TH18249C3 - กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบา - Google Patents

กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบา

Info

Publication number
TH18249C3
TH18249C3 TH1903000211U TH1903000211U TH18249C3 TH 18249 C3 TH18249 C3 TH 18249C3 TH 1903000211 U TH1903000211 U TH 1903000211U TH 1903000211 U TH1903000211 U TH 1903000211U TH 18249 C3 TH18249 C3 TH 18249C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
yogurt
probiotic microorganisms
milk
temperature
containing gaba
Prior art date
Application number
TH1903000211U
Other languages
English (en)
Other versions
TH18249A3 (th
Inventor
ดรชลัทศานติวรางคณา
นางสาวกัญญาวีหวานเมฆ
Original Assignee
มหาวิทยาลัยมหิดล
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องค์การมหาชน)
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยมหิดล, สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องค์การมหาชน) filed Critical มหาวิทยาลัยมหิดล
Publication of TH18249C3 publication Critical patent/TH18249C3/th
Publication of TH18249A3 publication Critical patent/TH18249A3/th

Links

Abstract

บทสรุปการประดิษฐ์ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณาReadFile: หน้า1ของจำนวน1หน้าบทสรุปการประดิษฐ์ กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาประกอบด้วยขั้นตอนการเตรียมเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกการเตรียมนมและการหมักโดยการนำหัวเชื้อโยเกิร์ตประกอบด้วยเชื้อสเตร็ปโตค็อคคัสเทอร์โมฟิลัส(Streptococcusthermophilus)และเชื้อแล็กโทบาซิลลัสบัลการิคัส(Lactobacillusbularicus)ทั้งสองชนิดที่มีจำหน่ายทางการค้ามาหมักร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเพื่อให้ได้โพรไบโอติกโยเกิร์ตที่มีสารกาบาเพื่อให้ได้โพรไบโอติกโยเกิร์ตที่มีสารกาบาสูงมีรสชาติเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคมีอายุการเก็บรักษาที่เหมาะสมและสามารถพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กระบวนการหมักด้วยหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมด้วยจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีความสามารถในการผลิตสารกาบาทำให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์จากนํ้านมโคใหม่ขึ้นมาโดยเพิ่มคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ช่วยสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหรืออาหารฟังก์ชันนอล(Functionalfoods)เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ให้ผู้บริโภคมากขึ้น

