TH18033C3 - กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้ง - Google Patents

กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้ง

Info

Publication number
TH18033C3
TH18033C3 TH1903002053U TH1903002053U TH18033C3 TH 18033 C3 TH18033 C3 TH 18033C3 TH 1903002053 U TH1903002053 U TH 1903002053U TH 1903002053 U TH1903002053 U TH 1903002053U TH 18033 C3 TH18033 C3 TH 18033C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
phycocyanin
extraction
dried
spirulina
antioxidant activity
Prior art date
Application number
TH1903002053U
Other languages
English (en)
Other versions
TH18033A3 (th
Inventor
นายมณชัยเดชสังกรานนท์
นายสาโรจน์ศิริศันสนียกุล
Original Assignee
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ filed Critical มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Publication of TH18033C3 publication Critical patent/TH18033C3/th
Publication of TH18033A3 publication Critical patent/TH18033A3/th

Links

Abstract

บทสรุปการประดิษฐ์ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณาReadFile:------20/08/2563------(OCR)กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งประกอบด้วยขั้นตอนการเตรียมสาหร่ายแห้งขั้นตอนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติและขั้นตอนการสกัดซี-ไฟโคไซยานินหยาบโดยควบคุมอุณหภูมิความดันโหมดการสกัดและระยะเวลาในการสกัดในขั้นตอนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติเพื่อเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไชยานินให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้นการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไชยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งเพื่อให้ได้พัฒนากรรมวิธีการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งสูงสุดทั้งนี้เพื่อนำเซลล์สาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งที่ผ่านการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติไปใช้ผลิตเป็นอาหารเสริมสุขภาพสำหรับมนุษย์และใช้ในการสกัดสารสีซี-ไฟโคไซยานินเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเภสัชและอุตสาหกรรมยา------------หน้า1ของจำนวน1หน้าบทสรุปการประดิษฐ์กรรมวิธีการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งประกอบด้วยขั้นตอนการเตรียมสาหร่ายแห้งขั้นตอนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติและขั้นตอนการสกัดซี-ไฟโคไซยานินหยาบโดยควบคุมอุณหภูมิความดันโหมดการสกัดและระยะเวลาในการสกัดในขั้นตอนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติเพื่อเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินให้อยู่ในระดับที่สูงขั้นการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งเพื่อให้ได้พัฒนากรรมวิธีการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งสูงสุดทั้งนี้เพื่อนำเซลล์สาหร่ายสไปรุลิน่าแห้งที่ผ่านการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติไปใช้ผลิตเป็นอาหารเสริมสุขภาพสำหรับมนุษยและใช้ในการสกัดสารสีซี-ไฟโคไซยานินเพื่อการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารเภสัชและอุตสาหกรรมยา

