) Processo e aparelho para a produção de acetato de butila e acetato de isobutila
BR0014732A (pt) Método de produção de acetato de etila e equipamento para realizar este método
RU99116370A (ru) Способ получения уксусной кислоты
CA2556966A1 (en) Process for producing acetic acid
HU198635B (en) Apparatus for processing methyl-tertiary-butyl-ether
KR100407510B1 (ko) 탈수 방법
KR20180108644A (ko) (메트)아크릴 에스테르의 정제 방법
JPH0662503B2 (ja) 低級アクリル酸エステルの連続的製造方法
US4645570A (en) Distillation of higher alcohols of 6-20 carbon atoms containing water and methanol
US3983010A (en) Recovery of the formic acid/water azeotrope by distillation
US20070142664A1 (en) Process for the preparation of an alkyl alkenoate
EP3010878B1 (en) Dividing wall in ethanol purification process
US4444624A (en) Process for separating acetone from carbonylation mixtures
US20030109742A1 (en) Process for preparing a carboxylic ester
JP2001517229A (ja) カルボン酸ビニルエステルの製造方法
KR100229946B1 (ko) 카보닐화 공정으로부터 아세톤을 분리하는 방법
TH21264C3 (th) กรรมวิธีและเครื่องสำเร็จสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเททและไอโซบิวทิลแอซิเทท
TH37513A3 (th) กรรมวิธีและเครื่องสำเร็จสำหรับการผลิตบิวทิลแอซิเททและไอโซบิวทิลแอซิเทท
CA2335778A1 (en) Process for the treatment of waste water
US5262014A (en) Process for removing acetone from a mixture of acetone, methyl, acetate and methyl iodide
JP2003518053A (ja) カルボニル化プロセスからのアセトンの強化除去方法
JPH0142252B2 (th)
EP0260572A1 (en) Coproduction of low molecular weight esters of alkanols
RU2036919C1 (ru) Способ получения 1,3-диоксолана