TH23411B - วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง - Google Patents

วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง

Info

Publication number
TH23411B
TH23411B TH101001819A TH0101001819A TH23411B TH 23411 B TH23411 B TH 23411B TH 101001819 A TH101001819 A TH 101001819A TH 0101001819 A TH0101001819 A TH 0101001819A TH 23411 B TH23411 B TH 23411B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
extrusion
continuous
following
value
air
Prior art date
Application number
TH101001819A
Other languages
English (en)
Other versions
TH63557A (th
Inventor
เอคเคอร์ ฟรีดริช
ซีเคลี สเตฟาน
Original Assignee
ดรพูนเดช ไกรฤทธิ์
นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์
นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ ดรพูนเดช ไกรฤทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by ดรพูนเดช ไกรฤทธิ์, นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์, นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ ดรพูนเดช ไกรฤทธิ์ filed Critical ดรพูนเดช ไกรฤทธิ์
Publication of TH63557A publication Critical patent/TH63557A/th
Publication of TH23411B publication Critical patent/TH23411B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการสำหรับการผลิตชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) ขึ้นจากการสารละลายอัดรีดที่ควรประกอบด้วยน้ำ เซลลูโลส และทอร์ทิอะริอะมีน- ออกไซด์ สารละลายอัดรีดดังกล่าวถูกอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีด (10) เพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อ ขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง ชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องดังกล่าวจะเคลื่อนที่ผ่านช่องอากาศ (12) ที่มีการดึง ในการเพิ่มความทนทานของวงและเพื่อลดแนวโน้มในการเกิดเส้นใยเล็ก นั้น การเร่งเฉลี่ย และ/หรือ ความหนาแน่นการไหลของความร้อนเฉลี่ยถูกควบคุมตามการ ประดิษฐ์ให้เป็นไปตามสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้า การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการสำหรับการผลิตชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) ขึ้นจากการสารละลายอัดรีดที่ควรประกอบด้วยน้ำ เซลลูโลส และทอร์ทิอะริอะมีน- ออกไซด์ สารละลายอัดรีดดังกล่าวถูกอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีด (10) เพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อ ขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง ชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องดังกล่าวจะเคลื่อนที่ผ่านช่องอากาศ (12) ที่มีการดึง ในการเพิ่มความทนทานของวงและเพื่อลดแนวโน้มในการเกิดเส้นใยเล็ก นั้น การเร่งเฉลี่ย และ/หรือ ความหนาแน่นการไหลของความร้อนเฉลี่ยถูกควบคุมตามการ ประดิษฐ์ให้เป็นไปตามสูตรที่กำหนดไว้ล่วงหน้า

Claims (7)

1. วิธีการสำหรับการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องจากการสารละลาย อัดรีด โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารละลายอัดรีดที่มีเซลลูโลส น้ำทอร์ทิอะริอะมีนออกไซด์ซึ่ง ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ - การเคลื่อนสารละลายอัดรีดผ่านท่ออัดรีดที่มีความยาวที่กำหนดไว้ล่วง หน้าที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางที่กำหนดไว้ล่วงหน้าไปจดถึงช่องท่ออัดรีด - การอัดรีดสารละลายอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรัดเพื่อให้ได้ชิ้นงานหล่อขึ้น รูปแบบต่อเนื่องที่ถูกอัดรีด - การเคลื่อนชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องผ่านช่องอากาศที่มีความสูง ของช่องอากาศที่กำหนดไว้แล้ว - การเร่งชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องในช่องอากาศ ทั้งนี้ โดยมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้ - การการควบคุมความหนาแน่นการไหลของความร้อน Q โดยเฉลี่ยตลอด ความสูงของช่องอากาศให้มีค่าดังต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ เบตา เป็นอัตราส่วนของความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของท่ออัดรีดและค่า ของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.1 เป็นอย่างน้อย 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.2 เป็นอย่างน้อย 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 0.5 เป็นอย่างน้อย 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 3 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม อัลฟา คือ 1.0 เป็นอย่างน้อย 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมอุณหภูมิ TE ของสารละลายอัดรีดให้ตอบสนองกับความ หนาแน่นการไหลของความร้อน Q 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมอุณหภูมิ TE ของอากาศที่ล้อมรอบชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบ ต่อเนื่อง (11) ในช่องอากาศ (12) ให้ตอบสนองกับความหนาแน่นการไหลของความร้อน Q 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 5 และ หรือ 6 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนดังต่อ ไปนี้ - การควบคุมคามแตกต่างของอุณหภูมิ เดลตาT = TE - TL ระหว่างอุณหภูมิ TE ของสารละลายอัดรีดของอุณหภูมิ TL ของอากาศที่ล้อมรอบชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อ เนื่อง (11) ในช่องอากาศ (12) ให้มีค่าดังต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ m คือจำนวนคราวหนึ่งของสารละลายอัดรีดผ่านช่องท่ออัดรีดเป็น g/s CE เป็นความสามารถรับความร้อนจำเพาะของสารละลายอัดรีดเป็น W/มม 3. d เป็นความหนา แน่นของช่องรูต่างๆ ที่อยู่ในแผ่นเหล็กแม่พิมพ์ในหนึ่งช่องต่อตารางมิลลิเมตร และ H เป็นความยาวของช่องอากาศเป็นมิลลิเมตร 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 7 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่า เบตา คือ 2 เป็นอย่างน้อย 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 8 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่า เบตา ไม่มากกว่า 150 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่า B ไม่มากกว่า 100 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 5 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ อุณหภูมิ TL ถูกควบคุมให้อยู่ในอุณหภูมิ TE ซึ่งถูกรักษาให้คงที่โดยตลอด 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 5 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ อุณหภูมิ TE ถูกควบคุมให้อยู่ในอุณหภูมิ TL ซึ่งถูกรักษาให้คงที่โดยตลอด 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือความ สามารถรับความร้อนจำเพาะ CE ของสารละลายอัดรีดนั้นอยู่ที่ 2.1 J (g K) เป็นอย่างน้อย 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือความ สามารถรับความร้อนจำเพาะ CE ของสารละลายอัดรีดนั้นไม่มากกว่า 2.9 J(g K) 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - การควบคุมการเร่งของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) โดยเฉลี่ย ตลอดความสูงของช่องอากาศ (H) เพื่อทำให้ได้ค่าดังต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ เบตา เป็นอัตราส่วนของความยาว (L) ต่อเส้นผ่านศูนย์กลาง (D) ของท่ออัด รีด (8) และค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เดลตา คือ 0.3 เป็นอย่างน้อย 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เอลตา คือ 0.6 เป็นอย่างน้อย 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 16 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เอลตา คือ 1.5 เป็นอย่างน้อย 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 17 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือค่าของพารามิเตอร์ควบคุม เอลตา คือ 2.2 เป็นอย่างน้อย 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมี ขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการอัดรีด VE ของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) ผ่านช่องท่ออัดรีด (10) ให้ตอบสนองต่อการเร่ง (สูตร) 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ถึง 19 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมี ขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การลำเลียงชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องและถูกอัดรีด (11) โดยไม่มี ความเค้นจากแรงดึงแต่อย่างใดไปบนวิถีทางลำเลียง (20) ที่ถูกจัดว่างต่อจากช่องอากาศ (12) หรือต่อจากเขตน้ำยาทำให้เกิดการเกาะติด (14) ไปยังกลไกดึงออก (15) 2
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 20 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการลำเลียงของวิถีทางลำเลียง (20) ให้ตอบสนอง ต่อการเร่งเฉลี่ย (สูตร) 2
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ถึง 21 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้น ตอนดังต่อไปนี้ - การดึงชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องและถูกอัดรีด (11) หลังจาก เคลื่อนที่ผ่านช่องอากาศ (12) ด้วยกลไกลดึงออก (15) ที่ความเร็วดึงออก VA 2
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 22 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วดึงออก VA ของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อ เนื่อง (11) ด้วยกลไกดึงออก (15) ให้ตอบสนองต่อการเร่ง (สูตร) 2
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ถึง 23 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้น ตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมความเร็วการอัดรีด VE ของชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) ที่ผ่านช่องท่ออัดรีด (10) และ/หรือ ความเร็วดึงออก VA ที่ชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อ เนื่อง (11) ถูกดึงออกด้วยกลไกดึงออก (15) ตามสูตรดังต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ H คือความสูงของช่องอากาศ และ แกมมา คือตัวแปรตรวจแก้ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 7 ถึง 7.4 2
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 24 ซึ่งมีลักษณะพิเศษของตัวแปรตรวจแก้ แกมมา อยู่ที่ประมาณ 7.2 2
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 15 ถึง 25 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้น ตอนดังต่อไปนี้ - การดึงชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องและถูกอัดรีดหลังจากที่ออกจาก ช่องท่ออัดรีดในช่องอากาศ (12) โดยการไหลของอากาศในทิศทางการอัดรีดล้อมรอบชิ้น งานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่องและถูกอัดรีด ที่ซึ่งความเร็วการไหลของอากาศ (13) นั้นมาก กว่าความเร็วการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง (11) 2
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 26 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ - การควบคุมซึ่งความเร็วการไหลของอากาศ (13) ให้ตอบสนองต่อการ เร่งเฉลี่ย (สูตร) และ/หรือความหนาแน่นการไหลของความร้อนเฉลี่ย Q ในช่องอากาศ (12)
TH101001819A 2001-05-11 วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง TH23411B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH63557A TH63557A (th) 2004-08-27
TH23411B true TH23411B (th) 2008-03-11

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
SU843715A3 (ru) Способ изготовлени профил изпОлиВиНилХлОРидА
US3402682A (en) Die-head for producing hollow particles
JP2020519447A5 (th)
CN111774428B (zh) 一种高强铝合金空心导轨型材的制备方法
WO2007066510A1 (ja) 押出し中空形材、その成形装置及び成形方法
JPS5832518A (ja) 押出型材の製造方法
TH23411B (th) วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง
TH63557A (th) วิธีการสำหรับอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง
CA1058366A (en) Process and apparatus for extruding thermoplastic material
US3647346A (en) Extrusion die with adjustable dams
CA2409836C (en) Method of extruding a continuous moulding
KR101952550B1 (ko) 알루미늄 파이프 압출 금형장치
CN1464921A (zh) 用于挤出连续成形体的方法
TH49118A (th) วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง
TH19831B (th) วิธีการอัดรีดชิ้นงานหล่อขึ้นรูปต่อเนื่อง
CN207564931U (zh) 一种pvc型材冷却定型台
JPS6254650B2 (th)
SU835802A1 (ru) Экструзионна головка дл полимерныхМАТЕРиАлОВ
RU2266820C1 (ru) Двухканальная экструзионная головка для изготовления полимерного строительного наличника
KR101320284B1 (ko) 합성목재 가공장치
RU89019U1 (ru) Фильера для формования изделий из полимерных материалов
RU214600U1 (ru) Фильера для формования полимерных композиций
CN108943645B (zh) 一种挤出模头内挡幅宽调节结构
SU1593967A1 (ru) Протекторна головка черв чного пресса
SU466119A1 (ru) Экструзионна головка