TH18643B - รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเอง - Google Patents

รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเอง

Info

Publication number
TH18643B
TH18643B TH101000079A TH0101000079A TH18643B TH 18643 B TH18643 B TH 18643B TH 101000079 A TH101000079 A TH 101000079A TH 0101000079 A TH0101000079 A TH 0101000079A TH 18643 B TH18643 B TH 18643B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
seat
standing
gas spring
handle
sitting
Prior art date
Application number
TH101000079A
Other languages
English (en)
Other versions
TH48617A (th
Inventor
ชวศิริ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงศรีนวล
ชวศิริ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ชลเวช
คงเกียรติไพบูลย์ อาจารย์วิชาญ
บุญพาไสว อาจารย์สมนึก
Original Assignee
นายมงคล แก้วมหา
Filing date
Publication date
Application filed by นายมงคล แก้วมหา filed Critical นายมงคล แก้วมหา
Publication of TH48617A publication Critical patent/TH48617A/th
Publication of TH18643B publication Critical patent/TH18643B/th

Links

Abstract

DC60 (28/01/48) รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเองนี้ เป็นงานประดิษฐ์ที่สามารถใช้ได้กับ ผู้ป่วยอัมพาตประเภทต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยใช้แก๊สสปริง 4,5 สองตัวที่มีแรงดันไม่เท่ากันประกอบเข้า กับสามเหลี่ยมต่อโยง 6 เป็นระบบต้นกำลังแล้วนำไปติดตั้งระหว่างที่นั่ง 1 กับโครงรถ 10 ที่ประกอบ กันเป็นกลไกต่อโยง 4 ชิ้น ด้วยการติดตั้งในแหน่งที่เหมาะสมกับน้ำหนักตัวของผู้ป่วย จะช่วยให้ การเปลี่ยนตำแหน่งจากท่านั่งเป็นท่ายืนและจากท่ายืนเป็นท่านั่งทำได้โดยสะดวกโดยที่ผู้ป่วยไม่ จำเป็นต้องมีกำลังแขนที่ดีมากพอที่จะผลักดันตัวเองขึ้นเอาชนะ 30 องศาแรกของการลุกขึ้นยืน นอกจากนั้นด้ามจับ 8,8 ยังสามารถปรับตำแหน่งได้โดยอิสระให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนตำแหน่งของที่นั่ง 1 ทำให้สามารถปรับด้ามจับ 8,8 ให้เกิดความได้เปรียบในการ เหยียดข้อศอก โดยใช้พิสัยต้น ๆ ของการเหยียดข้อศอกซึ่งใช้แรงน้อยกว่า การเลื่อนตำแหน่งที่พักเท้า 14 โดยอาศัยตัวต่อโยง 15 ทำให้การถ่ายน้ำหนักตัวผ่านเท้าไปที่ พื้นทำได้เร็วขึ้นเป็นผลให้การลุกขึ้นยืนและนั่งลงทำได้ง่ายขึ้น รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเองนี้ เป็นงานประดิษฐ์ที่สามารถใช้ได้กับ ผู้ป่วยอัมพาตประเภทต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยใช้แก๊สสปริง 4,5 สองตัวที่มีแรงดันไม่เท่ากันประกอบเข้า กับสามเหลี่ยมต่อโยง 6 เป็นระบบต้นกำลังแล้วนำไปติดตั้งระหว่างที่นั่ง 1 กับโครงรถ 10 ที่ประกอบ กันเป็นกลไกต่อโยง 4 ชิ้น ด้วยการติดตั้งในแหน่งที่เหมาะสมกับน้ำหนักตัวของผู้ป่วย จะช่วยให้ การเปลี่ยนตำแหน่งจากท่านั่งเป็นท่ายืนและจากท่ายืนเป็นท่านั่งทำได้โดยสะดวกโดยที่ผู้ป่วยไม่ จำเป็นต้องมีกำลังแขนที่ดีมากพอที่จะผลักดันตัวเองขึ้นเอาชนะ 30 องศาแรกของการลุกยืนขึ้น นอกจากนั้นด้ามจับ 8,8 ยังสามารถปรับตำแหน่งได้โดยอิสระให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนตำแหน่งของที่นั่ง 1 ทำให้สามารถปรับด้ามจับ 8,8 ให้เกิดความได้เปรียบในการ เหยียดข้อศอก โดยใช้พิสัยต้น ๆ ของการเหยียดข้อศอกซึ่งใช้แรงน้อยกว่า การเลื่อนตำแหน่งที่พักเท้า 14 โดยอาศัยตัวต่อโยง 15 ทำให้การถ่ายน้ำหนักตัวผ่านเท้าไปที่ พื้นทำได้เร็วขึ้นเป็นผลให้การลุกขึ้นยืนและนั่งลงทำได้ง่ายขึ้น

