TH151296A - เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม - Google Patents

เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม

Info

Publication number
TH151296A
TH151296A TH1401007004A TH1401007004A TH151296A TH 151296 A TH151296 A TH 151296A TH 1401007004 A TH1401007004 A TH 1401007004A TH 1401007004 A TH1401007004 A TH 1401007004A TH 151296 A TH151296 A TH 151296A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
rocker arm
pivot
rocker
solenoid
relative
Prior art date
Application number
TH1401007004A
Other languages
English (en)
Other versions
TH1401007004B (th
TH62625B (th
Inventor
ซากาชิตะ โยเฮ
ซึกิยามะ โทโมโนริ
คิมูระ จุนอิชิ
Original Assignee
นายสัตยะพล สัจจเดชะ
นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายสัตยะพล สัจจเดชะ, นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์ filed Critical นายสัตยะพล สัจจเดชะ
Publication of TH151296A publication Critical patent/TH151296A/th
Publication of TH1401007004B publication Critical patent/TH1401007004B/th
Publication of TH62625B publication Critical patent/TH62625B/th

Links

Abstract

DC60 (30/01/58) เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) จะรวมถึงส่วนที่เป็นแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), แขน โยกอันที่สอง (64) ที่รวมถึงส่วนที่เป็นหน้าด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), วาล์วไอดี (41), โซลีนอยด์ (100) สำหรับทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อและตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์, และหน่วยป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน (120) สำหรับป้อนจ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) หน่วยป้อน จ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะเริ่มป้อนสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของ เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอัน ที่สอง (64) หลังจากที่ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบ สมบูรณ์ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่สอง (64) ทำให้การหมุนตามเดือยเสร็จสิ้นลง และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------10/10/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 10 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11)ซึ่งประกอบรวมด้วย: ห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้อัตราเร็วในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้ตำแหน่งในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกคำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางไว้ให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ หน้า 2 ของจำนวน 10 หน้า สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรอแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางที่ขนานกันกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์(100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตํ่งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกันและตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน และ ตัวควบคุม (110) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมโซลีนอยด์ (100) โดยที่ ตัวควบคุม (110) จะประกอบรวมด้วย : หน่วยคำจัง(115)ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำจังสำหรับขับดันโซลี นอยด์(100)และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อน จ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์(100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่ง สำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน้า 3 ของจำนวน 10 หน้า หน่วยคำสั่ง (115)ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยต์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้โดยหน่วย ตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่าย สัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่งสำหรับขับดัน โซลีนอยด์(100)โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้ โดยหน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่ง ควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่ง สัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง เพื่อทำ ให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) ณ ขณะเวลาหนึ่ง (Tc3) ซึ่งอยู่ระหว่างเวลา (T3) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่ง นั้นเริ่มหมุนตามเดือยและตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเวลา (T4) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) หมุนตามเดือยโดยสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่ง เชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) หมุนตามเดือยแบบลมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่ม หมุนตามเดือยอีกด้วย 2. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน หน้า 4 ของจำนวน 10 หน้า เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 3. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตาม เดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาเมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 4. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 3ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ลำตัวยืดหยุ่น (91) ที่ถูกจัดโครงแบบให้เร่งผลักดันเดือยเชื่อมต่อ (90) จาก ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบลมบูรณ์ (Pf) เข้าหาตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) โดยเทียบกับ ทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และโดยที่ หน้า 5 ของจำนวน 10 หน้า หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกสัดโครงแบบให้หยุดป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่ สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (พ) ของเพลาโยก (62) และ เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่ง ที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยก อันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อน หน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 5. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) จะถูกจัดให้มีรูที่สอดคล้องกัน (73H, 74H) ซึ่งเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกสอดเข้าไปในนั้น; เดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้งไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) เมื่อเดือย เชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn 1) และเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้ง ไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และรู (74H) ของแขนโยกอันที่สอง (64) เมื่อ เดือยเชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) โซลีนอยต์ (100) จะถูกจัด วางไว้ตรงกันข้ามกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดย เทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (P) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) และ โดยที่โซลีนอยด์ (100) จะรวมถึงส่วนที่เป็นก้านผลัก (102) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ทำ การสัมผัสกับเดือยเชื่อมต่อ (90) 6. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)ยังประกอบรวมด้วยหน่วยตรวจสังเกต (130)ที่ถูก สัดโครงแบบให้ตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส หน้า 6 ของจำนวน 10 หน้า (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์(100)โดย ขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกตโดยหน่วยตรวจจังเกต (130) 7. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 6ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่ายกระแสไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการป้อน แรงดันไฟฟ้าไปยังส่วนนั้นในรูปสัญญาณขับดัน, ไดโอดที่หมุนโดยอิสระ (145) ที่ถูกจัด วางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) เพื่อที่จะประกอบเป็นวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) ร่วมกับโซลีนอยด์ (100), และองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์(150) ซึ่งถูกจัดวางไว้ใน วงจรป้อนจ่ายกระแสไฟป้า (140) และถูกจัดโครงแบบให้ดำเนินการควบคุมช่วงใช้งาน ของแรงดันไฟฟ้า 8. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 7ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)ยังประกอบรวมด้วยองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (155)อีกอันหนึ่งที่ถูก จัดให้มีอยู่ทางด้านต้นทางของโซลีนอยต์ (100) ในวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) 9. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)จะถูกจัดโครงแบบให้ปิดกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไป ยังโซลีนอยต์(100) โดยการปิดการทำงานองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์(155) อีกอันหนึ่ง หลังจากที่ลดค่ากระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยต์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน 1 0. ยานพาหนะแบบนั่งคร่อม (1) ที่ประกอบรวมด้วยเครองยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง 1 1.วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว(11)ที่ประกอบ รวมด้วยห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); หน้า 7 ของจำนวน 10 หน้า เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15)โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกคำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรอแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางขนานกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน หน้า 8 ของจำนวน 10 หน้า โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน, และตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน; วิธีการมีลักษณะพิเศษคือ การตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับ อัตราเร็วในการหมุนตรวจรู้ของเพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การป้อนจ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์(100) เมื่อมีการออก คำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์(100) โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุน ตรวจรู้ของเพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้า อีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งอัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90)ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้น ตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ณ ขณะเวลาหนึ่ง (Tc3) ซึ่งอยู่ ระหว่างเวลา (T3) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตาม เดือยและตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเวลา (T4) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ หน้า 9 ของจำนวน 10 หน้า แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยโดยสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่ม หมุนตามเดือยอีกด้วย 1 2.วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตาม ข้อถือสิทธิ 11 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือย ก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลงและขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีก อันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย หรือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยก หน้า 10 ของจำนวน 10 หน้า อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลา ต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตาม เดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1 3. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว(11)ตามข้อถือ สิทธิ 11 หรอ 12ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การหยุดป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยก อันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อ ทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ไม่มีการ เชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอัน ที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือย อีกด้วย 1 4. วิธีการสำหรับควบคุม เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบ เดียว (11) ตาม ข้อถือสิทธิ 11 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยต์ (100)โดยขึ้นอยู่กับ แรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกต 1 5. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การปิดกระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์(100) หลังจากที่ลดค่ากระแสที่จะถูก ป้อนไปยังโซลีนอยต์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน ------------ ------21/11/2557------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 10 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11)ซึ่งประกอบรวมด้วย: ห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้อัตราเร็วในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้ตำแหน่งในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกคำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางไว้ให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ หน้า 2 ของจำนวน 10 หน้า สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรอแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางที่ขนานกันกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์(100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตํ่งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกันและตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน และ ตัวควบคุม (110) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมโซลีนอยด์ (100) โดยที่ ตัวควบคุม (110) จะประกอบรวมด้วย : หน่วยคำจัง(115)ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำจังสำหรับขับดันโซลี นอยด์(100)และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อน จ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์(100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่ง สำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน้า 3 ของจำนวน 10 หน้า หน่วยคำสั่ง (115)ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยต์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้โดยหน่วย ตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่าย สัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่งสำหรับขับดัน โซลีนอยด์(100)โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้ โดยหน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่ง ควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่ง สัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง เพื่อทำ ให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) ณ ขณะเวลาหนึ่ง (Tc3) ซึ่งอยู่ระหว่างเวลา (T3) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่ง นั้นเริ่มหมุนตามเดือยและตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเวลา (T4) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) หมุนตามเดือยโดยสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่ง เชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ ลอง (64) หมุนตามเดือยแบบลมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่ม หมุนตามเดือยอีกด้วย 2. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน หน้า 4 ของจำนวน 10 หน้า เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 3. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตาม เดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาเมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 4. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 3ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ลำตัวยืดหยุ่น (91) ที่ถูกจัดโครงแบบให้เร่งผลักดันเดือยเชื่อมต่อ (90) จาก ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบลมบูรณ์ (Pf) เข้าหาตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) โดยเทียบกับ ทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และโดยที่ หน้า 5 ของจำนวน 10 หน้า หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกสัดโครงแบบให้หยุดป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่ สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (พ) ของเพลาโยก (62) และ เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่ง ที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยก อันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อน หน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 5. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) จะถูกจัดให้มีรูที่สอดคล้องกัน (73H, 74H) ซึ่งเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกสอดเข้าไปในนั้น; เดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้งไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) เมื่อเดือย เชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn 1) และเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้ง ไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และรู (74H) ของแขนโยกอันที่สอง (64) เมื่อ เดือยเชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) โซลีนอยต์ (100) จะถูกจัด วางไว้ตรงกันข้ามกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดย เทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (P) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) และ โดยที่โซลีนอยด์ (100) จะรวมถึงส่วนที่เป็นก้านผลัก (102) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ทำ การสัมผัสกับเดือยเชื่อมต่อ (90) 6. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)ยังประกอบรวมด้วยหน่วยตรวจสังเกต (130)ที่ถูก สัดโครงแบบให้ตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส หน้า 6 ของจำนวน 10 หน้า (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์(100)โดย ขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกตโดยหน่วยตรวจจังเกต (130) 7. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 6ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่ายกระแสไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการป้อน แรงดันไฟฟ้าไปยังส่วนนั้นในรูปสัญญาณขับดัน, ไดโอดที่หมุนโดยอิสระ (145) ที่ถูกจัด วางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) เพื่อที่จะประกอบเป็นวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) ร่วมกับโซลีนอยด์ (100), และองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์(150) ซึ่งถูกจัดวางไว้ใน วงจรป้อนจ่ายกระแสไฟป้า (140) และถูกจัดโครงแบบให้ดำเนินการควบคุมช่วงใช้งาน ของแรงดันไฟฟ้า 8. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 7ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)ยังประกอบรวมด้วยองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (155)อีกอันหนึ่งที่ถูก จัดให้มีอยู่ทางด้านต้นทางของโซลีนอยต์ (100) ในวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) 9. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะพิเศษคือ ตัวควบคุม (110)จะถูกจัดโครงแบบให้ปิดกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไป ยังโซลีนอยต์(100) โดยการปิดการทำงานองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์(155) อีกอันหนึ่ง หลังจากที่ลดค่ากระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยต์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน 1 0. ยานพาหนะแบบนั่งคร่อม (1) ที่ประกอบรวมด้วยเครองยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง 1 1.วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว(11)ที่ประกอบ รวมด้วยห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); หน้า 7 ของจำนวน 10 หน้า เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15)โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกคำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกคำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรอแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางขนานกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน หน้า 8 ของจำนวน 10 หน้า โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน, และตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน; วิธีการมีลักษณะพิเศษคือ การตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับ อัตราเร็วในการหมุนตรวจรู้ของเพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การป้อนจ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์(100) เมื่อมีการออก คำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์(100) โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุน ตรวจรู้ของเพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้า อีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งอัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90)ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้น ตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ณ ขณะเวลาหนึ่ง (Tc3) ซึ่งอยู่ ระหว่างเวลา (T3) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตาม เดือยและตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเวลา (T4) เมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ หน้า 9 ของจำนวน 10 หน้า แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยโดยสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่ม หมุนตามเดือยอีกด้วย 1 2.วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตาม ข้อถือสิทธิ 11 ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือย ก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลงและขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีก อันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย หรือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยก หน้า 10 ของจำนวน 10 หน้า อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลา ต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตาม เดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1 3. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว(11)ตามข้อถือ สิทธิ 11 หรอ 12ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การหยุดป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยก อันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อ ทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ไม่มีการ เชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอัน ที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือย อีกด้วย 1 4. วิธีการสำหรับควบคุม เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบ เดียว (11) ตาม ข้อถือสิทธิ 11 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยต์ (100)โดยขึ้นอยู่กับ แรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกต 1 5. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือ การปิดกระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์(100) หลังจากที่ลดค่ากระแสที่จะถูก ป้อนไปยังโซลีนอยต์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน ------------ แก้ไข 30/01/2558 1. เครื่องยนต์ดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ซึ่งประกอบรวมด้วย: ห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้อัตราเร็วในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้ตำแหน่งในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี่ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยที่ลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61): ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางไว้ให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรือแขนโยกที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางที่ขนานกันกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกันและตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน และ ตัวควบคุม (110) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมโซลีนนอยด์ (100) โดยที่ ตัวควบคุม (110) จะประกอบรวมด้วย: หน่วยคำสั่ง (115) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจโดยหน่วย ตรวจอัตราเร็วในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่าย สัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่งสำหรับขับดัน โซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้ โดยหน่วยตรวจตำแหน่งในการหมุน (50) โดยที่ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่าย สัณณาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบ เสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้น ตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) อันที่หนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือย เพื่อให้ตำแหน่งสัมพันธ์ของแขนโยกที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่ม เปลี่ยนแปลง และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 2. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่หน่วยป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ ตำแหน่งสัมพันธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุมตามเดือยก่อนหน้าอีกอันนั้นหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 3. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่หน่วยป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาเมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 4. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยัง ประกอบรวมด้วย : ลำตัวยืดหยุ่น (91) ที่ถูกจัดโครงแบบให้เร่งผลักดันเดือยเชื่อมต่อ (90) จาก ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) เข้าหาตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) โดยเทียบกับ ทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และโดยที่ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้หยุดป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือนเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไป ในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบ กับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ไม่การเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่าง ขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่ง ซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 5. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) จะถูกจัดให้มีรูที่สอดคล้องกัน (73H, 74H,) ซึ่งเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกสอดเข้าไปในนั้น; เดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้งไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) เมื่อเดือย เชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) และเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้ง ไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และรู (74H) ของแขนโยกอันที่สอง (64) เมื่อ เดือยเชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf); โซลีนอยด์ (100) จะถูกจัดวางไว้ตรงกันข้ามกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดย สัมพันธ์กับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (P) ของ เดือยเชื่อมต่อ (90) และ โดยที่โซลีนอยด์ (100) จะรวมถึงส่วนที่เป็นก้านผลัก (102) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ทำ การสัมผัสกับเดือยเชื่อมต่อ (90) 6. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยหน่วยตรวจสังเกต (130) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจ สังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส (135) ที่ถูกจัดโครง แบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ ถูกตรวจสังเกตโดยหน่วยตรวจสังเกต (130) 7. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ ป้อนจ่ายกระแสไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการป้อนแรงดันไฟฟ้าไปยังส่วนนั้นในรูป สัญญาณขับดัน, ไดโอดที่หมุนโดยอิสระ (145) ที่ถูกจัดวางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแส ไฟฟ้า (140) เพื่อที่จะประกอบเป็นวงจรที่หมุนอิสระ (160) ร่วมกับโซลีนอยด์ (100), และองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (150) ซึ่งถูกจัดวางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) และถูกจัดโครงแบบให้ดำเนินการควบคุมช่วงใช้งานของแรงดันไฟฟ้า 8. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 7 โดยที่ตัวควบคุม (110) ยัง ประกอบรวมด้วยองค์ประกอบที่ใช้สวิตช์ (155) อีกอันหนึ่งที่ถูกจัดให้มี่อยู่ทางด้านต้น ทางของโซลีนอยด์ (100) ในวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) 9. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 8ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) จะถูกจัดโครงแบบให้ปิดกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการปิดการทำงานองค์ประกอบที่ใช้สวิตช์ (155) อีกอันหนึ่งหลังจากที่ลด ค่ากระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน 1 0. ยานพาหนะแบบนั่งคร่อม (1) ที่ประกอบรวมด้วยเครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง 1 1. วิธีการสำหรับการควยคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ที่ประกอบ รวมด้วยห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61): ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางไว้ให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรือแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางขนานกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน และตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน; โดยที่วิธีการจะประกอบรวมด้วย : การตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการ หมุนตรวจรู้เพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การป้อนจ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อมีการออกคำสั่ง สำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่ตำแหน่งในการหมุนตรวจรู้ของเพลาข้อ เหวี่ยง (15) และ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) หลังจากที่แขน โยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันที่หนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อน หน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพันธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึง ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่ง นั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1 2. วีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือย ก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพันธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลงและขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีก อันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย หรือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลา ต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตาม เดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1 3. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาป ภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 หรือ 12 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การหยุดป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอตามแนวกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของ แขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรเริ่มจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุน ตามเดือยอีกด้วย 1 4. วิธีการสำหรับควบคุม เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุม กระแส (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกต 1 5. วิธีการสำหรับควยคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การปิดกระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) หลังจากที่ลดค่ากระแสที่ จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน --------------------------------------------------------- 1. เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ซึ่งประกอบรวมด้วย: ห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจูร้อัตราเร็วในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้อัตราเร็วในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจรู้ตำแหน่งในการ หมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนึ่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตกต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางไว้ให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย, ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรือแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางที่ขนานกันกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเขื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกันและตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน และ ตัวควบคุม (110) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมโซลีนอยด์ (100) โดยที่ ตัวควบคุม (110) จะประกอบรวมด้วย : หน่วยคำสั่ง (115) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจูร้โดยหน่วย ตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุน (50) และ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ป้อนจ่าย สัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อหน่วยคำสั่ง (115) ออกคำสั่งสำหรับขับดัน โซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15) ที่ถูกตรวจรู้ โดยหน่วยตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุน (50) โดยที่ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุต (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบ เสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้น ตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) หลังจากที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่ สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือย เพื่อให้ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่ม เปลี่ยนแปลง และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 2. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่หน่วยป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 3. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่หน่วยป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้เริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของ เพลาโยก (62) และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือย แบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาเมื่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 4. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยัง ประกอบรวมด้วย : ลำตัวยืดหยุ่น (91) ที่ถูกจัดโครงแบบให้เร่งผลักดันเดือยเชื่อมต่อ (90) จาก ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) เข้าหาตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pnl) โดยเทียบกับ ทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และโดยที่ หน่วยป้อนจ่ายสัญญาณขับดัน (125) จะถูกจัดโครงแบบให้หยุดป้อนจ่าย สัญญาณขับดัน เพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไป ในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบ กับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่าง ขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบ สมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่ง ซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 5. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) จะถูกจัดให้มีรูที่สอดคล้องกัน (73H, 74H) ซึ่งเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกสอดเข้าไปในนั้น; เดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้งไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) เมื่อเดือย เชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) และเดือยเชื่อมต่อ (90) จะถูกยึดรั้ง ไว้ในรู (73H) ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และรู (74H) ของแขนโยกอันที่สอง (64) เมื่อ เดือยเชื่อมต่อ (90) อยู่ในตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf); โซลีนอยด์ (100) จะถูกจัดวางไว้ตรงกันข้ามกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดย สัมพัทธ์กับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (P) ของ เดือยเชื่อมต่อ (90) และ โดยที่โซลีนอยด์ (100) จะรวมถึงส่วนที่เป็นก้านผลัก (102) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ทำ การสัมผัสกับเดือยเชื่อมต่อ (90) 6. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยหน่วยตรวจสังเกต (130) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ตรวจ สังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุมกระแส (135) ที่ถูกจัดโครง แบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ ถูกตรวจสังเกตโดยหน่วยตรวจสังเกต (130) 7. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) ยังประกอบรวมด้วยวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ ป้อนจ่ายกระแสไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการป้อนแรงดันไฟฟ้าไปยังส่วนนั้นในรูป สัญญาณขับดัน, ไดโอดที่หมุนโดยอิสระ (145) ที่ถูกจัดวางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแส ไฟฟ้า (140) เพื่อที่จะประกอบเป็นวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) ร่วมกับโซลีนอยด์ (100), และองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (150) ซึ่งถูกจัดวางไว้ในวงจรป้อนจ่ายกระแสไฟฟ้า (140) และถูกจัดโครงแบบให้ดำเนินการควบคุมช่วงใช้งานของแรงดันไฟฟ้า 8. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 7 โดยที่ตัวควบคุม (110) ยัง ประกอบรวมด้วยองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (155) อีกอันหนึ่งที่ถูกจัดให้มีอยู่ทางด้านต้น ทางของโซลีนอยด์ (100) ในวงจรที่หมุนโดยอิสระ (160) 9. เครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 8ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ตัว ควบคุม (110) จะถูกจัดโครงแบบให้ปิดกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยการปิดการทำงานองค์ประกอบที่ใช้สับสวิตช์ (155) อีกอันหนึ่งหลังจากที่ลด ค่ากระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน 1 0. ยานพาหนะแบบนั่งคร่อม (1) ที่ประกอบรวมด้วยเครื่องยนต์สันดาปภายใน (11) ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง 1
1. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ที่ประกอบ รวมด้วยห้องข้อเหวี่ยง (14) ที่รองรับเพลาข้อเหวี่ยง (15); หน่วยกระบอกสูบ (19) ที่ถูกเชื่อมต่อกับห้องข้อเหวี่ยง (14) และรวมถึงส่วนที่เป็น ห้องสันดาป (24) และห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35) ที่ถูกตั้งตำแหน่งให้อยู่ประชิดกันกับห้อง สันดาป (24); เพลาลูกเบี้ยว (61) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกเชื่อมต่อเข้ากับ เพลาข้อเหวี่ยง (15) โดยลูกโซ่ของลูกเบี้ยว (36) ที่ถูกจัดวางไว้ในห้องโซ่ลูกเบี้ยว (35); ลูกเบี้ยวที่หนึ่ง (65) ที่รวมถึงส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และส่วนฐานที่หนื่ง (65A) และ ถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็นหน่วยเดียวกับเพลาลูกเบี้ยว (61); ลูกเบี้ยวที่สอง (66) ที่รวมถึงส่วนฐานที่สอง (66A) และส่วนยกที่สอง (66B) ซึ่งมี รูปทรงที่แตก6ต่างกันกับส่วนยกที่หนึ่ง (65B) และถูกจัดโครงแบบให้หมุนในลักษณะที่เป็น หน่วยเดียวกันกับเพลาลูกเบี้ยว (61); เพลาโยก (62) ที่ถูกค้ำจุนโดยหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดวางให้ขนานกัน กับเพลาลูกเบี้ยว (61); แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย และถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่หนึ่ง (65B) ของลูก เบี้ยวที่หนึ่ง (65); แขนโยกอันที่สอง (64) ที่ถูกค้ำจุนโดยเพลาโยก (62) ในลักษณะหมุนตามเดือย ถูกจัดโครงแบบให้หมุนตามเดือยโดยการรับแรงจากส่วนยกที่สอง (66B) ของลูกเบี้ยวที่ สอง (66) ที่ถูกจัดวางไว้ที่ด้านที่มีแขนโยกอันที่หนึ่ง (63), และรวมถึงส่วนที่เป็นหน้า ด้านข้าง (74S) ที่หันเข้าหาแขนโยกอันที่หนึ่ง (63); วาล์ว (41) ที่ถูกจัดวางไว้ในหน่วยกระบอกสูบ (19) และถูกจัดโครงแบบให้ขับดัน โดยแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) หรือแขนโยกอันที่สอง (64) เพื่อเปิดและปิดห้องสันดาป (24); เดือยเชื่อมต่อ (90) ซึ่งเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในทิศทางขนานกับเพลาโยก (62); โซลีนอยด์ (100) ที่ถูกจัดโครงแบบเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ระหว่าง ตำแหน่งที่ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ซึ่งเป็นจุดที่ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูก ตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) โดยสัมพันธ์กับหน้า ด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไม่เชื่อมต่อแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน, และตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ที่ซึ่งปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) ถูกตั้งตำแหน่งอยู่ในหรืออยู่ประชิดกันกับแขนโยกอันที่สอง (64) โดยสัมพันธ์กับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทาง ของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) เพื่อให้เดือยเชื่อมต่อ (90) เชื่อมต่อแขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เข้าด้วยกัน; โดยที่วิธีการจะประกอบรวมด้วย : การตรวจรู้อัตราเร็วในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การตรวจรู้ตำแหน่งในการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง (15); การออกคำสั่งสำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วในการ หมุนตรวจรู้ของเพลาข้อเหวี่ยง (15) และ การป้อนจ่ายสัญญาณขับดันไปยังโซลีนอยด์ (100) เมื่อมีการออกคำสั่ง สำหรับขับดันโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งในการหมุนตรวจรูู้ของเพลาข้อ เหวี่ยง (15) และ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) หลังจากที่แขน โยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อน หน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลง และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึง ตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์ขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่ง นั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1
2. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) ระหว่างขณะเวลา ที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือย ก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยเพื่อให้ตำแหน่งสัมพัทธ์ของแขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) เริ่มเปลี่ยนแปลงและขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์ และเพื่อทำให้เดือยเชื่อมต่อ (90) ใปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และ แขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่ หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีก อันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย หรือ การเริ่มป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของแขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ เดือยเชื่อมต่อ (90) ไปถึงตำแหน่งเชื่อมต่อแบบสมบูรณ์ (Pf) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยก อันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลา ต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตาม เดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุนตามเดือยอีกด้วย 1
3. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 หรือ 12 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การหยุดป้อนจ่ายสัญญาณขับดันเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือย เชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปในตำแหน่งที่เรียบเสมอกันกับหน้าด้านข้าง (74S) ของ แขนโยกอันที่สอง (64) โดยเทียบกับทิศทางของเส้นตามแนวแกน (W) ของเพลาโยก (62) และเพื่อทำให้ปลายสุด (90T) ของเดือยเชื่อมต่อ (90) เคลื่อนที่ย้อนกลับไปยังตำแหน่งที่ ไม่มีการเชื่อมต่อ (Pn1) ระหว่างขณะเวลาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขนโยกอันที่สอง (64) หมุนตามเดือยแบบสมบูรณ์และขณะเวลาต่อมาที่แขนโยกอันที่หนึ่ง (63) และแขน โยกอันที่สอง (64) อันหนึ่งซึ่งควรจะเริ่มหมุนตามเดือยก่อนหน้าอีกอันหนึ่งนั้นเริ่มหมุน ตามเดือยอีกด้วย 1
4. วิธีการสำหรับควบคุม เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การตรวจสังเกตแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ (105) และหน่วยควบคุม กระแส (135) ที่ถูกจัดโครงแบบให้ควบคุมกระแสที่จะถูกป้อนจ่ายไปยังโซลีนอยด์ (100) โดยขึ้นอยู่กับแรงดันไฟฟ้าที่ถูกตรวจสังเกต 1
5. วิธีการสำหรับควบคุมเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบสูบเดียว (11) ตามข้อถือ สิทธิ 11 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วย : การปิดกระแสที่จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) หลังจากที่ลดค่ากระแสที่ จะถูกป้อนไปยังโซลีนอยด์ (100) ลงโดยการควบคุมช่วงใช้งาน
TH1401007004A 2014-11-21 เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม TH62625B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH151296A true TH151296A (th) 2016-05-19
TH1401007004B TH1401007004B (th) 2016-05-19
TH62625B TH62625B (th) 2018-05-23

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP4075846B2 (ja) 多気筒内燃機関の可変動弁装置
BR112016011717B1 (pt) Motor a combustão de quatro tempos, veículo, e, método para controlar um motor a combustão
JP6213064B2 (ja) エンジンの制御装置
JP2004293437A (ja) スロットルボディ
EP1843014A3 (en) Lift-variable valve-operating system for internal combustion engine
CN102374039A (zh) 内燃机的可变气门装置及其起动系统和起动控制装置
US20200079204A1 (en) Electricity generation system and propulsion apparatus including the same
US11053864B2 (en) Control strategy, apparatus and nonvolatile computer storage medium
US9464541B2 (en) Control device of internal combustion engine and variable valve device of internal combustion engine
TH151296A (th) เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม
JP2015045287A (ja) エンジンの制御装置
TH62625B (th) เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม
JP2014047623A (ja) 可変動弁装置
CN104131854B (zh) 发动机连续可变气门正时、相位及升程技术
CN106285819A (zh) 连续可变气门正时系统
BR112016024060B1 (pt) Sistema de bomba de combustível de injeção direta de curso variável
US20150047587A1 (en) Operating internal combustion engines
BR102021016586A2 (pt) Motor de combustão interna com tempo de válvula variável
JP2004360661A (ja) 内燃機関の可変動弁装置
JP2011052568A (ja) 高圧燃料ポンプの故障判定装置
JP2010007621A (ja) 内燃機関の燃料噴射制御装置
JP2009222021A (ja) カム位相可変型内燃機関
JP6100336B2 (ja) 機関及び機関の制御方法
JP2008208762A (ja) エンジンの潤滑装置
TH1401007004B (th) เครื่องยนต์สันดาปภายในเเละยานพาหนะเเบบนั่งคร่อม