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์(ทั้งหมด)ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา:------27/08/2562------(OCR)หน้า1ของจำนวน1หน้าข้อถือสิทธิ
1.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาประกอบด้วยขั้นตอนด้งนี้ก.การเตรียมเชื้อจุลินทรีย์พรีไบโอติกนำเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเอ็มอาร์เอส(MRSbroth)เป็นเวลา18-20ชั่วโมงและต่อเชื้ออีกครั้งในอาหารเลี้ยงเชื้อเอ็มอาร์เอส(MRSbroth)เป็นเวลา18-20ชั่วโมงมาปั่นเหวี่ยงแยกเซลล์จุลินทรีย์ที่ความเร็วรอบ4,500-5,000รอบต่อนาทีที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา5-10นาทีล้างตะกอนเซลล์ด้วยน้ำที่ผ่านการกำจัดไอออน(Deionizedwater;Dlwater)แล้วนำมาปั่นเหวี่ยงแยกเซลล์จุลินทรีย์อีก1-2ครั้งเก็บตะกอนเซลล์ไว้เพื่อเติมลงไปในตัวอย่างนมข.การเตรียมนมนำนมพาสเจอร์ไรส์(pasteurizedmilk)มาต้มจนถึงอุณหภูมิ65-75องศาเซลเซียสผสมกับนมผงขาดมันเนย(skimmilkpowder)เพื่อให้ได้ปริมาณของแข็งร้อยละ10-15แล้วผสมกับน้ำตาลทรายร้อยละ1-8นำนมไปพาสเจอไรส์ที่อุณหภูมิ90-95องศาเซลเซียสเป็นเวลา5-10นาทีแล้วทำให้อุณหภูมิลดลงจนถึงอุณหภูมิ50-60องศาเซลเซียสนำไปโฮโมจิไนส์ด้วยเครื่องโฮโมจีไนซ์เซอร์ที่10-25เมกะปาสกาลเป็นเวลา3-5นาทีและทำให้เย็นจนได้อุณหภูมิ4-10องศาเซลเซียสค.การหมักนำนมพาสเจอร์ไรส์(pasteurizedmilk)ที่เตรียมไว้จากขั้นตอนข.มาเติมหัวเชื้อโยเกิร์ต(Starterculture)ผสมกับเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่เตรียมไว้จากขั้นตอนก.ร้อยละ2-5ของปริมาตรนำไปบ่มที่อุณหภูมิ40-45องศาเซลเซียสเป็นเวลา6-10ชั่วโมง
2.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเลือกได้จากเชื้อแล็กโทบาซิลลัสเพนโทซัส(Lactobacilluspentosus)หรือเชื้อแล็กโทบาซิลลัสแพลนทารัม(Lactobacillusplantarum)ที่ดีที่สุดคือเชื้อแล็กโทบาซิลลัสเพนโทซัส(Lactobacilluspentosus)
3.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1หรือ2ที่ซึ่งนมพาสเจอร์ไรส์เลือกได้จากนมไขมันเต็มส่วนหรือนมไขมันร้อยละ3หรือนมไขมันร้อยละ0อย่างใดอย่างหนึ่ง
4.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง3ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งหัวเชื้อโยเกิร์ต(Starterculture)เลือกได้จากเชื้อสเตรปโตค็อคคัสเทอร์โมฟิลัส(Streptococcusthermophilus)เชื้อแล็กโทบาซิลลัสบัลการิคัส(Lactobacillusbulgaricus)อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองชนิดรวมกัน
5.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง4ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งจุลินทรีย์โพรไบโอติกมีปริมาณเชื้อ106-108ซีเอฟยูต่อกรัม(CFU/g)
6. .กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง5ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งประกอบเพิ่มเติมด้วยแยมผลไม้หรือน้ำผลไม้ร้อยละ5-20ของปริมาตร------------แก้ไข21/03/2562ไม่มีข้อถือสิทธิ ------------------------------------------------------------------------------------- หน้า1ของจำนวน2หน้าข้อถือสิทธิ
1.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ ก.การเตรียมเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกนำเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเอ็มอาร์เอส(MRSbroth)บ่มในอุณหภูมิที่เหมาะสมและต่อเชื้ออีกครั้งในอาหารเลี้ยงเชื้อเอ็มอาร์เอส(MRSbroth)บ่มในอุณหภูมิที่เหมาะสมมาปั่นเหวี่ยงแยกเซลล์จุลินทรีย์ล้างตะกอนเซลล์ด้วยน้ำที่ผ่านการกำจัดไอออน(Deionizedwater;Dlwater)แล้วนำมาปั่นเหวี่ยงแยกเซลล์จุลินทรีย์เก็บตะกอนเซลล์ไว้เพื่อเติมลงไปในตัวอย่างนม ข.การเตรียมนมนำนมพาสเจอรีไรส์(pasteurizedmilk)ผสมกับนมผงขาดมันเนย(skimmilkpowder)เพื่อให้ได้ปริมาณของแข็งและน้ำตาลทรายนำนมไปพาสเจอไรส์แล้วทำให้อุณหภูมิลดลงนำไปโฮโมจิไนส์ด้วยเครื่องโฮโมจีไนซ์เซอร์และทำให้เย็น ค.การหมักนำนมพาสเจอรีไรส์(pasteurizedmilk)ที่เตรียมไว้จากขั้นตอนข.มาเติมหัวเชื้อโยเกิร์ต(Starterculture)ผสมกับเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่เตรียมไว้จากขั้นตอนก.นำไปบ่ม
2.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเลือกได้จากเชื้อแล็กโทบาซิลลัสเพนโทซัส(Lactobacilluspentosus)หรือเชื้อแล็กโทบาซิลลัสแพลนทารัม(Lactobacillusplantarum)ที่ดีที่สุดคือเชื้อแล็กโทบาซิลลัสเพนโทซัส(Lactobacilluspentosus)
3.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1หรือ2ที่ซึ่งการเตรียมเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกจากขั้นตอนก.นำเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเอ็มอาร์เอส(MRSbroth)บ่มในอุณหภูมิที่เหมาะสมเป็นเวลา18-20ชั่วโมงแล้วนำมาปั่นเหวี่ยงแยกเซลล์จุลินทรีย์ที่ความเร็วรอบ4,500-5,000รอบต่อนาทีที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา5-10นาที
4.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง3ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งนมพาสเจอร์ไรส์เลือกได้จากนมไขมันเต็มส่วนหรือนมไขมันร้อยละ3หรือนมไขมันร้อยละ0อย่างใดอย่างหนึ่ง
5.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง4ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งการเตรียมนมจากขั้นตอนข.นำนมพาสเจอร์ไรส์(pasteurizedmilk)ผสมกับนมผงขาดมันเนย(skimmilkpowder)เพื่อให้ได้ปริมาณของแข็งร้อยละ10-15แล้วผสมกับน้ำตาลทรายร้อยละ1-8
6.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง5ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งนำนมไปพาสเจอไรส์ที่อุณหภูมิ90-95องศาเซลเซียสเป็นเวลา5-10นาทีแล้วทำให้อุณหภูมิลดลงจนถึงอุณหภูมิ50-60องศาเซลเซียสนำไปโฮโมจิไนส์ด้วยเครื่องโฮโมจีไนซ์เซอร์ที่10-25เมกะปาสกาลเป็นเวลา3-5นาทีและทำให้เย็นจบได้อุณหภูมิ4-10องศาเซลเซียส
7.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง6ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งหัวเชื้อโยเกิร์ต(Starterculture)เลือกได้จากเชื้อสเตรปโตค็อคคัสเทอรีโมฟิลัส หน้า2ของจำนวน2หน้า(Streptococcusthermophiius)เชื้อแล็กโทบาซิลลัสบัลการิคัส(Lactobacillusbutgaricus)อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองชนิดรวมกัน
8.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถืง7ข้อใดข้อหนึ่งที่ซี่งจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่สามารถผลิตสารกาบาโดยมีปริมาณเชื้อ106-108ซีเอฟยูต่อกรัม(CFU/g)
9. .กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง8ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งการหมักจากขั้นตอนค.นำนมที่เตรียมไว้จากขั้นตอนข.มาเติมหัวเชื้อโยเกิร์ต(Starterculture)ผสมกับเชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่เตรียมไว้จากขั้นตอนก.นำไปบ่มที่อุณหภูมิ40-45องศาเซลเซียสเป็นเวลา6-10ชั่วโมงจะมีค่าความเป็นกรด-ด่าง(pH)2.5-5.01
0.กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบาตามข้อถือสิทธิ1ถึง9ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งประกอบเพิ่มเติมด้วยแยมผลไม้หรือน้ำผลไม้ร้อยละ5-20ของปริมาตร
TH1903000211U 2019-01-29 กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบา TH18249A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH18249C3 true TH18249C3 (th) 2021-09-06
TH18249A3 TH18249A3 (th) 2021-09-06