Claims (1)

1. รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเองมีลักษณะที่ประกอบด้วย ส่วนของรถเข็น นั่งคนพิการ และส่วนของอุปกรณ์ปรับยืน ส่วนของรถเข็นนั่งคนพิการประกอบด้วยโครงรถ(10) ที่นั่ง(1) ชิ้นต่อโยง(3) ประกอบกันเป็น กลไก 4 ชิ้น พนักพิง(2) ยึดติดกับชิ้นต่อโยง(3) ในลักษณะที่เมื่อที่นั่ง(1) เปลี่ยนตำแหน่งจากนั่งเป็น ยืน มุมที่พนักพิง(2) ทำกับที่นั่ง(1) จะเปลี่ยนจาก 90 องศา เป็น 180 องศา ที่พักเท้า(14) ประกอบเข้า กับโครงรถ(10) ในลักษณะที่สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ตามแกน(20) ที่เป็นส่วนประกอบของโครงรถ(10) และที่พักเท้า(14) ถูกต่อโยงเข้ากับที่นั่ง(1) ด้วยตัวต่อโยง(15) ทำให้การเคลื่อนที่ขึ้นลงของที่พักเท้า( 14) ตามแกน(20) ที่เป็นส่วนประกอบของโครงรถ(10) ถูกควบคุมด้วยการเคลื่อนที่ขอวที่นั่ง(1) ผ่าน ตัวต่อโยง(15) ส่วนของอุปกรณ์ปรับยืน ประกอบด้วยระบบต้นกำลังสำหรับการปรับตำแหน่งจากที่นั่งเป็นยืนที่ ติดตั้งอยู่ระหว่างที่นั่ง(1) และโครงรถ(10) โดยระบบต้นกำลังประกอบด้วยสามเหลี่ยมต่อโยง(6) และ แก็สสปริงสองตัวคือแก็สสปริง(4) และแก็สสปริง(5) เบรกมือ(7,7\') สำหรับควบคุมการทำงานของ แก็สสปริง(4,5) ติดตั้งอยู่กับด้ามจับ(8,8\') ด้ามจับ(8,8\') ติดตั้งอยู่กับที่นั่ง(1) รถเข็งนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเองมีลักษณะเฉพาะคือ 1.1 ระบบต้นกำลังสำหรับการปรับตำแหน่งจากนั่งเป็นยืน ประกอบด้วยสามเหลี่ยมต่อโยง (6) และแก็สสปริงที่สามารถล็อกตำแหน่งได้สองตัวคือแก็สสปริง(4) และแก็สสปริง(5) สามเหลี่ยมต่อโยง( 6) เป็นแผ่นเหล็กรูปสามเหลี่ยมสองแผ่นที่มีขนาดและตำแหน่งเจาะรูเหมือนกันทุกประการถูกยึดให้ ขนานกันด้วยสลัก รูทางด้านมุมแหลม(เล็กที่สุด) ยึดเข้ากับที่นั่ง(1) โดยที่สามเหลี่ยมต่อโยง(6) สามารถหมุนรอบจุดยึดได้คล่อง ปลายด้านหนึ่งของแก็สสปริง(4) ยึดเข้ากับสามเหลี่ยมต่อโยง(6) ส่วน ปลายอีกด้านหนึ่งยึดเข้ากับที่นั่ง(1) ปลายแต่ละด้านของแก็สสปริง(4) สามารถหมุนรอบจุดยึดได้คล่อง ปลายด้านหนึ่งของแก็สสปริง(5) ยึดเข้ากับโครงรถ(10) ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งยึดเข้ากับสามเหลี่ยมต่อ โยง(6) ในตำแหน่งรูที่เหมาะสมกับช่วงน้ำหนักตัวของผู้ป่วย ปลายแต่ละด้านของแก็สสปริง(5) สามารถหมุนรอบจุดยึดได้คล่อง 1.2 ตัวต่อโยง(15) ที่ต่อโยงระหว่างที่พักเท้า(14) กับที่นั่ง(1) ประกอบด้วยทรงกระบอกสอง อันสวมกันและสามารถเลื่อนไถลได้ในระยะที่จำกัด เมื่อเลื่อนไถลจนสุดระยะ(ยาวที่สุด)ทรงกระบอกทั้ง สองจะถูกล็อกไว้ไม้ให้หลุดจากกัน ปลายด้านหนึ่งของตัวต่อโยง(15) ยึดติดกับที่นั่ง(1) ปลายอีกด้าน หนึ่งของตัวต่อโยง(15) ยึดติดกับที่พักเท้า(14) ตัวต่อโยง(15) สามารถหมุนรอบจุยืดแต่ละจุดได้คล่อง การทำงานของตัวต่อโยง(15) ทำให้ที่พักเท้า(14) สามารถสัมผัสพื้นได้เร็วเมื่อที่นั่ง(1) ปรับตำแหน่งทำ มุมกับโครงรถ(10)ประมาณ 30 -45 องศา เป็นผลทำให้น้ำหนักตัวส่วนใหญ่ถ่ายโอนไปที่พื้น การปรับขึ้น ยืนทำได้ง่ายและดูมั่นคง และจากเทคนิคการควบคุมแก็สสปริงให้ทำงานทีละตัว(ดังอธิบายไว้ในวิธีการ ปรับตำแหน่งจากยืนเป็นนั่ง) ร่วมกับการทำงานของตัวต่อโยง(15) ทำให้การปรับจากยืนเป็นนั่งทำได้ ง่ายเช่นเดี๋ยวกัน
1.3 ด้ามจับ (8,8\') มีกลไกล็อกให้อยู่กับที่ซึ่งควบคุมการปลดล็อกด้วยปุ่ม (9,9\') ที่ปลายด้ามจับ (8,8\') สามารถปรับตำแหน่งได้โดยอิสระให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนตำแหน่ง ของที่นั่ง 1 ทำให้สามารถปรับด้ามจับ (8,8\') ให้เกิดความได้เปรียบในการเหยียดศอก
TH101000079A 2001-01-09 รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเอง TH18643B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH48617A TH48617A (th) 2001-12-07
TH18643B true TH18643B (th) 2005-06-13