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์(ทั้งหมด)ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา:------20/08/2563------(OCR) 1.กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ก.นำเซลล์สาหร่ายสไปรูลิน่าเปียกไปอบแห้งด้วยเครื่องทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง(freeze-drier)ที่อุณหภูมิ-40องศาเซลเซียสจนมีความชื้น8-10เปอร์เซ็นต์และค่าวอเตอร์แอกติวิตี้0.3-0.4จากนั้นนำสาหร่ายแห้งที่ได้ไปบดให้เป็นผงละเอียดแล้วร่อนผ่านตะแกรงขนาด140meshข.นำสาหร่ายแห้งที่ได้จากข้อก.ไปผ่านกระบวนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติโดยควบคุมอุณหภูมิในระหว่างการสกัดให้อยู่ในช่วง40-60องศาเซลเซียสความดันในระหว่างการสกัด3500-5500psiโดยกำหนดโหมดในการสกัดเป็นแบบการสกัดแบบสถิตย์(staticmode)การสกัดแบบจลน์(dynamicmodeและสามารถใช้การสกัดทั้งสอง(conjugatedmode)กำหนดระยะเวลาตลอดช่วงการสกัด60-240นาทีเมื่อสิ้นสุดนำเซลล์สาหร่ายแห้งที่ผ่านกระบวนการสกัดภายใต้สภาวะที่กล่าวมาในข้างต้นบรรจุลงในถุงอะลูมินัมฟอยล์เละปิดผนึกภายใต้สภาวะสุญญากาศค.ชั่งสาหร่ายแห้งที่ได้จากข้อข.ในอัตราส่วนระหว่างสาหร่ายแห้งต่อสารละลายบัฟเฟอร์ความเข้มข้น0.1โมลาร์ที่มีค่าพีเอชเท่ากับ7.0เท่ากับ1:100(นํ้าหนักต่อปริมาตร)ใส่ลงขวดวัดปริมาตรจากนั้นปรับปริมาตรด้วยสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ความเข้มข้น0.1โมลาร์ค่าพีเอชเท่ากับ7.0ให้เท่ากับ25มิลลิลิตรผสมให้เข้ากันซึ่งอาจนำไปใส่ในเครื่องอัลตราโซนิกเป็นเวลา15นาทีหรือไม่ใส่จากนั้นนำไปบ่มที่อุณหภูมิ37องศาเซลเซียสเป็นเวลา18ชั่วโมงในที่มืดนำไปหมุนเหวี่ยงเพื่อแยกตะกอนเซลล์นาน10นาทีที่ความเร็ว3000รอบต่อนาทีจากนั้นนำส่วนใสที่ได้มาวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น620นาโนเมตรโดยใช้สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ในขั้นต้นเป็นblankนำค่าดูดกลืนแสงที่ได้ไปคำนวณหาปริมาณซี-ไฟโคไซยานิน 2.กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งตามข้อลือสิทธิ1ที่ซึ่งสาหร่ายสไปรูลิน่า(Spirulinasp.)ที่ใช้ในการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินเลือกได้จากสาหร่ายสไปรูลิน่าพลาเทรซิส(Spirulinaplatensis)สาหร่ายสไปรูลิน่าแมกซิมา(Spirulinamaxima)สาหร่ายสไปรูลิน่า(Spirulina)อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน------------หน้า1ของจำนวน1หน้าข้อถือสิทธิ
1.กรรมวิธีการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ก.นำเซลล์สาหร่ายสไปรูลิน่าเปียกไปอบแห้งด้วยเครื่องทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง(freeze-drier)ที่อุณหภูมิ-40องศาเซลเซียสจนมีความชื้น8-10เปอร์เซ็นต์และค่าวอเตอร์แอกติวิตี้0.3-0.4จากนั้นนำสาหร่ายแห้งที่ได้ไปบดให้เป็นผงละเอียดแล้วร่อนผ่านตะแกรงขนาด140meshข.นำสาหร่ายแห้งที่ได้จากข้อก.ไปผ่านกระบวนการสกัดด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เหนือวิกฤติโดยควบคุมอุณหภูมิในระหว่างการสกัดให้อยู่ในช่วง40-60องศาเซลเซียสความดันในระหว่างการสกัด3500-5500psiโดยกำหนดโหมดในการสกัดเป็นแบบการสกัดแบบสถิตย์(staticmode)การสกัดแบบจลน์(dynamicmode)และ/หรือทั้งสองโหมดร่วมกัน(conjugatedmode)กำหนดระยะเวลาตลอดช่วงการสกัด60-240นาทีเมื่อสิ้นสุดนำเซลล์สาหร่ายแห้งที่ผ่านกระบวนการสกัดภายใต้สภาวะที่กล่าวมาในข้างต้นบรรจุลงในถุงอะลูมินัมฟอยล์และปิดผนึกภายใต้สภาวะสุญญากาศค.ชั่งสาหร่ายแห้งที่ได้จากข้อข.ในอัตราส่วนระหว่างสาหร่ายแห้งต่อสารละลายบัฟเฟอร์ความเข้มข้น0.1โมลาร์ที่มีค่าพีเอชเท่ากับ7.0เท่ากับ1:100(น้ำหนักต่อปริมาตร)ใส่ลงขวดวัดปริมาตรจากนั้นปรับปริมาตรด้วยสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ความเข้มข้น0.1โมลาร์ค่าพีเอชเท่ากับ7.0ให้เท่ากับ25มิลลิลิตรผสมให้เข้ากันซึ่งอาจนำไปใส่ในเครื่องอัลตราโซนิกเป็นเวลา15นาทีหรือไม่ใส่จากนั้นนำไปบ่มที่อุณหภูมิ37องศาเซลเซียสเป็นเวลา18ชั่วโมงในที่มืดนำไปหมุนเหวี่ยงเพื่อแยกตะกอนเซลล์นาน10นาทีที่ความเร็ว3000รอบต่อนาทีจากนั้นนำส่วนใสที่ได้มาวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น620นาโนเมตรโดยใช้สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ในขั้นต้นเป็นblankนำค่าดูดกลืนแสงทีได้ไปคำนวณหาปริมาณซี-ไฟโคไซยานินจากสูตรการคำนวณตามวิธีที่เหมาะสม
2.กรรมวิธีการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้งตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งสาหร่ายสไปรูลิน่า(Spirulinasp.)ที่ใช้ในการเพิ่มกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระซี-ไฟโคไซยานินเลือกได้จากสาหร่ายสไปรูลิน่าพลาเทรซิส(Spirulinaplatensis)สาหร่ายสไปรูลิน่าแมกซิมา(Spirulinamaxima)สาหร่ายสไปรูลิน่า(Spirulina)อย่างใดอย่างหนึ่งหรือผสมรวมกัน
TH1903002053U 2019-08-13 กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้ง TH18033A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH18033C3 true TH18033C3 (th) 2021-07-14
TH18033A3 TH18033A3 (th) 2021-07-14

