TH19831B - วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง - Google Patents

วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง

Info

Publication number
TH19831B
TH19831B TH101001937A TH0101001937A TH19831B TH 19831 B TH19831 B TH 19831B TH 101001937 A TH101001937 A TH 101001937A TH 0101001937 A TH0101001937 A TH 0101001937A TH 19831 B TH19831 B TH 19831B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
extrusion
continuous
control
value
solution
Prior art date
Application number
TH101001937A
Other languages
English (en)
Other versions
TH49118A (th
TH49118B (th
Inventor
ซีเคลี สเตฟาน
เอคเคอร์ ฟรีดริช
Original Assignee
นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์
ดร.พูนเดช ไกรฤทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์, ดร.พูนเดช ไกรฤทธิ์ filed Critical นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์
Publication of TH49118A publication Critical patent/TH49118A/th
Publication of TH49118B publication Critical patent/TH49118B/th
Publication of TH19831B publication Critical patent/TH19831B/th

Links

Abstract

DC60 (15/08/44) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการผลิตชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) โดยใช้สาร ละลายอัดรีดที่ควรประกอบด้วยน้ำ เซลลูโลส และทอร์ทิอะริอะมีนไซด์ สารละลาย อัดรีดดังกล่าวถูกอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีด (10) เพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง ชิ้น งานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องดังกล่าวที่ผ่านช่องอากาศ (12) ที่มีการดูด ในการเพิ่มคุณ สมบัติการไม่เกิดวงและเพื่อลดแนวโน้มในการเกิดเส้นใยเล็กนั้น การประดิษฐ์นี้จะแสดง ให้เห็นถึงการเร่งเฉลี่ย และ/หรือ ความหนาแน่นการไหลของความร้อนเฉลี่ยถูกควบคุม ตามการประดิษฐ์ให้เป็นไปตามสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้า การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการผลิตชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) โดยใช้สาร ละลายอัดรีดที่ควรประกอบด้วยน้ำ เซลลูโลส และทอร์ทิอะริอะมีนไซด์ สารละลาย อัดรีดดังกล่าวถูกอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีด (10) เพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง ชิ้น งานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องดังกล่าวที่ผ่านช่องอากาศ (12) ที่มีการดูด ในการเพิ่มคุณ สมบัติการไม่เกิดวงและเพื่อลดแนวโน้มในการเกิดเส้นใยเล็กนั้น การประดิษฐ์จะแสดง ให้เห็นถึงการเร่งเฉลี่ย และ/หรือ ความหนาแน่นการไหลของความร้อนเฉลี่ยถูกควบคุม ตามการประดิษฐ์ให้เป็นไปตามสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้า

Claims (7)

1. วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องโดยใช้สารละลายอัดรีด โดย เฉพาะอย่างยิ่งสารละลายอัดรีดที่มีเซลลูโลส น้ำ เทอร์ทิอะริอะมีนออกไซด์ซึ่งวิธีการดัง กล่าวประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ - การเคลื่อนที่สารละลายอัดรีดผ่านท่ออัดรีดที่มีความยาวที่กำหนดไว้ล่วง หน้าและมีเส้นผ่านศูนย์กลางที่กำหนดไว้ล่วงหน้าไปจนถึงช่องท่ออัดรีด - การอัดรีดสารละลายอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีดเพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อขึ้นรูป ต่อเนื่องแบบอัดรีด - การเคลื่อนชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องแบบอัดรีดผ่านช่องอากาศที่มีความ สูงของช่องอากาศที่กำหนดไว้แล้ว - การเร่งชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องในช่องอากาศ ทั้งนี้ โดยลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้ - การควบคุมการเร่งของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) โดยเฉลี่ยตลอด ความสูงของช่องอากาศ (H) ให้มีค่า ดังต่อไปนี้ ( สูตร ) โดยที่ เบตา เป็นอัตราส่วนของความยาว (L) ต่อเส้นผ่านศูนย์กลาง (D) ของช่องท่อ อัดรีด (8) และค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เดลตา คือ 0.3 เป็นอย่างน้อย 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เดลตา คือ 0.6 เป็นอย่างน้อย 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เดลตา คือ 1.5 เป็นอย่างน้อย 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 3 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เดลตา คือ 2.2 เป็นอย่างน้อย 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการอัดรีด VE ของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) ผ่านช่องอัดรีด (10) ตามการเร่งเฉลี่ย (สูตร) 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การลำเลียงชิ้นงานขึ้นรูปต่อเนื่องและถูกอัดรีด (11) โดยไม่มีแรงดึง แต่อย่างใดไปบนวิถีลำเลียง (25) ให้ไปยังหน่วยดูดออก (15) วิถีทางลำเลียง (25) ดังกล่าวถูกจัดวางต่อจากช่องอากาศ (12) หรือต่อจากเขตน้ำยาทำให้เกิดการเกาะติด (14) 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 6 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการลำเลียงของวิถีทางลำเลียง (25) ตามการเร่งเฉลี่ย (สูตร) ดังกล่าว 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การดูดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องและถูกอัดรีด (11) ออก เมื่อได้เคลื่อน ที่ผ่านช่องอากาศ (12) ด้วยวิถีทางของหน่วยดูดออก (15) ที่มีความเร็วการดูดออก VA 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 8 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการดูดออก VA ของหน่วยดูดออก (15) ตามการเร่ง เฉลี่ย (สูตร) 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการอัดรีด VE ของชิ้นส่วนหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) ที่ผ่านช่องอัดรีด (10) และ/หรือ เร็วการดูดออก VA ของชิ้นส่วนหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) ด้วยหน่วยดูดออก (15) ตามสูตรดังต่อไปนี้ ( สูตร ) โดยที่ H คือความสูงของช่องอากาศ และ แกมมา คือตัวแปรตรวจแก้ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 7 ถึง 7.4 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 10 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของตัวแปรตรวจแก้ แกมมา อยู่ที่ประมาณ 7.2 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การดูดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่องแบบอัดรีดเมื่อชิ้นงานออกจากช่องท่อ อัดรีดในช่องอากาศ (12) โดยวิถีทางของการไหลของอากาศที่ไหลรอบชิ้นงานหล่อขึ้นรูป ต่อเนื่องในทิศทางการอัดรีด ซึ่งความเร็วการไหลของอากาศ (13) นั้นมากกว่าความเร็วการ อัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 12 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมซึ่งความเร็วการไหลของอากาศ (13) ตามการเร่งเฉลี่ย (สูตร) ในช่องอากาศ 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมความหนาแน่นการไหลของความร้อน Q ซึ่งเฉลี่ยตลอด ความสูงของช่องอากาศให้มีค่า ดังต่อไปนี้ ( สูตร ) โดยที่ เบตา เป็นอัตราส่วนของความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของท่ออัดรีดและค่า ของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.1 เป็นอย่างน้อย 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 14 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.2 เป็นอย่างน้อย 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.5 เป็นอย่างน้อย 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 16 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 1.0 เป็นอย่างน้อย 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 14 ถึง 17 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้น ตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมอุณหภูมิ TE ของสารละลายอัดรีดตามความหนาแน่นการ ไหลของความร้อน Q 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 14 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้น ตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมอุณหภูมิ TL ของอากาศที่ล้อมรอบชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อ เนื่อง (11) ในช่องอากาศ (12) ตามความหนาแน่นการไหลของความร้อน Q 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมความแตกต่างของอุณหภูมิ เดลตาT = TE-TL ระหว่างอุณหภูมิ TE ของสารละลายอัดรีดกับอุณหภูมิ TL ของอากาศที่ล้อมรอบชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง (11) ในช่องอากาศ (12) ให้ค่าดังต่อไปนี้ ( สูตร ) โดยที่ m คือการไหลของมวลสารละลายอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีดเป็น g/s CE เป็นความสามารถรับความร้อนจำเพาะของสารละลายอัดรีดในหน่วย w/มม3 d เป็น ความหนาแน่นของรูปช่องท่ออัดรีดต่อพื้นที่ต่อหน่วยในหนึ่งช่องต่อตารางมิลลิเมตร และ H เป็นความยาวของช่องอากาศเป็นมิลลิเมตร 2
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 14 ถึง 20 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมี การควบคุมอุณหภูมิ TL ในขณะที่อุณหภูมิ TE ถูกรักษาให้คงที่โดยตลอด 2
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 14 ถึง 20 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีการ ควบคุมอุณหภูมิ TE ในขณะที่อุณหภูมิ TL ถูกรักษาให้คงที่โดยตลอด 2
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ เบตา คือ 2 เป็นอย่างน้อย 2
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 21 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่า เบตา คือ 150 เป็นอย่าง มากที่สุด 2
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 22 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ค่า เบตา คือ 100 เป็นอย่าง มากที่สุด 2
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือความ สามารถรับความร้อนจำเพาะ CE ของสารละลายอัดรีดคือ 2.1 J/(gK) เป็นอย่างน้อย 2
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือความ สามารถรับความร้อนจำเพาะ CE ของสารละลายอัดรีดคือ 2.9 J/(gK) เป็นอย่างน้อย
TH101001937A 2001-05-18 วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง TH19831B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH49118A TH49118A (th) 2002-01-24
TH49118B TH49118B (th) 2002-01-24
TH19831B true TH19831B (th) 2006-04-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US3298808A (en) Concentric foraminous shaping means for tubes or bars
GB1459108A (en) Cooling a moving strand of hot material
CN105415551A (zh) 基于烟囱效应的吹塑薄膜内外气流协同冷却方法及装置
TH19831B (th) วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง
TH49118A (th) วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง
CN207659971U (zh) 一种低温抗裂大体积砼浇筑用施工装置
US8097195B2 (en) Method for energy usage when cooling extrusion profiles
US6652257B2 (en) Apparatus for producing ceramic moldings
JP2012507422A (ja) セラミック前駆体押出成形バッチのデュアルループ制御
JP2007512157A (ja) 冷却プラグの真空制御及び温度制御を用いたパイプ成形システム
CN212733611U (zh) 一种铝材挤压用温度调控装置
TH23411B (th) วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง
TH63557A (th) วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง
CN104743776A (zh) 浮法平板玻璃的制造方法
JPS63190727A (ja) ガラス製品を製造する方法
CN210082376U (zh) 一种用于熔体定径风干的设备
CN207273820U (zh) 一种玩具注塑模具冷却系统
TH49118B (th) วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง
CN106560309A (zh) 水冷式塑料挤出装置
CN100357203C (zh) 控制玻璃模制机的冷却空气温度的方法和装置
CN204749219U (zh) 一种具有导流功能的水室
CN217044538U (zh) 一种引料装置和超大型一体化压铸模具倒料系统
CN212949120U (zh) 一种挤出专用温控装置
CN207028145U (zh) 一种用于火电换热器大管径氟塑料的定型管组件
CN218227790U (zh) 一种环保tpr材料双螺杆挤出机