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Tamime et al. Production and maintenance of viability of probiotic microorganisms in dairy products
AU2015276091B2 (en) Method of producing a fermented milk product with improved control of post acidification
EP1901612B1 (fr) Produits alimentaires fermentes contenant des souches probiotiques, et leur procede de preparation
KR20120049212A (ko) 발효 낙농제품의 제조방법
WO2014192905A1 (ja) 酸度上昇が抑制された発酵乳およびその製造方法
JP6504878B2 (ja) 発酵乳の製造方法
CN102573502A (zh) 基于酸乳清的可饮用酸化乳制品及其制作方法
FI3821712T3 (fi) Parannetulla menetelmällä saatu hapatettu maitotuote
EP3393257A1 (en) Use of a lactase for improving the preparation of a strained fermented dairy product
US20050220964A1 (en) Process for preparing low-calorie drinks and the low-calorie beverages resulting therefrom
US20200323227A1 (en) Fermented dairy compositions and methods of preparing the same
JP2018134023A (ja) 低酸味発酵乳の製造方法
EP2605669B1 (en) Method for improving the survival rate of probiotic
WO2018151249A1 (ja) 低酸味発酵乳の製造方法
RU2422024C1 (ru) Способ получения кисломолочного напитка с бифидогенным концентратом
JP7232177B2 (ja) 乳酸菌スターター及び発酵乳の製造方法
JP7085303B2 (ja) 発酵乳の製造方法
JP6709683B2 (ja) 濃縮発酵乳の製造方法
TH18249C3 (th) กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบา
JP2022534097A (ja) 増強されたレベルのプロバイオティクスを有する発酵乳製品を製造するためのプロセス
JP2010051268A (ja) 乳発酵食品の製法およびそれにより得られた乳発酵食品
RU2141766C1 (ru) Кисломолочный продукт "нарине" для приготовления десерта в замороженном виде
CN104472706A (zh) 一种马蹄口味益生菌酸奶生产工艺
AU2020103508A4 (en) Probiotic Blend
TH18249A3 (th) กรรมวิธีการผลิตโยเกิร์ตจากหัวเชื้อโยเกิร์ตร่วมกับจุลินทรีย์โพรไบโอติกที่มีสารกาบา