TH21019B - เครื่องจักรม้วนพันลวดและวิธีการม้วนพันลวดสำหรับทำสิ่งที่ม้วนพันของอุปกรณ์เครื่องจักรกลทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน - Google Patents

เครื่องจักรม้วนพันลวดและวิธีการม้วนพันลวดสำหรับทำสิ่งที่ม้วนพันของอุปกรณ์เครื่องจักรกลทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน

Info

Publication number
TH21019B
TH21019B TH101003824A TH0101003824A TH21019B TH 21019 B TH21019 B TH 21019B TH 101003824 A TH101003824 A TH 101003824A TH 0101003824 A TH0101003824 A TH 0101003824A TH 21019 B TH21019 B TH 21019B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
magnetic
core
wire
axes
axis
Prior art date
Application number
TH101003824A
Other languages
English (en)
Other versions
TH50324A (th
Inventor
ทาไก เคอิจิ
มิยาเกะ โนบูอากิ
โทมิตะ คาซูนาริ
โอมูระ คาซูยา
คาวาซูกิ นาโอกิ
นากาฮารา ยูจิ
อากิตะ ฮิโรยูกิ
Original Assignee
นายชวลิต อัตถศาสตร์
Filing date
Publication date
Application filed by นายชวลิต อัตถศาสตร์ filed Critical นายชวลิต อัตถศาสตร์
Publication of TH50324A publication Critical patent/TH50324A/th
Publication of TH21019B publication Critical patent/TH21019B/th

Links

Abstract

DC60 เครื่องจักรม้วนพันลวดสำหรับสร้างขดลวด (20) บนแต่ละซี่ขั้วแม่เหล็ก (11a) ของ ชิ้นส่วนแกน (13) ซึ่งถูกสร้างโดยการรวมส่วนแกนจำนวนหนึ่ง (11) โดยแต่ละส่วนแกน (11) จะมี ส่วนโยค (11c) และซี่ขั้วแม่เหล็ก (11a) ที่ถูกสร้างแบบยื่นออกมาที่พื้นผิวด้านใน (11d) ของส่วนโยค (11c) ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วยตัวกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วนแกนที่รวมถึงลูกกลิ้งหมุน (14) ลูกกลิ้งนำ ทางที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง (21) และลูกกลิ้งนำทางที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางแคบ (22) ซึ่งจะรวมกันทำ หน้าที่โค้งงอชิ้นส่วนแกน (13) และยึดมันในตำแหน่งที่ส่วนแกน (11.3, 11.5) ที่ชิดกับส่วนแกน (11.4) ซึ่งขดลวด (20) ถูกม้วนพันบนนั้น จะไม่ยื่นออกไปในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมัน (11a) จนเลยพื้นผิวขอบเขต (S) ของส่วนโยค (11c) ของส่วนแกน (11.4) ซึ่งขดลวด (20) ถูกม้วนพันบนนั้น เครื่องจักรม้วนพันลวดสำหรับสร้างขดลวด (20) บนแต่ละซี่ขั้วแม่เหล็ก (11a) ของ ชิ้นส่วนแกน (13) ซึ่งถูกสร้างโดยการสร้างโดยการรวมส่วนแกนจำนวนหนึ่ง (11) โดยแต่ละส่วนแกน (11) จะมี ส่วนโยค (11c) และซี่ขั้วแม่เหล็ก (11a) ที่ถูกสร้างแบบยื่นออกมาที่พื้นผิวด้านใน (11d) ของส่วนโยค (11c) ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วยตัวกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วนแกนที่รวมถึงลูกกลิ้งหมุน (14) ลูกกลิ้งนำ ทางที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางกว้าง (21) และลูกกลิ้งนำทางที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางแคบ (22) ซึ่งจะรวมกันทำ หน้าที่โค้งงอชิ้นส่วนแกน (13) และยึดมันในตำแหน่งที่ส่วนแกน (11.3, 11.5) ที่ชิดกับส่วนแกน (11.4) ซึ่งขดลวด (20) ถูกม้วนพันบนนั้น จะไม่ยื่นออกไปในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมัน (11a) จนเลยพื้นผิวขอบเขต (S) ของส่วนโยค (11c) ของส่วนแกน (11.4) ซึ่งขดลวด (20) ถูกม้วนพันบนนั้น

Claims (2)