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
MX168213B (es) Producto dietetico de actividad depurativa y antidiarreica y su procedimiento de preparacion
CN103918966B (zh) 一种含有雨生红球藻的组合物
CN103113975A (zh) 一种物理破壁辅助水酶法提取茶油和糖萜素的方法
Amorim et al. Effects of drying processes on antioxidant properties and chemical constituents of four tropical macroalgae suitable as functional bioproducts
CN102603908B (zh) 一种天然抗氧化剂金福菇多糖的制备方法
TH18033C3 (th) กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้ง
TH18033A3 (th) กรรมวิธีในการสกัดสารซี-ไฟโคไซยานินในสาหร่ายสไปรูลิน่าแห้ง
CN109965173A (zh) 一种从末水紫菜中提取藻红素、多糖和膳食纤维的制备方法及其应用
TWI653056B (zh) 一種高粱酒糟萃取液作為美白保養品之用途
CN101348531B (zh) 一种果胶快速分级方法
Ahmad et al. Optimisation of Microwave-assisted Encapsulation of Black Mulberry (Morus nigra) Extract.
KR20180054072A (ko) 커피 열매의 은피 추출물을 유효성분으로 함유하는 화장료 조성물
CN114668129B (zh) 一种亚麻籽仁速溶粉及其制备方法
CN105153320B (zh) 一种海带多糖的提取方法
CN114904294A (zh) 一种高得率茶黄酮的制备方法
CN107674452B (zh) 一种提取丹桂花黄色素的方法
CN107827798A (zh) 一种β‑胡萝卜素及其制备方法、应用
CN107593985A (zh) 一种野生五味子红茶及其制作方法
CN108929563A (zh) 水溶性荧光碳量子点作为色素稳定剂的应用、色素稳定剂和提高火龙果红色素稳定性的方法
Rawat et al. Effect of different processing and preservation techniques on lycopene: A mini review
JP6984086B2 (ja) 発酵海藻エキスの製造方法
RU2263138C1 (ru) Комплексная переработка плодов шиповника
Azizi et al. Optimizing the Extraction of Antioxidant Components from Grape (Vitis vinifera L.) Skin by Ultrasonic Pre-treatment.
Hortas Microwave hydrodiffusion and gravity (mhg)-extraction and characterization of compounds with antioxidant properties
KR101514053B1 (ko) 적송껍질로부터 제조된 적송주와 그의 제조방법