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5054852A (en) Utility station with controlled seating
US6389619B1 (en) Invalid lifting device
US8151812B2 (en) Sit down and stand up walker with seat assembly
JP5563570B2 (ja) 移乗・移動装置
US4918771A (en) Patient lifting and hoist therefor
EP1912608B1 (en) Stair chair with an adjustable glide track resistance and braking device
JPS58165847A (ja) 車いす
US20070278761A1 (en) Wheelchair with elevating seat
AU2013337529A1 (en) Mobility system including an exoskeleton assembly releasably supported on a wheeled base
TWI589287B (zh) Moving car
US20210205158A1 (en) Elevating walker chair and components
JP2001321404A (ja) 歩行器兼用車椅子
US4690133A (en) Inversion apparatus
US4890606A (en) User controlled device for decompressing the spine
US11491061B2 (en) Transfer device
US5002043A (en) Inversion apparatus
JP2002065766A (ja) 手動式スタンドアップリフト
GB2381742A (en) Multi-functional adjustable wheeled chair
TH18643B (th) รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเอง
CN114652548A (zh) 一种微变人体姿势的移乘装置
JP4321851B2 (ja) サドル着脱昇降式歩行車
TH48617A (th) รถเข็นนั่งคนพิการที่สามารถปรับยืนได้ด้วยตนเอง
US5524658A (en) Sit to stand hinged seat walker with pull-up handle
SE519276C2 (sv) Aktivitetsstol med inställbart benstöd för personer med rörelsehinder
GB2369566A (en) Support seat for the disabled