1. เครื่องจักรม้วนพันลวด สำหรับสร้างขดลดบนแกนเหล็กของอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่ ทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน ที่ซึ่งแกนเหล็กจะถูกสร้างด้วยชิ้นส่วนแกนที่ถูกสร้างโดยการรวมส่วน แกนจำนวนหนึ่ง โดยแต่ละส่วนแกนจะมีส่วนโยค และซี่ขั้วแม่เหล็กที่ถูกสร้างแบบยื่นออกมาจาก พื้นผิวด้านในของส่วนโยค โดยแต่ละขดลวดจะถูกสร้างรอบซี่ขั้วแม่เหล็ก และชิ้นส่วนแกนจะถูก สร้างโดยการรวมปลายทั้งสองของแต่ละส่วนโยคโดยวิถีทางของตัวเชื่อมต่อ ซึ่งทำหน้าที่เป็นจุดของ การดัดโค้ง ที่ซึ่งเครื่องจักรม้วนพันลวดดังกล่าวอย่างน้อยประกอบด้วย ตัวป้อนลวด ซึ่งถูกสร้างเพื่อม้วนพันขดลวดบนซี่ขั้วแม่เหล็ก เมื่อปลายทางออกลวดของ ตัวป้อนลวดหมุนรอบแต่ละซี่ขั้วแม่เหล็ก และ ตัวกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วนแกนซึ่งจะทำให้ชิ้นส่วนแกนโค้งงอที่ตัวเชื่อมต่อในลักษณะ ที่ ซี่ขั้วแม่เหล็กจะถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกหรือด้านในของโครงสร้างที่โค้งงอ และจะยึด ชิ้นส่วนแกนในตำแหน่งที่ส่วนแกนที่ชิดกับแต่ละส่วนแกน ที่อยู่ภายใต้การม้วนพันลวดที่ถูกกระทำ การโดยตัวป้อนลวดจะไม่ยื่นออกไปในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมัน จนเลยพื้นผิวขอบเขตที่ รวมถึงพื้นผิวด้านในของส่วนโยคของแต่ละส่วนแกน ซึ่งอยู่ภายใต้การม้วนพันลวดในระหว่างการ ม้วนพันลวด 2. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วน แกนจะมีกลไกซึ่งเคลื่อนที่ชิ้นส่วนแกนในลักษณะที่ แต่ละส่วนแกนจะถูกป้อนตามลำดับเข้าไปในพื้นที่ ทำงานของตัวป้อนลวด 3. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วน แกนจะมีอุปกรณ์หมุน ซึ่งสามารถดัดโค้งสามส่วนแกนต่อเนื่องกันเป็นอย่างน้อยที่สุด ไปตามพื้นผิว ขอบนอก และล็อคมันในตำแหน่งในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กของมันจะถูกกำนหดตำแหน่งที่ด้านนอก ของโครงสร้างที่โค้งงอ 4. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวกำหนดตำแหน่ง ชิ้นส่วนแกนจะรวมถึง ชัคจำนวนหนึ่งที่สามารถดัดโค้งส่วนแกนตามจำนวนที่กำหนด ซึ่งถูกจัดเป็นระยะๆ ตามที่กำหนดตลอดชิ้นส่วนแกน และส่วนแกนที่อยู่ชิดกับส่วนแกนเหล่านั้น และล็อคมันอยู่ใน ตำแหน่ง ในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กของมันจะถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกของโครงสร้างที่โค้งงอ และ อุปกรณ์ยึดซึ่งจะดัดโค้งและยึดหลายส่วนแกนที่ถูกกำหนดที่ตั้งระหว่างส่วนแกนที่ถูก ล็อคไว้โดยชัคในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กจะถูกกำหนดตำแหน่งอยู่ที่ด้านในของโครงสร้างที่โค้งงอ ที่ซึ่งขดลวดจะถูกสร้างรอบส่วนแกนที่ถูกล็อคไว้โดยชัค 5. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งตัวป้อนลวดจะมีไฟลเออร์ ซึ่งจะนำทางลวดในลักษณะที่ทิศทางซึ่งแต่ละลวดถูกปล่อยออก จะสัมพันธ์กับทิศทางในแนวรัศมีของซี่ ขั้วแม่เหล็กที่สัมพันธ์กัน ที่ปลายทางออกลวดที่ตรงกันของมัน 6. วิธีการม้วนพันลวด เพื่อสร้างขดลวดบนแกนเหล็กของอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่ทำงาน ด้วยไฟฟ้าแบบหมุน ที่ซึ่งแกนเหล็กจะถูกสร้างด้วยชิ้นส่วนแกน ซึ่งถูกสร้างโดยการรวมส่วนแกน จำนวนหนึ่ง โดยแต่ละส่วนแกนจะมีส่วนโยค และซี่ขั้วแม่เหล็ก ซึ่งจะถูกสร้างแบบยื่นออกมาบน พื้นผิวด้านในของส่วนโยค โดยแต่ละขดลวดจะถูกสร้างรอบซี่ขั้วแม่เหล็ก และชิ้นส่วนแกนจะถูก สร้างจากการรวมปลายทั้งสองของแต่ละส่วนโยคโดยวิถีทางของตัวเชื่อมต่อ ซึ่งทำหน้าที่เป็นจุดของ การดัดโค้ง ซึ่งวิธีการม้วนพันลวดดังกล่าวอย่างน้อยประกอบด้วยขั้นตอนของ การดัดโค้งชิ้นส่วนแกนในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กจะถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกหรือ ด้านในของโครงสร้างที่โค้งงอ และ การสร้างขดลวดบนหนึ่งส่วนแกน ในขณะที่ยึดส่วนแกนในตำแหน่งที่ส่วนแกนที่อยู่ชิด กับหนึ่งส่วนแกนดังกล่าวจะไม่ยื่นเข้าไปในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมัน จนเลยพื้นผิวขอบเขตที่ รวมถึงพื้นผิวด้านในของส่วนโยคของหนึ่งส่วนแกนดังกล่าว 7. เครื่องจักรม้วนพันลวดเพื่อสร้างขดลวดบนแกนเหล็กของอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่ ทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน ที่ซึ่งแกนเหล็กถูกสร้างด้วยชิ้นส่วนแกน ซึ่งถูกสร้าง โดยการรวมส่วน แกนจำนวนหนึ่ง แต่ละส่วนแกนจะมีส่วนโยค และซี่ขั้วแม่เหล็กซึ่งถูกสร้างแบบยื่นออกมาบนพื้นผิว ด้านในของส่วนโยค แต่ละขดลวดถูกสร้างรอบซี่ขั้วแม่เหล็ก และชิ้นส่วนแกนถูกสร้างโดยรวมปลาย ทั้งสองของแต่ละส่วนโยค โดยวิถีทางของตัวเชื่อมต่อซึ่งทำหน้าที่เป็นจุดของการดัดโค้ง เครื่องจักร ม้วนพันลวดดังกล่าวจะประกอบด้วย ตัวป้อนลวด ซึ่งถูกสร้างเพื่อม้วนพันขดลวดบนซี่ขั้วแม่เหล็ก เมื่อปลายทางออกลวดของ ตัวป้อนลวดหมุนรอบแต่ละซี่ขั้วแม่เหล็ก และ ตัวกำหนดตำแหน่งชิ้นส่วนแกนซึ่งทำให้ชิ้นส่วนแกนดัดโค้งที่ตัวเชื่อมต่อในลักษณะที่ ซี่ขั้วแม่เหล็กถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกของโครงสร้างที่โค้งงอ และยึดชิ้นส่วนแกนในตำแหน่งที่ ส่วนแกนที่ชิดกับแต่ละส่วนแกน ซึ่งอยู่ภายใต้การม้วนพันลวดที่ถูกกระทำการโดยตัวป้อนลวดจะไม่ ยื่นในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมันเลยพื้นผิวขอบเขตที่รวมถึงพื้นผิวด้านในของส่วนโยคของแต่ ละส่วนแกน ซึ่งอยู่ภายใต้การม้วนพันลวดในระหว่างการม้วนพันลวด 8. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ตัวกำหนดตำแหน่ง ชิ้นส่วนแกนจะมีกลไกซึ่งเคลื่อนที่ชิ้นส่วนแกนในลักษณะที่แต่ละส่วนแกนจะถูกป้อนตามลำดับใน พื้นที่ปฏิบัติการของตัวป้อนลวด 9. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ตัวกำหนดตำแหน่ง ชิ้นส่วนแกนจะมีอุปกรณ์หมุน ซึ่งสามารถดัดโค้งสามส่วนแกนต่อเนื่องกันเป็นอย่างน้อยที่สุด ตาม พื้นผิวขอบนอก และล็อคมันในตำแหน่งในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กของมันถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้าน นอกของโครงสร้างที่โค้งงอ 1 0. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่งตัวกำหนดตำแหน่ง ชิ้นส่วนแกนจะรวมถึง ชัคจำนวนหนึ่งซึ่งสามารถดัดโค้งส่วนแกนตามจำนวนที่กำหนดที่ถูกจัดเป็นระยะๆ ตามที่กำหนดตลอดชิ้นส่วนแกน และส่วนแกนที่ชิดกับส่วนแกนเหล่านั้น และล็อคมันในตำแหน่งใน ลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กของมันถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกของโครงสร้างที่โค้งงอ และ อุปกรณ์ยึดซึ่งจะดัดโค้งและยึดหลายส่วนแกนที่ถูกกำหนดที่ตั้งระหว่างส่วนแกนที่ ถูก ล็อคโดยชัค ในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กจะถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านในของโครงสร้างที่โค้งงอ ที่ซึ่งขดลวดจะถูกสร้างรอบส่วนแกนที่ถูกล็อคโดยชัค 1
1. เครื่องจักรม้วนพันลวดตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่งตัวป้อนลวดจะมี ไฟลเออร์ ซึ่งจะนำทางลวดในลักษณะที่ทิศทางซึ่งแต่ละลวดถูกปล่อยออกจะสัมพันธ์กับทิศทางใน แนวรัศมีของซี่ขั้วแม่เหล็กที่สัมพันธ์กันเสมอที่ปลายทางออกลวดที่ตรงกันของมัน 1
2. วิธีการม้วนพันลวด เพื่อสร้างขดลวดบนแกนเหล็กของอุปกรณ์เครื่องจักรกลที่ ทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน ที่ซึ่งแกนเหล็กถูกสร้างด้วยชิ้นส่วนแกน ซึ่งถูกสร้างโดยการรวมส่วน แกนจำนวนหนึ่ง แต่ละส่วนแกนจะมีส่วนโยค และซี่ขั้วแม่เหล็ก ซึ่งถูกสร้างแบบยื่นออกมาบนพื้นผิว ด้านในของส่วนโยค แต่ละขดลวดถูกสร้างรอบซี่ขั้วแม่เหล็ก และชิ้นส่วนแกนถูกสร้างโดยการรวม ปลายทั้งสองของแต่ละส่วนโยค โดยวิถีทางของตัวเชื่อมต่อซึ่งทำหน้าที่เป็นจุดของการดัดโค้ง วิธีการ ม้วนพันลวดดังกล่าวจะประกอบด้วยขั้นตอนของ การดัดโค้งชิ้นส่วนแกนในลักษณะที่ซี่ขั้วแม่เหล็กจะถูกกำหนดตำแหน่งที่ด้านนอกของ โครงสร้างที่โค้งงอ และ การสร้างขดลวดบนหนึ่งส่วนแกน ในลักษณะที่ยึดส่วนแกนในตำแหน่งที่ส่วนแกนที่ชิด กับหนึ่งส่วนแกนดังกล่าวจะไม่ยื่นออกในทิศทางของซี่ขั้วแม่เหล็กของมันเลยพื้นผิวขอบเขตที่รวมถึง พื้นผิวด้านในของส่วนโยคของหนึ่งส่วนแกนดังกล่าว
TH101003824A 2001-09-19 เครื่องจักรม้วนพันลวดและวิธีการม้วนพันลวดสำหรับทำสิ่งที่ม้วนพันของอุปกรณ์เครื่องจักรกลทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน TH21019B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH50324A TH50324A (th) 2002-03-22
TH21019B true TH21019B (th) 2006-12-07

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
HUP9901056A2 (hu) Állórész villamos géphez
US6894418B2 (en) Nested stator coils for permanent magnet machines
EP1729398A3 (en) Production method for rotating electric machine and stator coils, and electric power steering motor
JP5418484B2 (ja) 回転電機の固定子のコイルボビンおよびこのコイルボビンを使用した回転電機の固定子の巻線方法
US7808145B2 (en) Armature in rotary electric device and its manufacturing method
US20080016673A1 (en) Motor armature having distributed windings for reducing arcing
KR20160017967A (ko) 회전 전기 기계용 와이어 조립체 및 그 와이어 조립체를 얻기 위한 대응 방법
JP4509088B2 (ja) 回転電機の製造法
US20180212498A1 (en) Coil unit arrangement device
US4459742A (en) Armature winding machine and method
JP2000014095A (ja) 歯形状固定子,そのコイル組付方法及びコイル組付装置
TH21019B (th) เครื่องจักรม้วนพันลวดและวิธีการม้วนพันลวดสำหรับทำสิ่งที่ม้วนพันของอุปกรณ์เครื่องจักรกลทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน
TH50324A (th) เครื่องจักรม้วนพันลวดและวิธีการม้วนพันลวดสำหรับทำสิ่งที่ม้วนพันของอุปกรณ์เครื่องจักรกลทำงานด้วยไฟฟ้าแบบหมุน
JP5768305B1 (ja) 固定子の製造方法および装置
EP1251628A3 (en) Stator pole winding method and apparatus
KR200402555Y1 (ko) 브러쉬리스 모터의 고정자 코일 권선 구조
JPS61189142A (ja) モ−タ用コア
KR102622142B1 (ko) 헤어핀 권선모터의 고정자 어셈블리
US5829118A (en) Method and apparatus for slotless stator manufacturing
JP2003333809A5 (th)
JPS59113763A (ja) 整流子電動機の固定子組立体
CA2645192A1 (en) Stator winding for a slotless motor
KR102212604B1 (ko) 모터의 코일 권선방법
JP2001275298A (ja) 電動パワーステアリングのモータの巻線シリンダ構造
JP2004343978A (ja) 多極電機子の集中巻線方法